โครงการอาสาประชารัฐพัฒนาผลิตภัณฑ์ตาลโตนดเพื่อสุขภาพ ต.ท่าหิน อ.สทิงพระ จ.สงขลา

แบบเสนอโครงการ
โครงการอาสาประชารัฐพัฒนาผลิตภัณฑ์ตาลโตนดเพื่อสุขภาพ ต.ท่าหิน อ.สทิงพระ จ.สงขลา

1. ชื่อโครงการ

โครงการอาสาประชารัฐพัฒนาผลิตภัณฑ์ตาลโตนดเพื่อสุขภาพ ต.ท่าหิน อ.สทิงพระ จ.สงขลากระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลากลุ่มวิสาหกิจชุมชนโหนด นา เลชุมชนโหนด นา เล ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลาผศ.ดร.คมวิทย์ ศิริธร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เลขที่ 160 หมู่ 4ถนนกาญจนวนิช ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา รหัสไปรษณีย์ 90000โทรศัพท์ 0-7426-0268 โทรสาร 0-7426-02691. อาจารย์รรินา มุกดา สังกัดหน่วยงาน คณะวิทยาการจัดการ
2. นางสาวอมราวดี วงศ์เทพ สังกัดหน่วยงาน ศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการ

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
สงขลา สทิงพระ ท่าหิน

3. รายละเอียดชุมชน

โครงการ “อาสาประชารัฐพัฒนาผลิตภัณฑ์ตาลโตนดเพื่อสุขภาพ ต.ท่าหิน อ.สทิงพระ จ.สงขลา” เพื่อการปฏิรูปการเรียนที่เหมาะสมกับศตวรรษที่ 21 ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานได้จริง นำองค์ความรู้ที่หลากหลายในสถาบันอุดมศึกษามาบูรณาการแก้ไขปัญหา พัฒนาชุมชนในมิติต่าง ๆ สร้างองค์ความรู้ใหม่ที่ได้จากการวิจัยและการสร้างนวัตกรรมสังคมที่มีคุณค่าต่อการพัฒนาประเทศ ซึ่งมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลามีพันธกิจ ข้อ 2 “จัดการศึกษาที่หลากหลาย ผลิตบัณฑิต และพัฒนาบุคลากรในท้องถิ่นให้มีคุณภาพและคุณธรรมและสามารถแข่งขันได้” พันธกิจข้อ 4 “บริการวิชาการ และการถ่ายทอดเทคโนโลยี เพื่อพัฒนาท้องถิ่นให้เข้มแข็งบนฐานของการมีส่วนร่วม และพันธกิจข้อ 5 ส่งเสริม และสืบสานโครงการอันเนื่องมาจากพระบรมราโชบายและแนวพระราชดำริ”
จึงได้จัดโครงการ “อาสาประชารัฐพัฒนาผลิตภัณฑ์ตาลโตนดเพื่อสุขภาพ ต.ท่าหิน อ.สทิงพระ จ.สงขลา” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์การทำงาน สร้างความมีจิตอาสาให้แก่นักศึกษา โดยมีชุมชนเป็นฐานในการนำองค์ความรู้ทางวิชาชีพที่เรียนสู่การปฏิบัติ ผ่านโครงการที่ตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการเชิงพื้นที่ของชุมชนและมุ่งเน้นผลลัพธ์ของการแก้ปัญหาความยากจน ความเหลื่อมล้ำ และปัญหาคุณภาพชีวิต ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการพัฒนาอย่างเป็นระบบและเป็นรูปธรรมในการพัฒนาท้องถิ่นตามพระบรมราโชบายอย่างยั่งยืน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การค้นหาอัตลักษณ์ชุมชนแบบมีส่วนร่วม/พัฒนาผลิตภัณฑ์ตาลโตนดต้นแบบ /ออกแบบผลิตภัณฑ์

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มเติมความรู้ประสบการณ์ตรงแก่นักศึกษาในการค้นคว้า วิเคราะห์ ประมวลผล

มีนักศึกษาลงทำกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ตาลโตนดเพื่อสุขภาพตลอดภาคการศึกษา 2562/2 อย่างน้อย 8 ครั้ง

8.00 8.00
2 เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการผลิตและการจัดการด้านต่างๆ โดยการมีส่วนร่วมจนสามารถพัฒนาเป็นอาชีพเสริมเพิ่มรายได้แก้ปัญหาความยากจนแก่ชุมชนได้

รายได้ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนโหนด นา เล เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 ภายใน 1 ปี

20.00 20.00
3 เพื่อให้นักศึกษาได้รับทราบแนวทางการปฏิบัติงานและการประกอบอาชีพในอนาคต

นักศึกษาจำนวน 10 คน มีความรู้ ความเข้าใจ และประสบการณ์ สามารถนำความรูที่ได้ไปใช้ในการประกอบอาชีพได้

10.00 10.00
4 เพื่อเพิ่มช่องทางการตลาดตลอดจนพัฒนาผลลิตภัณฑ์และการจัดการอย่างมืออาชีพให้แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนซึ่งเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจระดับท้องถิ่น

ช่องทางการตลาดตลอดจนพัฒนาผลลิตภัณฑ์และการจัดการอย่างมืออาชีพให้แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนซึ่งเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจระดับท้องถิ่น เพิ่มขึ้น มากกว่า 1 ช่องท่าง

