ธุรกิจการเลี้ยงสุกรด้วยขมิ้นชัน เพื่อลดการใช้ยาปฏิชีวนะในการเลี้ยงสุกรของชุมชนในบ้านหลุบ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน

แบบเสนอโครงการ
ธุรกิจการเลี้ยงสุกรด้วยขมิ้นชัน เพื่อลดการใช้ยาปฏิชีวนะในการเลี้ยงสุกรของชุมชนในบ้านหลุบ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน

1. ชื่อโครงการ

ธุรกิจการเลี้ยงสุกรด้วยขมิ้นชัน เพื่อลดการใช้ยาปฏิชีวนะในการเลี้ยงสุกรของชุมชนในบ้านหลุบ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทานมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์-บ้านหลุบ ต.หลุบ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์สพ.ญ.ภลิตา คุณดิลกพจน์ สาขาวิชาเทคโนโลยีการสัตวแพทย์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ พื้นที่ในเมือง 62/1 ถนนเกษตรสมบูรณ์ ตำบลกาฬสินธุ์อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ 460000967958441, phalita.ko@ksu.ac.thอ.สพ.ญ.ภลิตา คุณดิลกพจน์ อาจารย์สาขาวิชาเทคโนโลยีการสัตวแพทย์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
อ.ดร.นภาพร วงษ์วิชิต อาจารย์สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
นายอนุวัฒน์ มานะวงษ์ 1469900492476 นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
นายชัยชนะ ทรัพย์ไพบูลย์ 1119900868291 นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
นส กันยาพร สุไผ่โพธิ์ 1469900450498 นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
นางสาวณฤดี ภูเด่นแดน 1419901913742 นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
นางสาวปิยะรัตน์ นพอาจ 1460500267353 นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีการสัตวแพทย์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
นางสาวศิริพร ประทุมทอง 1469900511829 นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีการสัตวแพทย์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ เมืองกาฬสินธุ์ หลุบ

3. รายละเอียดชุมชน

ตำบลหลุบมีเขตการปกครองจำนวน 16 หมู่บ้าน มีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 2,092 หลังคาเรือน จำนวนประชากรประมาณ 9,515 คน สภาพทั่วไปตั้งอยู่ด้านทิศใต้ของเมืองกาฬสินธุ์ ระยะห่างจากอำเภอเมืองประมาณ 3 กิโลเมตร เนื้อที่ของตำบลหลุบมีประมาณ 28,772 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 5.4 ของพื้นที่่ทั้งหมดของอำเภอเมืองกาฬสินธุ์ลักษณะพื้นที่ของตำบลหลุบ มีลักษณะพื้นที่ราบและราบลุ่ม มีแหล่งน้ำที่สำคัญ คือ ลำน้ำปาว แหล่งน้ำธรรมชาติ และแหล่งน้ำที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการเกษตรและการปศุสัตว์ผลผลิตของพื้นที่ส่วนใหญ่ในตำบลหลับอาศัยแหล่งน้ำจากโครงการชลประทานจังหวัดกาฬสินธุ์ และแหล่งน้ำธรรมชาติ คือ ลำน้ำปาว ส่วนในการทำการเกษตร คือ การทำนาปี นาปรัง และการปลูกพืชฤดูแล้ง เช่นมะเขือ พริก ข้าวโพด ถั่วลิสง ฯลฯ เพราะฉะนั้นจะเห็นว่ารายได้ส่วนใหญ่ของประชาชนในท้องถิ่นส่วนใหญ่มากจากการทำการเกษตรมากที่สุดปัญหาสำคัญในการใช้ประโยชน์ที่ดินของหน่วยที่ดินนี้ได้แก่ ดินที่ความอุดมสมบูรณ์ค่อนข้างต่ำปัจจุบันบริเวณดังกล่าวส่วนใหญ่ใช้ทำนาหรือใช้ปลูกพืชล้มลุกในช่วงฤดูแล้งหน่วยที่ดินดังกล่าว พบบริเวณกว้างร้อยละ 64.7 ของพื้นที่ตำบลหรือ 24.59 ตารางกิโลเมตร หรือปริมาณ 15,368.5 ไร่ บริเวณที่พบอยู่ข้างบ้านกุดอ้อ หมู่ที่ 2 บ้านสุขสวัสดิ์ หมู่ที่ 14 บ้านโคกกลาง หมู่ที่ 3 บ้านหนองคอนชัย หมู่ที่ 10 และบ้านดอนสนวน หมู่ที่ 9เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรในบ้านหลุบตระหนักถึงปัญหาเรื่องโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร (African Swine Fever) เป็นโรคติดเชื้อไวรัสที่ติดต่อร้ายแรงในสัตว์ตระกูลสุกร ซึ่งมีสุกรป่าเป็นแหล่งรังโรค และมีเห็บอ่อนเป็นพาหะนำโรค โรคนี้เป็นโรคประจำถิ่นในอนุภูมิภาคซาฮาราของทวีปแอฟริกา ประเทศซาดิเนียของทวีปยุโรป ต่อมาพบการระบาดของโรครอบๆประเทศไทย โดยสถาณการณ์ภายในฟาร์มที่มีการสำรวจข้อมูลภายในพื้นที่มีการใช้ยาต้านไวรัสผสมในอาหารให้สุกรกินเพื่อแก้ไขปัญหาอาการไอ อีกทั้งเกษตรกรมีความต้องการลดต้นทุนค่าอาหารสุกรโดยการใช้มันสำปะหลังหมักยีสต์ ถึงแม้ว่าจะมีการงดการฉีดวัคซีนบางตัวเพื่อเข้าสู่มาตราฐานอาหารปลอดภัย แต่ก็ยังมีการใช้ยาปฏิชีวนะ ยาแก้อักเสบอยู่อย่างต่อเนื่อง การนำนวัตกรรมโดยการใช้สมุนไพร (ขมิ้นชัน) ผสมลงในอาหารสุกรซึ่งเป็นสมุนไพรที่มีฤทธิ์การรักษาจากงานวิจัยที่ใช้ในคน หรือสัตว์บางชนิดแล้วพบว่าได้ผลด้านการต้านการอักเสบ และฆ่าแบคทีเรียบางชนิดได้ ซึ่งการใช้ขมิ้นชั้นลงไปในอาหารนั้นเป็นการเสริมภูมิต้านทานให้สุกร ทั้งยังเป็นการลดการใช้ยาในการรักษาโรค จากการสำรวจลงพื้นที่เกษตรกรมีความสนใจการนำขมิ้นชันไปใช้ในการเลี้ยงสุกร เพื่อลดการใช้ยาปฏิชีวนะ เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับเนื้อสุกร เพื่อยกระดับสู่มาตรฐานอาหารปลอดภัย

