จิต อาสาประชารัฐ ด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษเสริมรายได้ ตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา

แบบเสนอโครงการ
จิต อาสาประชารัฐ ด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษเสริมรายได้ ตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา

1. ชื่อโครงการ

จิต อาสาประชารัฐ ด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษเสริมรายได้ ตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมือง จังหวัดสงขลากระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาเทศบาลตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา,สถานีพัฒนาที่ดิน อำเภอเมือง จังหวัดสงขลาเทศบาลตำบลเกาะแต้วผศ.ดร.อมรรัตน์ ชุมทอง รองคณบดีฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา 160 หมู่ที่ 4 ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา 90000คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา 160 หมู่ที่ 4 ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา 90000โทรศัพท์ : 074-260272 ,089-7356965 โทรสาร : 074-260273 Email Address : agri@skru.ac.th.ชุมชนที่ประสบปัญหาความยากจน/รายได้ต่ำ จำนวน 1 ชุมชน ในพื้นที่เป้าหมาย

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
สงขลา เมืองสงขลา เกาะแต้ว

3. รายละเอียดชุมชน

พื้นที่เทศบาลตำบลเกาะแต้วมีเนื้อที่ 28.38 ตารางกิโลเมตร ( 17,738 ไร่ ) เป็นพื้นที่อยู่อาศัย 3,000 ไร่ พื้นที่ทำการเกษตร 11,320 ไร่ พื้นที่สาธารณะ 3,418 ไร่ การประกอบอาชีพของประชาชน
ในเขตเทศบาลตำบลเกาะแต้ว ประมาณร้อยละ 70 ประกอบอาชีพด้านการเกษตร เช่น ปลูกพืชเศรษฐกิจ
(ปลูกยางพารา และข้าวเจ้า) ทำปศุสัตว์ (ส่วนใหญ่เลี้ยงโคพื้นเมือง โคผสม ไก่ไข่ เป็ดเทศ) รองลงมาได้แก่ อาชีพค้าขาย การบริการหรือรับจ้าง (สำหรับประชาชนวัยหนุ่มสาวส่วนใหญ่รับจ้างทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมเกี่ยวกับการแปรรูปอาหารทะเล ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่ตำบลใกล้เคียง)รับราชการและลูกจ้างของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ประมง ตามลำดับ (กศน.ตำบลเกาะแต้ว, ม.ป.ป.) อย่างไรก็ตามในสภาวะปัจจุบันราคาสินค้าเกษตรค่อนข้างต่ำทุกประเภท ส่งผลให้ประชาชนมีรายได้น้อยไม่เพียงพอต่อรายจ่ายของครอบครัว ดังนั้นการทำอาชีพเสริมโดยการปลูกผักสวนครัว อาทิเช่นผักกาดขาว คะน้า ผักบุ้ง ขึ้นฉ่าย ต้นหอม และกวางตุ้ง เน้นการปลูกแบบธรรมชาติ ปลอดภัยไร้สารเคมี โดยใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพเพื่อลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิต สามารถสร้างรายได้แก่ครัวเรือนได้ ทำให้ความเป็นอยู่ของแต่ละครัวเรือนหรือในชุมชนดีขึ้น

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1. การประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดินและการจัดการ
2. การผลิตและใช้ปุ๋ยอินทรีย์เพื่อลดต้นทุนการผลิต
3. เทคนิคการลดต้นทุนการผลิตผัก

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ๒.๑ เพื่อเพิ่มเติมความรู้ประสบการณ์ตรงแก่นักศึกษาในการค้นคว้า วิเคราะห์ ประมวลผล และสังเคราะห์ ในการปลูกผักปลอดสารพิษเสริมรายได้ ให้แก่ประชาชนตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา ๒.๒ เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการผลิตและการจัดการการปลูกผักปลอดสารพิษเสริมรายได้ โดยการมีส่วนร่วม จนสามารถพัฒนาเป็นอาชีพเสริมเพิ่มรายได้แก้ปัญหาความยากจนแก่ชุมชนได้ ๒.๓ เพื่อสร้างความมีจิตอาสา ความรักสามัคคีในหมู่คณะให้แก่นักศึกษา ๒.๔ เพื่อให้นักศึกษาได้รับทราบแนวทางการปฏิบัติงานและการประกอบอาชีพในอนาคต
  • เชิงปริมาณมีนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
  • เชิงคุณภาพนักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และประสบการณ์เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษเสริมรายได้ ให้แก่ประชาชนตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา (ประเมินจากการเข้าร่วมโครงการของนักศึกษา) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
  • เชิงเวลา สามารถดำเนินงานโครงการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
นักศึกษาคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขล 8

