ธุรกิจการเลี้ยงไก่ด้วยขมิ้นชัน เพื่อลดการใช้สารเคมีในการเลี้ยงไก่ของชุมชนบ้านโคกนางาม ตำบลภูดิน อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน

แบบเสนอโครงการ
ธุรกิจการเลี้ยงไก่ด้วยขมิ้นชัน เพื่อลดการใช้สารเคมีในการเลี้ยงไก่ของชุมชนบ้านโคกนางาม ตำบลภูดิน อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน

1. ชื่อโครงการ

ธุรกิจการเลี้ยงไก่ด้วยขมิ้นชัน เพื่อลดการใช้สารเคมีในการเลี้ยงไก่ของชุมชนบ้านโคกนางาม ตำบลภูดิน อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทานมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์-บ้านโคกนางาม ตำบลภูดิน อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์อาจารย์นภาพร วงษ์วิชิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์62/1ถ. เกษตรสมบูรณ์ ตำบลกาฬสินธุ์ อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ 460000873785193, napapron_w@hotmail.comอ.สพ.ญ.ภลิตา คุณดิลกพจน์ อาจารย์สาขาวิชาเทคโนโลยีการสัตวแพทย์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
อ.วนัญญา ทองทิพย์ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ คณะบริหารศาสตร์
ผศ.จุฑามาศ สุนทรสาขาวิชาบัญชีคณะบริหารศาสตร์
ผศ.ปภาวี สุขมณีสาขาวิชาบัญชีคณะบริหารศาสตร์
1. นางสาวแพรวพรรณ วิเศษศรี 1460500272314 นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีการสัตวแพทย์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
2. นางสาวสุพัตรา ลาจ้อย 1469900445257 สาขาวิชาบัญชี คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
3. นางสาวรักกมล ดลปัดชา 1469900411034 สาขาวิชาบัญชี คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
4. นางสาวพันธิมาพร ป้อมแสนศรี 1469900433933 สาขาวิชาการจัดการ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
5. นางสาวอมรพันธ์ จำเริญพิมพ์ 1469900466408 สาขาวิชาการจัดการ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
6. นางสาวบุญรักษา สีกรม 1460100199288 สาขาวิชาการจัดการ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
7. นางสาวกัญญาภัคพันนา 1129700133220 สาขาวิชาการจัดการ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
8. นางสาวชไมพรทองจรัส 1460300197319 สาขาวิชาการจัดการ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
9. นางสาววิไลวรรณภูมีเมฆ 1469900458308 สาขาวิชาการจัดการ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
10. นางสาวจินดาพรพลเฉลียว 1469900391904 สาขาวิชาการจัดการ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ เมืองกาฬสินธุ์ ภูดิน
กาฬสินธุ์ เมืองกาฬสินธุ์ ภูดิน ชนบท

