การพัฒนาศักยภาพการยกระดับผลิตภัณฑ์และการสนับสนุนการเข้าถึงแหล่งเงินทุนของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP จังหวัดเชียงใหม่ โดยประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP : แผนธุรกิจ

แบบเสนอโครงการ
การพัฒนาศักยภาพการยกระดับผลิตภัณฑ์และการสนับสนุนการเข้าถึงแหล่งเงินทุนของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP จังหวัดเชียงใหม่ โดยประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP : แผนธุรกิจ

1. ชื่อโครงการ

การพัฒนาศักยภาพการยกระดับผลิตภัณฑ์และการสนับสนุนการเข้าถึงแหล่งเงินทุนของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP จังหวัดเชียงใหม่ โดยประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP : แผนธุรกิจมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่/วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น/วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่1. ดร. เจษฏา ช.เจริญยิ่ง ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจชนากลางและขนาดเล็กแห่งประเทศไทย (ธพว.)2. นางจุฑามาศ นวลพริ้ง ผู้อำนวยการอาวุโส ฝ่ายตรวจสอบภายใน ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจชนากลางและขนาดเล็กแห่งประเทศไทย (ธพว.)3. ผศ. ดร. กมลทิทย์ คำใส วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่4. ผศ.ดร. พรทิพย์ ชุ่มเมืองปัก คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ5. หน่วยงานพัฒนาชุมชนหอการค้าจังหวัด6. กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพ กลุ่มสินค้า OTOP จังหวัดเชียงใหม่7. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจชนากลางและขนาดเล็กแห่งประเทศไทย (ธพว.) จังหวัด8. ธนาคารออมสินจังหวัดกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพ กลุ่มสินค้า OTOP จังหวัดเชียงใหม่อาจารย์เบญญาภา กันทะวงศ์วาร/ ดร. รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร / ดร. ภาคภูมิ ภาควิภาส/ ดร. กัญญาการณ์ ไซเออร์/ เบญญาภา กันทะวงศ์วาร/ผศ. ดร. กมลทิทย์ คำใส/ดร. สุธีมนต์ ทรงศิริโรจน์/ผศ.ดร. พรทิพย์ ชุ่มเมืองปัก/ผศ.ดร. พรทิพย์ ชุ่มเมืองปัก/ดร. สาลินีชัยวัฒนพร/ดร.สุพจน์อาวาสอาจารย์เบญญาภา กันทะวงศ์วาร/ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่ ถนนห้วยแก้ว ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50300ดร. รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร/คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น เลขที่ 888 หมู่ 2 ตำบลหนองบัวใต้ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 63000/ ดร.ภาคภูมิ ภัควิภาส/ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่ ถนนห้วยแก้ว ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50300/ ดร.กัญญกาญจน์ไซเออร์ส/คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่นที่อยู่ 150 ถ.ศรีจันทร์ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40000/ อาจารย์เบญญาภา กันทะวงศ์วาร/คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่ ถนนห้วยแก้ว ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50300/ ผศ. ดร. กมลทิทย์ คำใส /วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่/หาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ 202 ถ.โชตนา ต.ช้างเผือก อำเภอ เมืองเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50300/ อาจารย์ จักรพันธ์ วงศ์ฤกษ์ดี /คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก 41 หมู่ 7 ถนนพหลโยธิน ตำบลไม้งาม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 63000/ ผศ.