โครงการชุมชนต้นแบบปลอดขยะและสารพิษ ตำบลสงเปลือย อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
โครงการชุมชนต้นแบบปลอดขยะและสารพิษ ตำบลสงเปลือย อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

โครงการชุมชนต้นแบบปลอดขยะและสารพิษ ตำบลสงเปลือย อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์เทศบาลสงเปลือย อ.นามน จ.กฬสินธุ์บ้านหัวงัว ต.สงเปลือย อ.นามน จ.กาฬสินธุ์นางสาวอรัญญา นนทราชสาขาวิทยาการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์โทรศัพท์ 089 - 7133478 Email Aranyako@hotmail.comอ.ดรอรัญญา นนทราช วิชาจุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม (SC-011-203) นักศึกษาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมชั้นปี 2 นศ นายกัมปนาท โยธาภักดี นางสาวรัตนา โพธิกล้า
อ.ดร.ธันวา ใจเที่ยง วิชาเทคโนโลยีการบำบัดขยะมูลฝอย (SC 013015)นักศึกษาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมชั้นปี3น.ศ นางสาวชลธิชาโพธิภา นายณัฐวุฒิ คำศรีพล นายจักวิน จันทคัด
อ.นิตยา แสงประจักษ์ วิชาจุลชีววิทยาและปรสิตสาธารณสุข(PH-011-102)นักศึกษาสาธารณสุขศาสตร์ชั้นปี1 นางสาวชมพูนุชเหล่าภักดี นางสาวกนกวรรณ นันทรัพย์

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ นามน สงเปลือย
กาฬสินธุ์ นามน สงเปลือย ชนบท

3. รายละเอียดชุมชน

มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์พื้นที่นามน ตั้งอยู่ที่ตำบลสงเปลือย อ.นามน จ.กาฬสินธุ์ อยู่ใกล้กับหมู่บ้าน 3 หมู่บ้านขึ้นกับตำบลสงเปลือย อ.นามน จ.กาฬสินธุ์ ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม นับตั้งแต่มีการตั้งมหาวิทยาลัย ปีพ.ศ. 2542 ชุมชนมีการขยายตัวเรื่อยมามีการก่อสร้างร้านค้าและหอพักต่างๆ ทำให้มีขยะเกิดขึ้นจากชุมชนและการประกอบการของแม่ค้าปริมาณมากขึ้นทุกปีชุมชนดั้งเดิมทำการเกษตร ชุมชนใหม่ที่เกิดขึ้นมีร้านค้าและหอพัก มีประชากรเพิ่มมากขึ้นชุมชนมีการขยายตัวเรื่อยมามีการก่อสร้างร้านค้าและหอพักต่างๆ ทำให้มีขยะเกิดขึ้นจากชุมชนและการประกอบการของแม่ค้าปริมาณมากขึ้นทุกปี แม้รัฐบาลจะมีการณรงค์ให้แยกขยะ แต่จากการสังเกตองค์ประกอบของขยะที่เกิดขึ้นจากชุมชนทั้งร้านค้าและครัวเรือน ยังมีขยะอินทรีย์ปนกับขยะพลาสติกก่อให้เกิดกลิ่นเหม็นและมีปริมาณขยะมากเกินความจำเป็น ทำให้เป็นภาระของเทศบาลสงเปลือยในการขนย้ายไปทิ้งแหล่งฝังกลบซึ่งห่างออกไปหลายสิบกิโลเมตรและทำให้สิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อเพลิง ตลอดจนมีการแพร่กระจายของกองขยะพลาสติกลงคลองข้างถนนทำให้เกิดสารพิษที่ปนมาในขยะแพร่กระจายลงไปยังพื้นที่การเกษตรมีความพยายามในการลดขยะ และสารพิษ เำพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิต

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การใช้ประโยชน์จากขยะ เช่นการคัดแยกเพื่อจำหน่าย การนำขยะอินทรีย์มาผลิตสารชีวภาพ

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อดำเนินโครงการพัฒนาชุมชนต้นแบบปลอดขยะและสารพิษต่อสิ่งแวดล้อมโดยบูรณาการวิชาเทคโนโลยีการบำบัดขยะมูลฝอย (SC 013015) นักศึกษาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมชั้นปี3 วิชาจุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม (SC-011-203) นักศึกษาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมชั้นปี2 และวิชา จุลชีววิทยาและปรสิตสาธารณสุข (PH-011-102)นักศึกษาสาธารณสุขศาสตร์ชั้นปี1 ให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมร่วมกัน

นักศึกษาจากหลายสาขามีโครงการร่วมกับชุมชน ชุมชนมีความรู้เรื่องการแยกขยะและการใช้ประโยชน์จากขยะเช่นการจำหน่ายขยะ (ร่วมกับโครงการรับซื้อขยะของเทศบาลต.สงเปลือย อ.นามน จ.กาฬสินธุ์)

10.00 10.00
2 เพื่อพัฒนาศักยภาพของชุมชนในการบริหารจัดการขยะใช้ประโยชน์จากขยะอินทรีย์เหลือใช้โดยใช้นวัตกรรมการหมักจุลินทรีย์สูตรต่างๆ เช่น พด.2 พด.3 และไตรโคเดอรมา

. ชุมชนมีรายได้จากการแยกขยะ ชุมชนได้ผลิตสารชีวภาพจากขยะอินทรีย์ ปุ๋ย และสารชีวภาพกำจัดหญ้า กลุ่มผักปลอดสารและเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่ได้ใช้ประโยชน์ ทดแทนสารกำจัดศตรูพืชที่มีการห้ามเช่น พาราควอท ไกลโฟเสต คลอไพรีฟอส