3. รายละเอียดชุมชน

ตำบลภูดินตั้งอยู่บริเวณทางทิศเหนือของอำเภอเมืองกาฬสินธุ์ มีระยะทางห่างจากตัวอำเภอเมืองกาฬสินธุ์ประมาณ 20 กิโลเมตร ตำบลภูดินมีเนื้อที่ 49.78 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 34,962 ไร่ ตำบลภูดิน อยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลภูดิน มีทั้งหมด 14 หมู่บ้าน หมู่ที่ 1 ถึง 14 ตามลำดับดังนี้ บ้านสว่าง, บ้านค่ายลูกเสือ, บ้านถิ่นพัฒนา, บ้านคำใหญ่, บ้านโนนหัวเขื่อน, บ้านคำดอกไม้, บ้านพักสุขใจ, บ้านเหล่าหลวง, บ้านนาขาม, บ้านโคกนางาม, บ้านเหล่าหลวงใต้, บ้านเหล่าหลวงกลาง, บ้านโนนศาลา และบ้านภูทองพื้นที่หมู่ที่ 10 บ้านโคกนางาม มีประชากรทั้งหมด 458 คน จำนวน 113 หลังคาเรือน มีเนื้อที่ 1,835 ไร่ ลักษณะดินของตำบลภูดินมีลักษณะเป็นดินทรายถึงดินดาน ไม่อุ้มน้ำ ดินไม่มีความอุดมสมบูรณ์ไม่มีสารอินทรีย์เป็นดินจืด จะต้องมีการปรับปรุงดินให้คืนสภาพความสมบูรณ์ให้ดิน ส่วนใหญ่ประชาชนจะใช้พื้นดินทำไร่มันสำปะหลังและไร่อ้อยจากการลงพื้นที่สอบถามข้อมูลเกี่ยวกับสัตว์เศรษฐกิจพบว่า มีปัญหาเรื่องน้ำที่นำมาใช้ในการเกษตรและเลี้ยงสัตว์เนื่องจากอยู่นอกเขตพื้นที่ชลประทาน ชาวบ้านจำเป็นต้องมีการสำรองน้ำในตอนเช้าเพื่อให้มีน้ำใช้ได้ตลอดทั้งวัน ส่วนในการเลี้ยงสัตว์ มีการเลี้ยงโคจำนวนไม่มากนัก บางหลังคาเรือนมีการเลี้ยงไก่ชน และไก่บ้าน ในจำนวนที่ไม่มาก เพื่อใช้บริโภคในครัวเรือนและเพื่อการจำหน่าย พบว่าในพื้นที่ หมู่ที่ 10 นี้มีการเลี้ยงไก่ในหมู่บ้านเป็นส่วนใหญ่ แต่ยังขาดองค์ความรู้ด้านการตลาดหากมีการเลี้ยงไก่อย่างจริงจัง จึงเล็งเห็นช่องทางการเลี้ยงไก่ด้วยขมิ้นชัน และในชุมชนมีการปลูกขมิ้นชันอยู่แล้ว จึงเป็นทางเลือกที่ดีที่จะนำเอามาใช้ในการเลี้ยงไก่ โดยเกษตรกรในชุมชนมีความสนใจในการเลี้ยงไก่ด้วยขมิ้นชัน เพื่อเป็นการสร้างรายได้ให้กับตนเองและชุมชนอย่างยั่งยืนจากการสำรวจข้อมูลจากเกษตรกรในพื้นที่พบว่า คนในชุมชนต้องการมีช่องทางในการเพิ่มรายได้ นอกเหนือจากการปลูกพืชเชิงเดี่ยว โดยมีมติเห็นพร้อมกันว่า การเลี้ยงไก่ด้วยขมิ้นชัน เป็นทางเลือกที่จะช่วยสร้างรายได้ให้แก่ตนเองและชุมชน โดยมีความเป็นเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ ที่เฉพาะของชุมชนบ้านภูดิน เป็นการสร้างได้ได้อย่างยั่งยืนและมั่นคง
ประเด็นปัญหาหลัก

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1.นวัตกรรมการใช้ขมิ้นชันผสมลงในอาหารไก่เพื่อเสริมสร้างภูมิต้านทานและลดการใช้ยา
2.องค์ความรู้เกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจการเลี้ยงไก่อย่างเป็นระบบ

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้นักศึกษาและเกษตรกรเข้าใจพื้นฐานของชุมชนและประเด็นปัญหาในการประกอบอาชีพธุรกิจการเลี้ยงไก่ด้วยขมิ้นชัน เพื่อลดการใช้สารเคมีในการเลี้ยงไก่ ของชุมชนบ้านโคกนางาม อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน ร่วมกัน 2. เพื่อนักศึกษาได้ศึกษาธุรกิจการเลี้ยงไก่ด้วยขมิ้นชัน เพื่อลดการใช้สารเคมีในการเลี้ยงไก่ ของชุมชนบ้านโคกนางาม อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน 3. เพื่อถ่ายทอดความรู้ธุรกิจการเลี้ยงไก่ด้วยขมิ้นชัน เพื่อลดการใช้สารเคมีในการเลี้ยงไก่ ของชุมชนบ้านโคกนางาม อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน

1.ด้านวิชาการ ส่งเสริมให้เกษตรกรเลี้ยงไก่ด้วยขมิ้นชัน 2.เกษตรกรสามารถเป็นชุมชนต้นแบบในการเลี้ยงไก่ด้วยขมิ้นชัน 3.มีการดำเนินธุรกิจการเลี้ยงไก่อย่างเป็นระบบ

80.00 80.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
นักศึกษามหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ 10
อาจารย์มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ 5
เกษตรกรในชุมชนบ้านภูดิน 40

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การวางแผนการดำเนินการและการเตรียมความพร้อมพื้นที่ นักศึกษาและวัสดุอุปกรณ์