ดร. พรทิพย์ ชุ่มเมืองปัก /คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 1518 ถนนประชาราษฎร์ 1 แขวงวงศ์สว่าง เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร 10800/8. ดร.สุธีมนต์ ทรงศิริโรจน์/ รองประธานศูนย์การถ่ายทอดองค์ความรู้ ภูมิปัญญานวัตกรรมชุมชน/350 หมู่ 6 ตำบลแม่เหียะ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50100/ ดร. สาลินีชัยวัฒนพร/ รองประธานศูนย์การถ่ายทอดองค์ความรู้ ภูมิปัญญานวัตกรรมชุมชน/350 หมู่ 6 ตำบลแม่เหียะ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50100/ ดร.สุพจน์อาวาส /รองประธานศูนย์การถ่ายทอดองค์ความรู้ ภูมิปัญญานวัตกรรมชุมชน/350 หมู่ 6 ตำบลแม่เหียะ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50100ดร.รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น เลขที่ 888 หมู่ 2 ตำบลหนองบัวใต้ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 63000/e-mail: tok2029@gmail.com/อาจารย์เบญญาภา กันทะวงศ์วาร/ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่ ถนนห้วยแก้ว ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 503001. ธนาคารออมสินจังหวัด จำนวน 2 คน
2. นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มทร.ชม จำนวน15 คน/
3. หน่วยงานพัฒนาชุมชนจังหวัด จำนวน3 คน/
4. กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพ กลุ่มสินค้า OTOP จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 50 กลุ่ม/
5. Sme Bank (ธพว.) จังหวัด จำนวน 5 คน/

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
เชียงใหม่ เมืองเชียงใหม่ สุเทพ
เชียงใหม่ เมืองเชียงใหม่ ในเมือง
เชียงใหม่ เมืองเชียงใหม่ สุเทพ ชานเมือง
เชียงใหม่ เมืองเชียงใหม่ สันผีเสื้อ ชานเมือง

3. รายละเอียดชุมชน

การพัฒนาวิสาหกิจชุมชนให้มีความเจริญก้าวหน้าและยั่งยืนเพื่อ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจของชุมชนนั้น ทางเลือกหนึ่งคือเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ซึ่งเป็น ปัจจัยในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจชุมชนได้ ซึ่งกลไกในการขับเคลื่อน เศรษฐกิจสร้างสรรค์ประกอบด้วย ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ ภาคประชาสังคม และภาคประชาชน การดำเนินการวิสาหกิจชุมชนสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์จำเป็นต้องใช้กลยุทธ์ที่เหมาะสมกับบริบทและผลิตภัณฑ์ ซึ่งจะท าให้องค์กรธุรกิจประสบความสำเร็จกลยุทธ์เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (creative economy strategies) เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าซึ่งจะส่งผลให้องค์กรธุรกิจประสบความสำเร็จ กลยุทธ์การสร้างความแตกต่างของผลิตภัณฑ์ (product differentiation strategy) กลยุทธ์การเป็นพันธมิตร (alliances strategy) กลยุทธ์ด้านนวัตกรรม (innovation strategy)๑๐ การเรียนรู้นวัตกรรมต้องมีการวิจัยและพัฒนาให้ได้มาซึ่งสิทธิบัตรใหม่ และผู้บริหารองค์กรควรให้พนักงานได้รับการฝึกอบรมเพื่อเรียนรู้นวัตกรรมใหม่ๆ และกลยุทธ์การตลาด (marketing strategy) การบริหารและการดำเนินการทางกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP ได้เข้ามามีบทบาทสำคัญในการประกอบธุรกิจในปัจจุบัน เนื่องจากโอกาสที่ได้จากทรัพยากรสำคัญที่สร้างความได้เปรียบเปรียบทางการแข่งขันให้กับองค์การ ถ้าธุรกิจใดมีข้อมูลและศักยภาพย่อมสร้างโอกาสที่องค์การจะประสบความสำเร็จในการดำเนินงาน