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1.นวัตกรรมการใช้สมุนไพร (ขมิ้นชัน) ผสมลงในอาหารสุกรเพื่อเสริมสร้างภูมิต้านทานและลดการใช้ยาปฏิชีวนะ โดยมีส่วนร่วมของชุมชน
2.นวัตกรรมการส่งเสริมการขายอย่างมีระบบ สร้างมูลค่าเพิ่มในกับเนื้อสุกร

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และนวัตกรรมสู่ชุมชนด้านการเลี้ยงสุกรด้วยขมิ้นชัน ตลอดจนการจัดการเรื่องการตลาด

1.ด้านวิชาการ ส่งเสริมให้เลี้ยงสุกรด้วยขมิ้นชัน 2.เกษตรกรสามารถเป็นชุมชนต้นแบบในการเลี้ยงสุกรด้วยขมิ้นชัน 3.มีการจัดการเรื่องการตลาดสำหรับรองรับสินค้าสุกรขมิ้นชัน

50.00 50.00
2 วางแผนการดำเนินการวิเคราะห์บริบทของชุมชนหลุบ ประเด็นปัญหาของการเลี้ยงสุกร

แผนในการดำเนินงาน แผนชีวิตในการพัฒนาตนเองของกลุ่มผู้เลียงสุกร แผนพัฒนากลุ่มผู้เลี้ยงสุกร

5.00 10.00
3 เพื่อวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเลี้ยงสุกรสมุนไพรของชุมชนหลุบ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์

มีการใช้สมุนไพรของผู้เลี้ยงสุกรทั้ง 10 ราย ได้สุกรสมุนไพร

3.00 10.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
นักศึกษามหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ 6
อาจารย์มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ 2
เกษตรกรชุมชนบ้านหลุบ ต.หลุบ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ 10

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การถ่ายทอดองค์ความรู้และนวัตกรรมสู่ชุมชนด้านการเลี้ยงสุกรด้วยขมิ้นชัน ตลอดจนการจัดการเรื่องการตลาด