ชื่อกิจกรรม
การวางแผนการดำเนินการและการเตรียมความพร้อมพื้นที่ นักศึกษาและวัสดุอุปกรณ์
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    1. ขออนุมัติโครงการ
    2. ประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงานและกำหนดการ
    3. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินโครงการ
    4. ลงพื้นที่ทำความเข้าใจกับพื้นที่
    5. ทำความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการและความรู้ที่จะนำลงไปดำเนินงานในพื้นที่
    6. จัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์สำหรับใช้ดำเนินโครงการ
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    13 มกราคม 2563 ถึง 16 กุมภาพันธ์ 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ผลผลิต : ได้แผนการดำเนินธุรกิจเลี้ยงไก่ด้วยสมุนไพรขมิ้นชัน เพื่อลดการใช้สารเคมีในการเลี้ยงสัตว์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน
    ผลลัพธ์ : นักศึกษาเข้าใจเกี่ยวกับโครงการที่จะทำร่วมกับชุมชนบ้านโคกนางาม ตำบลภูดิน อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ ดำเนินธุรกิจเลี้ยงไก่ด้วยสมุนไพรขมิ้นชัน เพื่อลดการใช้สารเคมีในการเลี้ยงสัตว์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทานได้อย่างต่อเนื่อง
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    -
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชุด 700 1 700
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

    รถยนต์ 3 คัน ระยะทาง 20 กม. ไปกลับ 2 เที่ยว

    2 เที่ยว 4 60 480
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ค่าพันธุ์ไก่

    3,200 ชิ้น 50 1 160,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ค่าอาหารไก่

    200 ชิ้น 450 1 90,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ค่าขมิ้นชัน

    80 ชิ้น 300 1 24,000
    ค่าวัสดุสำนักงาน

    ค่าหมึกพิมพ์

    2 ชุด 2,500 1 5,000
    ค่าวัสดุสำนักงาน

    ค่ากระดาษ

    6 ชิ้น 105 1 630
    ค่าวัสดุสำนักงาน

    ซองเอกสาร

    200 ชิ้น 60 1 12,000
    อื่น ๆ

    ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์

    5 คน 240 1 1,200
    อื่น ๆ

    ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

    10 คน 180 1 1,800
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ค่าวัสดุอุปกรณ์เลี้ยงไก่

    240 ชุด 210 1 50,400
    ค่าวัสดุสำนักงาน

    กระดาษชารท์ขาวเทาแผ่นใหญ่

    80 ชิ้น 15 1 1,200
    ค่าวัสดุสำนักงาน

    เทปกาว

    5 ชิ้น 50 1 250
    ค่าวัสดุสำนักงาน

    คลิปดำ No.108

    5 คน 50 1 250
    ค่าวัสดุสำนักงาน

    ปากกาไวท์บอดคละสี

    82 คน 30 1 2,460
    ค่าวัสดุสำนักงาน

    แฟ้มดำเจาะ 3 นิ้ว

    5 ชิ้น 60 1 300
    ค่าวัสดุสำนักงาน

    แฟ้มคลิปบอร์ด A4 มีฝาปิด

    15 คน 60 1 900
    ค่าวัสดุสำนักงาน

    แผ่น DVD

    1 คน 500 1 500
    รวมค่าใช้จ่าย 352,070

    กิจกรรมที่ 2 สร้างความเข้าใจพื้นฐานของชุมชนและประเด็นปัญหาในการประกอบอาชีพธุรกิจการเลี้ยงไก่ด้วยขมิ้นชัน เพื่อลดการใช้สารเคมีในการเลี้ยงไก่