25.00 25.00
3 พัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนผ่านกิจกรรมโครงการลดขยะแยกขยะ และใช้ประโยชน์จากหารหมักขยะอินทรีย์ในการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เช่นแทนยากำจัดศตรูพืช

ชุมชนมีรายได้เพิ่มและมีสารชีวภาพไว้ใช้ในครัวเรือน สามารถร่วมกับกลุ่มผักปลอดสารพิษและกลุ่มข้าวอินทรีย์ และได้ชุมชนต้นแบบปลอดสารพิษแบบครบวงจร

25.00 25.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 1. ขั้นเตรียมการ

ชื่อกิจกรรม
1. ขั้นเตรียมการ
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    1. ลงพื้นที่ และประชาสัมพันธ์โครงการ
    2. คัดเลือกร้านค้าและครัวเรือนที่จะเข้าร่วมโครงการ จากร้านค้าขายอาหาร 5 ร้าน ครัวเรือน 20 ครัวเรือน รวมทั้งสิ้น 65 คน
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 มกราคม 2563 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ายอาหาร 5 ร้าน ครัวเรือน 20 ครัวเรือน รวมทั้งสิ้น 65 คน
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    เทศบาลต.สงเปลือย อ.นามน จ.กาฬสินธุ์
    เกษตรอำเภอนามน จ.กาฬสินธุ์
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    รวมค่าใช้จ่าย 0

    กิจกรรมที่ 2 อบรมการแยกขยะ ประเภทต่างๆการทำขยะอินทรีย์เป็นสารหมักชีวภาพ

    ชื่อกิจกรรม
    อบรมการแยกขยะ ประเภทต่างๆการทำขยะอินทรีย์เป็นสารหมักชีวภาพ
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      3. อบรมเรื่องการจัดการขยะ การคัดแยก การจำหน่ายขยะ และแนะนำบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จากร้านค้าขายอาหาร 5 ร้าน ครัวเรือน 20 ครัวเรือน รวมทั้งสิ้น 65 คน ณ วัดโพธฺชัยเหล่าสวนขิง
      4. อบรมเรื่องการใช้ประโยชน์จากขยะอินทรีย์ในการทำปุ๋ยชีวภาพและสารชีวภาพกำจัดศตรูพืชสูตรต่างๆ เช่น พด.2 พด.3 และไตรโคเดอรมา ณ วัดโพธฺชัยเหล่าสวนขิง
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      15 มกราคม 2563 ถึง
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      ผู้เข้าร่วมโครงการได้ความรู้จากการแยกขยะ การนำขยะไปใช้ประโยชน์
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      เทศบาลสงเปลือย อ.นามน จ.กาฬสินธุ์
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      รวมค่าใช้จ่าย 0

      กิจกรรมที่ 3 ทดลองใช้สารชีวภาพในพื้นที่เกษตร

      ชื่อกิจกรรม
      ทดลองใช้สารชีวภาพในพื้นที่เกษตร
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        ทดลองใช้สารชีวภาพในพื้นที่เกษตร
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        16 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        สังเกต ติดตามการนำไปใช้ประโยชน์เช่นกลุ่มผักปลอดสาร
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        นักวิชาการเกษตรอ.นามน
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        รวมค่าใช้จ่าย 0

        กิจกรรมที่ 4 ติดตามและและประเมินผล จัดตั้งกลุ่มคณะทำงานชุมชนต้นแบบปลอดขยะสารพิษ

        ชื่อกิจกรรม
        ติดตามและและประเมินผล จัดตั้งกลุ่มคณะทำงานชุมชนต้นแบบปลอดขยะสารพิษ
        วัตถุประสงค์
          รายละเอียดกิจกรรม
          ติดตามและและประเมินผล จัดตั้งกลุ่มคณะทำงานชุมชนต้นแบบปลอดขยะสารพิษ
          ระยะเวลาดำเนินงาน
          1 มีนาคม 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
          ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
          ลุ่มคณะทำงานชุมชนต้นแบบปลอดขยะสารพิษ
          ทรัพยากรอื่น ๆ
          ภาคีร่วมสนับสนุน
          รายละเอียดงบประมาณ
          ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
          รวมค่าใช้จ่าย 0

          รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 264,800.00 บาท

          รวมเงิน
          ค่าใช้จ่าย (บาท) 0.00
          เปอร์เซ็นต์ (%) 100.00%

          11. งบประมาณ

          264,800.00บาท

          12. การติดตามประเมินผล

          ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
          ผลผลิต (Output) ครัวเรือน 20 ครัวเรือนและร้านค้า 5 ร้านมีความรู้การจัดการขยะที่เพิ่มขึ้น มีปริมาณขยะที่ลดลง ชุมชนมีแหล่งเรียนรู้การผลิตสารชีวภาพจากขยะอินทรีย์ นักศึกษาหลายกหลายสาขา มีโครงการกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ร่วมกับชุมชน
          ผลลัพธ์ (Outcome) ) ครัวเรือน 20 ครัวเรือนและร้านค้า 5 ร้านมีรายได้จากการขายขยะ มีปุ๋ยชีวภาพและสารชีวภาพไว้ใช้ในครัวเรือน นักศึกษาหลายกหลายสาขา ได้ฝึกจิตอาสาผ่านกิจกรรม โครงงาน
          ผลกระทบ (Impact) ชุมชนมีสิ่งแวดล้อมดีขึ้นมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น นักศึกษาได้มีจิตสำนึกสาธารณะที่ดี เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาชุมชน
          นำเข้าสู่ระบบโดย aranyanontarach aranyanontarach เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2562 10:25 น.