ชื่อกิจกรรม
การถ่ายทอดองค์ความรู้และนวัตกรรมสู่ชุมชนด้านการเลี้ยงสุกรด้วยขมิ้นชัน ตลอดจนการจัดการเรื่องการตลาด
วัตถุประสงค์
  1. 1.เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และนวัตกรรมสู่ชุมชนด้านการเลี้ยงสุกรด้วยขมิ้นชัน ตลอดจนการจัดการเรื่องการตลาด
  2. วางแผนการดำเนินการวิเคราะห์บริบทของชุมชนหลุบ ประเด็นปัญหาของการเลี้ยงสุกร
  3. เพื่อวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเลี้ยงสุกรสมุนไพรของชุมชนหลุบ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดกิจกรรม
กิจกรรมย่อยที่ 1 การพัฒนาการดำเนินธุรกิจเลี้ยงสุกรด้วยสมุนไพรขมิ้นชัน ของชุมชนในบ้านหลุบ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน
วัตถุประสงค์
1. เพื่อแก้ปัญหาความยากจนของคนในชุมชน ชุมชนในบ้านหลุบ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ร้อยละ 7 เป้าหมายระยะเวลา 1 ปี
2. เพื่อการพัฒนาการดำเนินธุรกิจเลี้ยงสุกรด้วยสมุนไพรขมิ้นชัน ของชุมชนในบ้านหลุบ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน
รายละเอียดกิจกรรม
1. นักศึกษาลงพื้นที่ทำความเข้าใจกับพื้นที่ และทำความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการร่วมกับชุมชน
2.จัดประชุมระดมสมองแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อวิเคราะห์ปัญหา ศักยภาพ และข้อจำกัดและแนวทางการจัดการวิสากิจชุมชน
3. ประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นการดำเนินธุรกิจเลี้ยงสุกรด้วยสมุนไพรขมิ้นชัน ของชุมชนในบ้านหลุบ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน
5. ลงพื้นที่เก็บรวมข้อมูลเกี่ยวกับธุรกิจเลี้ยงสุกรด้วยสมุนไพรขมิ้นชัน
6.ประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกับชุมชนเกี่ยวกับธุรกิจเลี้ยงสุกรด้วยสมุนไพรขมิ้นชัน ของชุมชนในบ้านหลุบ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน
7.ลงพื้นที่การติดตาม ปัญหา ข้อจำกัด
8.สรุป
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 31 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต : ชุมชนในบ้านหลุบ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ดำเนินธุรกิจเลี้ยงสุกรด้วยสมุนไพรขมิ้นชัน ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน
ผลลัพธ์ : ชุมชนในบ้านหลุบ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ดำเนินธุรกิจเลี้ยงสุกรด้วยสมุนไพรขมิ้นชัน ตามแนวคิดห่วงโซ่อุปทาน
ทรัพยากรอื่น ๆ
-
ภาคีร่วมสนับสนุน
-
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่ากระดาษ A4

8 ชิ้น 105 1 840
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่ากระดาษชาร์เทาแผ่นใหญ่

100 ชิ้น 15 1 1,500
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าเทปกาว

10 ชิ้น 50 1 500
ค่าถ่ายเอกสาร 20 คน 75 6 9,000
อื่น ๆ

ค่าจัดทำรูปเล่มรายงาน

5 ชิ้น 300 1 1,500
ค่าวัสดุสำนักงาน

เทปกาว

5 ชิ้น 24 1 120
รวมค่าใช้จ่าย 13,460

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 การเตรียมความพร้อมพื้นที่ นักศึกษา และวัสดุอุปกรณ์

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 การเตรียมความพร้อมพื้นที่ นักศึกษา และวัสดุอุปกรณ์
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    1.ลงพื้นที่ทำความเข้าใจกับพื้นที่
    2.ทำความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการและความรู้ที่จะนำลงไปดำเนินการกับพื้นที่
    3.จัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์สำหรับใช้ดำเนินโครงการ
    4.อบรมเกษตรในหัวข้อ "นวัตกรรมการนำสมุนไพรมาใช้เลี้งสุกรโดยอาศัยภูมิปัญญาท้องถิ่นโดยใช้ขมิ้นชันเป็นอาหารเสริม
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    31 มกราคม 2563 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ผลผลิต ได้สุกรสมุนไพรจากชุมชนหลุบเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ของชุมชน จำนวน 10 ราย
    ผลลัพธ์ ชุมชนหลุบมีรายได้เพิ่มขึ้น 7% เกิดความยั่งยืนของชุมชน
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน ภาคบรรยาย

    2 คน 600 16 19,200
    ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 3 ชิ้น 900 1 2,700
    ค่าอาหาร 50 คน 160 6 48,000
    ค่าเช่ารถ 1 ครั้ง 1,500 8 12,000
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 2 ครั้ง 80 8 1,280
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ค่าจ้างเหมาเตรียมโรงเรือนก่อนนำสุกรเข้าฟาร์ม

    10 คน 4,500 1 45,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ค่าอุปกรณ์การให้อาหารและน้ำ

    10 คน 6,000 1 60,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ค่าพันธุ์สุกร

    20 ชิ้น 2,500 1 50,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ค่าอาหารสุกร

    320 ชุด 640 1 204,800
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ค่าขมิ้นชัน