1.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
1. นักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 10 คน 10
2. กลุ่มวิสาหกิจชุมชนโหนด นา เล และ 1 ชุมชนยากจน 1

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการ การค้นหาอัตลักษณ์ชุมชน, การเพิ่มช่องทางการตลาด, การคิดต้นทุน

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการ การค้นหาอัตลักษณ์ชุมชน, การเพิ่มช่องทางการตลาด, การคิดต้นทุน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อเพิ่มเติมความรู้ประสบการณ์ตรงแก่นักศึกษาในการค้นคว้า วิเคราะห์ ประมวลผล
  2. เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการผลิตและการจัดการด้านต่างๆ โดยการมีส่วนร่วมจนสามารถพัฒนาเป็นอาชีพเสริมเพิ่มรายได้แก้ปัญหาความยากจนแก่ชุมชนได้
  3. เพื่อให้นักศึกษาได้รับทราบแนวทางการปฏิบัติงานและการประกอบอาชีพในอนาคต
  4. เพื่อเพิ่มช่องทางการตลาดตลอดจนพัฒนาผลลิตภัณฑ์และการจัดการอย่างมืออาชีพให้แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนซึ่งเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจระดับท้องถิ่น
รายละเอียดกิจกรรม
วิธีการดำเนินงาน
ต้นทาง
อบรมเชิงปฏิบัติการ การค้นหาอัตลักษณ์ชุมชนแบบมีส่วนร่วม/พัฒนาผลิตภัณฑ์ตาลโตนดต้นแบบ /ออกแบบผลิตภัณฑ์
กลางทาง
ส่งเสริมการทำประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์/ เพิ่มช่องทางการตลาด อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ การตลาด / การตลาดออนไลน์ / การคิดต้นทุน และการสร้างเครือข่าย โดยมีนักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาให้คำปรึกษาเชิงลึก
ปลายทาง
การติดตามความก้าวหน้าของกลุ่มตัวอย่างและการประเมินผลการผลิตและการจัดการในทุกมิติ เพื่อนำผลที่ได้มาปรับปรุงการดำเนินกิจการ และขยายตลาดไปต่างประเทศต่อไป
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2562 ถึง 30 พฤศจิกายน 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต
นักศึกษาลงทำกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ตาลโตนดเพื่อสุขภาพตลอดภาคการศึกษา 2562/2 อย่างน้อย 8 ครั้ง
ชุมชนยากจนได้รับการพัฒนา จำนวน 1 ชุมชน
ผลลัพธ์
รายได้ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนโหนด นา เล เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 ภายใน 1 ปี
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนโหนด นา เล
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน * 600 บาท/ชม. * 6 ชม./วัน * 8 วัน = 86,400 บาท

3 คน 3,600 8 86,400
อื่น ๆ

ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่โครงการ 3 คน * 300/ชม. * 6 ชม./วัน * 8 วัน = 43,200 บาท

3 คน 1,800 8 43,200
ค่าเช่ารถ

ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง (กรณีรถราชการไม่สามารถให้บริการได้ ขอเบิกเป็นค่าเช่าเหมารถแทน จำนวน 1 คัน/วันๆ ละ 3,000 บาท*จำนวน 24 วัน) = 81,600 บาท

1 ครั้ง 3,400 24 81,600
อื่น ๆ

ค่าจ้างพัฒนาต้นแบบผลิตภัณฑ์ 30,000 บาท

1 ครั้ง 30,000 1 30,000
อื่น ๆ

ค่าจ้างออกแบบผลิตภัณฑ์ 20,000 บาท

1 ครั้ง 20,000 1 20,000
อื่น ๆ

ค่าจ้างโฆษณาผ่านสื่อออนไลน์ 30,000 บาท

1 ครั้ง 30,000 1 30,000
อื่น ๆ

ค่าจ้างโฆษณาผ่านสื่อออฟไลน์ 20,000 บาท

1 ครั้ง 20,000 1 20,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหาร ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน ๆ ละ 100 บาท ลงพื้นที่ จำนวน 8 ครั้ง = 40,000 บาท

50 คน 100 8 40,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

วัสดุประกอบการทดลองทำผลิตภัณฑ์ 20,000 บาท

1 ชุด 20,000 1 20,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

วัสดุสำนักงาน 10,000 บาท

1 ชุด 10,000 1 10,000
รวมค่าใช้จ่าย 381,200

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 381,200.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 86,400.00 121,600.00 30,000.00 143,200.00 381,200.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 22.67% 31.90% 7.87% 37.57% 100.00%

11. งบประมาณ

381.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) กลุ่มวิสาหกิจชุมชนโหนด นา เล ได้รับการพัฒนาจำนวน 1 ชุมชน นักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 10 คน ลงพื้นที่พัฒนาชุมชน
ผลลัพธ์ (Outcome) รายได้ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนโหนด นา เล เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 ภายใน 1 ปี นักศึกษาได้รับทราบแนวทางการปฏิบัติงานและการประกอบอาชีพในอนาคต
ผลกระทบ (Impact) ชุมชนตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลามีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น บัณฑิตมีคุณภาพตามอัตลักษณ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด
นำเข้าสู่ระบบโดย SongkhlaRajabhat SongkhlaRajabhat เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2562 12:59 น.