    ชื่อกิจกรรม
    สร้างความเข้าใจพื้นฐานของชุมชนและประเด็นปัญหาในการประกอบอาชีพธุรกิจการเลี้ยงไก่ด้วยขมิ้นชัน เพื่อลดการใช้สารเคมีในการเลี้ยงไก่
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      1. ระดมความคิดในหัวข้อ “สร้างความเข้าใจพื้นฐานของชุมชนและประเด็นปัญหาในการประกอบอาชีพธุรกิจการเลี้ยงไก่ด้วยขมิ้นชัน เพื่อลดการใช้สารเคมีในการเลี้ยงไก่ ของชุมชนบ้านโคกนางาม อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน ร่วมกันระหว่างเกษตรและนักศึกษา”
      2. อบรมเกษตรกรในหัวข้อ “ถ่ายทอดความรู้ธุรกิจการเลี้ยงไก่ด้วยขมิ้นชัน เพื่อลดการใช้สารเคมีในการเลี้ยงไก่ ของชุมชนบ้านโคกนางาม อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน”
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      17 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 16 มีนาคม 2563
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      ผลผลิต : มีความเข้าใจร่วมกันระหว่างนักศึกษาและชุมชนบ้านโคกนางาม ตำบลภูดิน อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ ดำเนินธุรกิจเลี้ยงไก่ด้วยขมิ้นชัน เพื่อลดการใช้สารเคมีในการเลี้ยงสัตว์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน
      ผลลัพธ์ : ชุมชนบ้านโคกนางาม ตำบลภูดิน อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์เข้าใจในการดำเนินธุรกิจเลี้ยงไก่ด้วยขมิ้นชัน เพื่อลดการใช้สารเคมีในการเลี้ยงสัตว์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทานได้อย่างต่อเนื่อง
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      ค่าตอบแทนวิทยากร

      ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน ภาคบรรยาย

      6 คน 600 1 3,600
      ค่าตอบแทนวิทยากร

      ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน ภาคปฏิบัติ

      4 คน 600 6 14,400
      ค่าอาหาร

      ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

      55 คน 35 4 7,700
      ค่าอาหาร

      ค่าอาหารกลางวัน

      55 คน 100 2 11,000
      ค่าถ่ายเอกสาร

      จ้างเหมาบริการทำเอกสารประกอบการอบรม

      40 ชุด 15 2 1,200
      ค่าเช่าสถานที่

      ค่าเช่าห้องประชุม

      2 ครั้ง 1,000 1 2,000
      อื่น ๆ

      ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษากรณีเป็นวันอบรม

      10 คน 120 2 2,400
      ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

      ค่าชดเชยรถยนต์ส่วนบุคคลจำนวน 3 คัน x 2 วัน x 40 กม.(ไป-กลับ) x4 บาท

      3 คน 4 80 960
      รวมค่าใช้จ่าย 43,260

      กิจกรรมที่ 3 ศึกษาธุรกิจการเลี้ยงไก่ด้วยขมิ้นชัน เพื่อลดการใช้สารเคมีในการเลี้ยงไก่ ของชุมชนบ้านโคกนางาม อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน

      ชื่อกิจกรรม
      ศึกษาธุรกิจการเลี้ยงไก่ด้วยขมิ้นชัน เพื่อลดการใช้สารเคมีในการเลี้ยงไก่ ของชุมชนบ้านโคกนางาม อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        1. นักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการศึกษาเกี่ยวกับการจัดจำหน่ายไก่เลี้ยงด้วยขมิ้นชัน
        2. นักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการถ่ายทอดความรู้ที่ได้จากข้อ 1 ให้กับชุมชน
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        18 มีนาคม 2563 ถึง 16 เมษายน 2563
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        ผลผลิต : นักศึกษารวบรวมข้อมูลการจัดจำหน่ายไก่เลี้ยงด้วยขมิ้นชัน
        ผลลัพธ์ : นักศึกษาถ่ายทอดการจัดจำหน่ายไก่เลี้ยงด้วยขมิ้นชันสู่ ชุมชนบ้านโคกนางาม ตำบลภูดิน อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        ค่าตอบแทนวิทยากร

        ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน ภาคบรรยาย

        1 คน 600 3 1,800
        ค่าตอบแทนวิทยากร

        ค่าตอบแทนวิทยากรภายนอก ภาคบรรยาย

        1 คน 600 3 1,800
        ค่าตอบแทนวิทยากร

        ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน ภาคปฏิบัติ

        4 คน 600 6 14,400
        ค่าอาหาร

        ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

        55 คน 35 4 7,700
        ค่าอาหาร

        ค่าอาหารกลางวัน

        55 คน 100 2 11,000
        ค่าถ่ายเอกสาร

        จ้างเหมาบริการทำเอกสารประกอบการอบรม

        40 ชุด 15 2 1,200
        ค่าเช่าสถานที่ 2 ครั้ง 1,000 1 2,000
        อื่น ๆ

        ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์

        5 คน 240 2 2,400
        อื่น ๆ

        ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

        10 คน 180 2 3,600
        อื่น ๆ

        ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษากรณีเป็นวันอบรม

        10 คน 120 2 2,400
        ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

        จำนวน 3 คัน x 4 วัน x 40 กม.(ไป-กลับ) x4 บาท

        160 คน 4 3 1,920
        รวมค่าใช้จ่าย 50,220

        กิจกรรมที่ 4 ดำเนินการ“การเลี้ยงไก่ด้วยขมิ้นชัน เพื่อลดการใช้สารเคมีในการเลี้ยงไก่ ของชุมชนบ้านโคกนางาม อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน

        ชื่อกิจกรรม
        ดำเนินการ“การเลี้ยงไก่ด้วยขมิ้นชัน เพื่อลดการใช้สารเคมีในการเลี้ยงไก่ ของชุมชนบ้านโคกนางาม อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน
        วัตถุประสงค์
          รายละเอียดกิจกรรม
          1. นักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาโครงแนะนำเกี่ยวกับพันธุ์ไก่ อาหารและอุปกรณ์การเลี้ยง
          2. นักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการให้คำแนะนำการเลี้ยงไก่ด้วยขมิ้นชัน เพื่อลดการใช้สารเคมีในการเลี้ยงไก่
          3. นักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการติดตามให้คำแนะนำอย่างใกล้ชิดในการเลี้ยงและการดำเนินธุรกิจเลี้ยงไก่ด้วยขมิ้นชัน เพื่อลดการใช้สารเคมีในการเลี้ยงไก่
          ระยะเวลาดำเนินงาน
          17 เมษายน 2563 ถึง 18 พ.ค. 2563
          ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
          ผลผลิต : นักศึกษาสร้างความเข้าใจในการเลี้ยงไก่เลี้ยงด้วยขมิ้นชัน
          ผลลัพธ์ : ชุมชนบ้านโคกนางาม ตำบลภูดิน อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์มีทักษะในการเลี้ยงไก่ด้วยขมิ้นชัน
          ทรัพยากรอื่น ๆ
          ภาคีร่วมสนับสนุน
          รายละเอียดงบประมาณ
          ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
          อื่น ๆ

          ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์

          5 คน 240 9 10,800
          อื่น ๆ

          ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

          10 คน 180 9 16,200
          ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

          ค่าชดเชยรถยนต์ส่วนบุคคลจำนวน 3 คัน x 9 วัน x 40 กม.(ไป-กลับ) x4 บาท

          360 คน 4 3 4,320
          รวมค่าใช้จ่าย 31,320

          กิจกรรมที่ 5 การติดตาม และประเมินผลโครงการ

          ชื่อกิจกรรม
          การติดตาม และประเมินผลโครงการ
          วัตถุประสงค์
            รายละเอียดกิจกรรม
            1. ติดตามผลจากการทำแบบสอบถามเพื่อประเมินผล
            2. สรุปผลการดำเนินงานร่วมกันระหว่างชุมชน นักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการฯ
            ระยะเวลาดำเนินงาน
            19 พ.ค. 2563 ถึง
            ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
            ผลผลิต : ผลการประเมินโครงการ
            ผลลัพธ์ : ชุมชนบ้านโคกนางาม ตำบลภูดิน อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์มีทักษะในการเลี้ยงและการดำเนินธุรกิจการเลี้ยงไก่ด้วยขมิ้นชัน
            ทรัพยากรอื่น ๆ
            ภาคีร่วมสนับสนุน
            รายละเอียดงบประมาณ
            ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
            ค่าตอบแทนวิทยากร

            ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน ภาคบรรยาย

            1 คน 600 3 1,800
            ค่าตอบแทนวิทยากร

            ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน ภาคปฏิบัติ

            4 คน 600 3 7,200
            ค่าอาหาร

            ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

            55 คน 35 2 3,850
            ค่าอาหาร

            ค่าอาหารกลางวัน

            55 คน 100 1 5,500
            ค่าถ่ายเอกสาร

            จ้างเหมาบริการทำเอกสารประกอบการอบรม

            40 ชุด 15 1 600
            ค่าถ่ายเอกสาร

            จ้างเหมาบริการทำรูปเล่มรายงาน

            5 ชุด 300 1 1,500
            ค่าเช่าสถานที่ 1 คน 1,000 1 1,000
            อื่น ๆ

            ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษากรณีเป็นวันอบรม

            10 คน 120 1 1,200
            ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

            ค่าชดเชยรถยนต์ส่วนบุคคลจำนวน 3 คัน x 1 วัน x 40 กม.(ไป-กลับ) x4 บาท

            3 คน 4 40 480
            รวมค่าใช้จ่าย 23,130

            รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

            ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
            ค่าใช้จ่าย (บาท) 45,000.00 700.00 64,410.00 347,890.00 42,000.00 500,000.00
            เปอร์เซ็นต์ (%) 9.00% 0.14% 12.88% 69.58% 8.40% 100.00%

            11. งบประมาณ

            500,000.00บาท

            12. การติดตามประเมินผล

            ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
            ผลผลิต (Output) 1.ได้ไก่สมุนไพรที่เลี้ยงด้วยขมิ้นชัน
            2.เกษตรกรต้นแบบในการเลี้ยงไก่ด้วยขมิ้นชัน
            3. มีทักษะการดำเนินธุรกิจการเลี้ยงไก่ด้วยขมิ้นชัน
            1.นักศึกษาเรียนรู้กระบวนการผลิต ควบคุมคุณภาพ และพัฒนาผลิตภัณฑ์จากไก่ขมิ้นชัน
            2.นักศึกษาได้เรียนรู้การสร้างเครื่อข่ายเกษตรกรต้นแบบ
            3.นักศึกษาสามารถสร้างช่องทางการตลาด เพื่อสนับสนุนการขายผลิตภัณฑ์ชุมชนได้
            4. นักศึกษาสามารถสร้างเส้นทางการประกอบอาชีพในอนาคตได้
            5.เทียบรายวิชาให้นักศึกษาแต่ละหลักสูตร คือ
            5.1 รหัสวิชา 03-105-202 พยาธิวิทยาทางเทคนิคการสัตวแพทย์จำนวน 3 หน่วยกิต
            5.2 รหัสวิชา 05-051-302 เตรียมความพร้อมเพื่อการฝึกปฏิบัติงาน จำนวน 1 หน่วยกิต
            5.3 รหัสวิชา 05-020-201 การเงินธุรกิจ จำนวน 3 หน่วยกิต
            ผลลัพธ์ (Outcome) 1.เกิดความรู้และประสบการณ์ในการผลิตและแก้ปัญหากระบวการผลิตที่ดีแก่ชุมชน
            2.ชุมชนเกิดความเข้มแข็งจากความรู้ด้านการผลิตที่มีมากขึ้น รายได้ที่เพิ่มขึ้น ครอบครัวมีปัญหาด้านการเป็นอยู่น้อยลง
            1. นักศึกษาเรียนรู้การทำงานเป็นทีม ได้นำเอาความรู้การทำงานในสายวิชชีพที่เรียนมามาแก้ปัญหาในชีวิตจริงได้
            2. นักศึกษาสามารถทำงานและเรียนรู้จักประสบกาณ์ตรงและเรียนรู้การใช้ชีวิตและการปรับตัวในชุมชน
            3. นักศึกษาเกิดความมั่นใจ และเชื่อมั่นในตัวเองมากขึ้น จากการเรียนรู้การทำงานในพื้นที่จริง
            ผลกระทบ (Impact) 1.ชุมชนเกิดรายได้เพิ่มขึ้น
            2.ชุมชนเรียนรู้ และมีองค์ความรู้ด้านการผลิตได้คุณภาพ มาตรฐานมากขึ้น
            3.ชุมชนมีความรู้ที่ทันสมัย ทันต่อสถานการณ์ปัจจุบันในด้านการทำธุรกิจแบบหลายช่องทาง
            1. นักศึกษาเกิดพลัง ความมุ่งมั่น และมีจิตอาสา
            2. นักศึกษามีความรู้จากห้องเรียนที่เป็นการดำเนินชีวิตจริง ไม่ใช่เรียนรู้เฉพาะในห้องเรียน
            3.นักศึกษามีรายได้ในระหว่างเรียน และเรียนรู้การทำธุรกิจจากประสบการณ์ที่ได้เมื่อเสร็จสิ้นโครงการ
            นำเข้าสู่ระบบโดย Vettech.ksu Vettech.ksu เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2562 10:22 น.