    20 ชุด 300 1 6,000
    อื่น ๆ

    ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

    8 คน 120 8 7,680
    อื่น ๆ

    ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ

    2 คน 180 8 2,880
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารว่าง

    50 คน 70 6 21,000
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าวิทยากรภายนอก

    2 ครั้ง 600 5 6,000
    รวมค่าใช้จ่าย 486,540

    กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 3 การติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน

    ชื่อกิจกรรม
    กิจกรรมที่ 3 การติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      1.ติดตามผลการทำแบบสอบถามเพื่อประเมิผล
      2.วัดอัตราการเจริญเติบโตและสุขภาพโดยรวมของสุกร
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      1 มีนาคม 2563 ถึง
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      ผลผลิต สุกรมีอัตราการเจริญเติบโตที่่ดีโดยใช้ยาปฏิชีวนะลดลง
      ผลลัพธ์ ได้อาหารปลอดภัยต่อผู้บริโภค ลดการตกค้างของยาปปฏิชีวนะ
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      รวมค่าใช้จ่าย 0

      รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

      ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
      ค่าใช้จ่าย (บาท) 25,200.00 2,700.00 91,280.00 368,760.00 12,060.00 500,000.00
      เปอร์เซ็นต์ (%) 5.04% 0.54% 18.26% 73.75% 2.41% 100.00%

      11. งบประมาณ

      500,000.00บาท

      12. การติดตามประเมินผล

      ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
      ผลผลิต (Output) 1.ได้สุกรสมุนไพรที่เลี้ยงด้วยขมิ้นชัน
      2.เกษตรกรต้นแบบในการเลี้ยงสุกรด้วยขมิ้นชัน
      3. มีแหล่งกระจายสินค้าช่องทางต่าง ๆ
      1.นักศึกษาเรียนรู้กระบวนการผลิต ควบคุมคุณภาพ และพัฒนาผลิตภัณฑ์จากไก่ขมิ้นชัน
      2.นักศึกษาได้เรียนรู้การสร้างเครื่อข่ายเกษตรกรต้นแบบ
      3.นักศึกษาสามารถสร้างช่องทางการตลาด เพื่อสนับสนุนการขายผลิตภัณฑ์ชุมชนได้
      4. นักศึกษาสามารถสร้างเส้นทางการประกอบอาชีพในอนาคตได้
      5.เทียบรายวิชาให้นักศึกษาแต่ละหลักสูตร คือ
      5.1 วิชาแมลง สัตว์ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด จำนวน 2 หน่วยกิต
      5.2 วิชาพฤติกรรมผู้บริโภคเพื่อการบริหารสินค้าในธุรกิจค้าปลีก 3 หน่วยกิต
      5.3 วิชาสรีรวิทยาของสัตว์ จำนวน 3 หน่วยกิต
      ผลลัพธ์ (Outcome) 1.เกิดความรู้และประสบการณ์ในการผลิตและแก้ปัญหากระบวการผลิตที่ดีแก่ชุมชน
      2.ชุมชนเกิดความเข้มแข็งจากความรู้ด้านการผลิตที่มีมากขึ้น รายได้ที่เพิ่มขึ้น ครอบครัวมีปัญหาด้านการเป็นอยู่น้อยลง
      1. นักศึกษาเรียนรู้การทำงานเป็นทีม ได้นำเอาความรู้การทำงานในสายวิชชีพที่เรียนมามาแก้ปัญหาในชีวิตจริงได้
      2. นักศึกษาสามารถทำงานและเรียนรู้จักประสบกาณ์ตรงและเรียนรู้การใช้ชีวิตและการปรับตัวในชุมชน
      3. นักศึกษาเกิดความมั่นใจ และเชื่อมั่นในตัวเองมากขึ้น จากการเรียนรู้การทำงานในพื้นที่จริง
      ผลกระทบ (Impact) 1.ชุมชนเกิดรายได้เพิ่มขึ้น
      2.ชุมชนเรียนรู้ และมีองค์ความรู้ด้านการผลิตได้คุณภาพ มาตรฐานมากขึ้น
      3.ชุมชนมีความรู้ที่ทันสมัย ทันต่อสถานการณ์ปัจจุบันในด้านการทำธุรกิจแบบหลายช่องทาง
      1. นักศึกษาเกิดพลัง ความมุ่งมั่น และมีจิตอาสา
      2. นักศึกษามีความรู้จากห้องเรียนที่เป็นการดำเนินชีวิตจริง ไม่ใช่เรียนรู้เฉพาะในห้องเรียน
      3.นักศึกษามีรายได้ในระหว่างเรียน และเรียนรู้การทำธุรกิจจากประสบการณ์ที่ได้เมื่อเสร็จสิ้นโครงการ
      นำเข้าสู่ระบบโดย vettech vettech เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2562 09:03 น.