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การบรรยาย การสาธิต ให้ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดการเรียนรู้แบบการมีส่วนร่วมในการปลูกผักปลอดสารพิษเสริมรายได้

ชื่อกิจกรรม
การบรรยาย การสาธิต ให้ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดการเรียนรู้แบบการมีส่วนร่วมในการปลูกผักปลอดสารพิษเสริมรายได้
วัตถุประสงค์
  1. ๒.๑ เพื่อเพิ่มเติมความรู้ประสบการณ์ตรงแก่นักศึกษาในการค้นคว้า วิเคราะห์ ประมวลผล และสังเคราะห์ ในการปลูกผักปลอดสารพิษเสริมรายได้ ให้แก่ประชาชนตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา ๒.๒ เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการผลิตและการจัดการการปลูกผักปลอดสารพิษเสริมรายได้ โดยการมีส่วนร่วม จนสามารถพัฒนาเป็นอาชีพเสริมเพิ่มรายได้แก้ปัญหาความยากจนแก่ชุมชนได้ ๒.๓ เพื่อสร้างความมีจิตอาสา ความรักสามัคคีในหมู่คณะให้แก่นักศึกษา ๒.๔ เพื่อให้นักศึกษาได้รับทราบแนวทางการปฏิบัติงานและการประกอบอาชีพในอนาคต
รายละเอียดกิจกรรม
วิธีการดำเนินงาน
ต้นทาง
1. การบรรยาย การสาธิต ให้ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดการเรียนรู้แบบการมีส่วนร่วมในการปลูกผักปลอดสารพิษเสริมรายได้
2. การวางแผนการการจัดการความอุดมสมบูรณ์ของดินโดยใช้ปุ๋ยอินทรีย์ การจัดการแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธี การทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย และติดต่อตลาดในการจำหน่ายสินค้า
กลางทาง
3. การผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง
4. การเตรียมแปลงปลูก/โรงเรือน ในการปลูกผักปลอดสารพิษ
5. การดูแลรักษา และการป้องกันกำจัดศัตรูพืช
6. การเก็บเกี่ยว และการบรรจุผักเพื่อจำหน่าย
7. การลงพื้นที่ให้คำปรึกษาเชิงลึก
ปลายทาง
1. การติดตามความก้าวหน้าของกลุ่มตัวอย่างและการประเมินผลการผลิต
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2562 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
๓.๑ เป้าหมายเชิงผลผลิต (Output)
นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และประสบการณ์ตรงเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษเสริมรายได้ แก้ปัญหาความยากจนให้แก่ประชาชนตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
๓.๒ เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ (Outcome)
เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ ความเข้าใจ และประสบการณ์ตรงที่เกี่ยวข้องกับการปลูกผักปลอดสารพิษเสริมรายได้ ให้แก่ประชาชน และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการประกอบอาชีพได้
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
- เทศบาลตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
- สถานีพัฒนาที่ดิน อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าเช่ารถ

ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง (กรณีรถราชการไม่สามารถให้บริการได้ ขอเบิกเป็นค่าเช่าเหมารถแทน จำนวน ๑ คัน/วันๆ ละ ๒,5๐๐ บาท*จำนวน ๖ วัน)

1 ครั้ง 16,800 1 16,800
อื่น ๆ

ค่าวิเคราะห์ตัวอย่างดินและพืช จำนวน 10 ตัวอย่างๆ ละ 5,000

10 ครั้ง 5,000 1 50,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าวัสดุสำนักงาน

1 ครั้ง 15,000 1 15,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

วัสดุประกอบการทำโครงการ (วัสดุเกษตร วัสดุงานบ้านงานครัว ฯลฯ)

1 ครั้ง 100,000 1 100,000
รวมค่าใช้จ่าย 181,800

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 181,800.00 บาท

ค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 16,800.00 115,000.00 50,000.00 181,800.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 9.24% 63.26% 27.50% 100.00%

11. งบประมาณ

181.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) ชุมชนที่ประสบปัญหาความยากจน/รายได้ต่ำ จำนวน 1 ชุมชน นักศึกษาคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 8 คน
ผลลัพธ์ (Outcome) ชุมชนมีรายได้เสริม จำนวน 1 ชุมชน นักศึกษาคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 8 คน ได้ใช้ความรู้ความสามารถพัฒนาชุมชนท้องถิ่น
ผลกระทบ (Impact) ชุมชนได้รับการพัฒนา นักศึกษาจบเป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพ ตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย
นำเข้าสู่ระบบโดย SongkhlaRajabhat SongkhlaRajabhat เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 23:27 น.