โดยธุรกิจต้องมีข้อมูลและโอกาสที่เหมาะสมกับการบริหาร สามารถใช้ความได้เปรียบทางธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ และตรงกับลักษณะของสภาวการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน โดยเฉพาะประเทศไทยถือเป็นภูมิภาคที่มีความพร้อมในด้านต่างๆ อาทิ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ศักยภาพทางการเงิน และการเจริญเติบโตด้านการท่องเที่ยวของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP แต่กลับไม่มีการขยายธุรกิจและเพิ่มความได้เปรียบในการแข่งขันธุรกิจ ซึ่งการบริหารความได้เปรียบยังคงให้ความสำคัญเรื่องของการประเมินศักยภาพธุรกิจ การสร้างการลงทุนด้วยต้นทุนต่ำ การสร้างแผนธุรกิจเพื่อเป็นแนวทางการขยายธุรกิจ การปรับปรุงธุรกิจ การสร้างกลยุทธ์หรือการบริหารธุรกิจในด้านการตลาด ทรัพยากรมนุษย์ ด้านการเงินและบัญชี ซึ่งต้องสนับสนุนผู้ประกอบการให้มีความรู้หรือสร้างระบบกระบวนการที่ง่ายและสามารถใช้ในการบริหารจัดการได้ทันต่อเวลาและสามารถใช้เอกสารต่างๆ เพื่อเป็นการเข้าถึงแหล่งเงินทุนต้นทุนต่ำของสถาบันการเงินในประเทศไทยหรือตามการสนับสนุนของภาครัฐ ดังนั้นความสำคัญกับแผนธุรกิจที่จะใช้ประกอบการขอกู้เงินจากสถาบันการเงินที่เป็นกฏระเบียบของการกู้เงิน เพื่อให้ลดความเสี่ยงของผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง โดยเริ่มจากการประเมินศักยภาพธุรกิจ สภาพแวดล้อม เพื่อนำสู่การวางแผนกลยุทธ์ด้านต่างๆ ขั้นตอนต่อมาคือการจัดทำแผนธุรกิจที่เป็นส่วนสำคัญต่อผู้ประกอบการ ซึ่งสามารถจะแสดงการวางแผน การควบคุม การจัดการองค์การ การตลาด การเงิน การบัญชีและทรัพยากรมนุษย์ที่จะทำให้เกิดความยั่งยืนต่อไป แต่การเปลี่ยนแปลงของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP ที่ไม่สามารถที่จะดำเนินการเขียนแผนจากการที่ไม่มีความรู้ และไม่สามารถจัดทำแผนธุรกิจได้นั้น เป็นผลเสียที่ทำให้ผู้ประกอบการเสียผลประโยชน์ของการเข้าหาแหล่งเงินทุนต้นทุนต่ำตามนโยบายการส่งเสริมของภาครัฐ รวมถึงไม่สามารถบริหารจัดการธุรกิจได้อย่างยั่งยืนเพื่อลดความเสี่ยงในการลงทุน จากบริดังกล่าวข้างต้นคณะผู้วิจัยจึงได้รวมการจัดทำแผนธุรกิจในรูปของเวปไซด์ออนไลน์ เพื่อลดขั้นตอนต่างๆ เพื่อให้ผู้ประกอบการมีกระบวนการการประเมินศักยภาพของธุรกิจสู่การเขียนแผนธุรกิจเป็นการสร้างโอกาสให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP ที่จะสามารถบริหารจัดการธุรกิจให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สำหรับประเทศให้สามารถขยายความรู้และต่อยอดการพัฒนาธุรกิจดังกล่าวได้อย่างกว้างขวางมากยิ่งขึ้น รวมทั้งมีส่วนช่วยให้กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP มีการพัฒนาเติบโตและรู้ถึงความสำคัญของแผนธุรกิจ ตามโครงการการสนับสนุนของภาครัฐและเอกชน เพื่อการดำเนินการที่ดีและเริ่มต้นที่ดีรวมถึงต่อยอดถึงผู้สืบทอดกิจการต่อไปในอนาคตตามที่กระทรวงการคลัง ร่วมกับ กระทรวงอุตสาหกรรม เสนอมาตรการเพิ่มขีดความสามารถ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP จังหวัดเชียงใหม่โดยมีสาระสำคัญทางการเงินและมาตรการภาษีเพื่อแก้ไขปัญหาและอุปสรรคในการประกอบธุรกิจของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP จังหวัดเชียงใหม่ใน 3 ด้าน ได้แก่การยกระดับผลิตภาพการผลิต (Productivity)การสนับสนุนการเข้าถึงแหล่งเงินทุน และการลดภาระต้นทุนจากค่าแรงที่เพิ่มขึ้น โดยได้นำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาและได้รับความเห็นชอบตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 24 เมษายน 2555 ภายใต้มาตรการเพิ่มขีดความสามารถกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP จังหวัดเชียงใหม่โดยมีวัตถุประสงค์ให้ความช่วยเหลือด้านการเงินแก่ผู้ประกอบการ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP จังหวัดเชียงใหม่ ในการเตรียมความพร้อมสู่การแข่งขันในตลาดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) และลดผลกระทบจากนโยบายการขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ 300 บาท ตลอดจนช่วยเหลือผู้ประกอบการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP จังหวัดเชียงใหม่ ให้สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้มากยิ่งขึ้น พร้อมทั้งส่งเสริมให้ผู้ประกอบการมีความสามารถยกระดับผลิตภาพเพิ่มขึ้นและมีฐานธุรกิจที่เข้มแข็งมั่นคง ส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศเมื่อพิจารณาในระดับหน่วยย่อยของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP ยังประสบปัญหาปัญหาที่สำคัญสามารถที่จะแบ่งได้ 4 ประเด็น ดังนี้ 1.) มุ่งเน้นที่จะสร้างยุทธศาสตร์การค้าที่อาศัยความได้เปรียบทางการแข่งขัน 2) การขาดการวางแผนกลยุทธ์ในระยะยาวขององค์การ ในการที่จะเพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัวขององค์การ ขาดทักษะในการวิเคราะห์ปัจจัยต่างๆ 3.) ไม่มีการบริหารความได้เปรียบทางการแข่งขัน โดยไม่ได้วิเคราะห์ข้อดี ข้อเสีย โอกาส อุปสรรค ในการประกอบธุรกิจ และไม่ได้มีการวางแผนอย่างชัดเจนเป็นรูปธรรม และการช่วยเหลือในเชิงนโยบายจากภาครัฐที่มีต่อกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP และ 4.) กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP ส่วนใหญ่ไม่เห็นความสำคัญหรือไม่ทราบถึงแนวทางในการบูรณาการองค์ความรู้ในการจัดการความได้เปรียบทางการแข่งขันของธุรกิจในสินค้าและบริการของตัวเอง 5.) ธุรกิจควรมีแผนธุรกิจเป็นแนวทางในการพัฒนาธุรกิจและลดความเสี่ยงต่อธุรกิจหรือเป็นการหาแหล่งทุนต่ำในการลงทุนของธุรกิจ ซึ่งมีเหตุผลบางประการที่ส่งผลต่อศักยภาพการด าเนินงานของวิสาหกิจชุมชนในเขตจังหวัดภาคเหนือตอนล่างไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินศักยภาพวิสาหกิจชุมชนและการเข้าถึงแหล่งทุนเพื่อเพิ่มการผลิตและการพัฒนาสู่การตลาดดิจิทัลความสำคัญกับแผนธุรกิจที่จะใช้ประกอบการขอกู้เงินจากสถาบันการเงินที่เป็นกฏระเบียบของการกู้เงิน เพื่อให้ลดความเสี่ยงของผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง โดยเริ่มจากการประเมินศักยภาพธุรกิจ สภาพแวดล้อม เพื่อนำสู่การวางแผนกลยุทธ์ด้านต่างๆ ขั้นตอนต่อมาคือการจัดทำแผนธุรกิจที่เป็นส่วนสำคัญต่อผู้ประกอบการ ซึ่งสามารถจะแสดงการวางแผน การควบคุม การจัดการองค์การ การตลาด การเงิน การบัญชีและทรัพยากรมนุษย์ที่จะทำให้เกิดความยั่งยืนต่อไป แต่การเปลี่ยนแปลงของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP ที่ไม่สามารถที่จะดำเนินการเขียนแผนจากการที่ไม่มีความรู้ และไม่สามารถจัดทำแผนธุรกิจได้นั้น เป็นผลเสียที่ทำให้ผู้ประกอบการเสียผลประโยชน์ของการเข้าหาแหล่งเงินทุนต้นทุนต่ำตามนโยบายการส่งเสริมของภาครัฐ รวมถึงไม่สามารถบริหารจัดการธุรกิจได้อย่างยั่งยืนเพื่อลดความเสี่ยงในการลงทุน จากบริดังกล่าวข้างต้นคณะผู้วิจัยจึงได้รวมการจัดทำแผนธุรกิจในรูปของเวปไซด์ออนไลน์ เพื่อลดขั้นตอนต่างๆ เพื่อให้ผู้ประกอบการมีกระบวนการการประเมินศักยภาพของธุรกิจสู่การเขียนแผนธุรกิจเป็นการสร้างโอกาสให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP ที่จะสามารถบริหารจัดการธุรกิจให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สำหรับประเทศให้สามารถขยายความรู้และต่อยอดการพัฒนาธุรกิจดังกล่าวได้อย่างกว้างขวางมากยิ่งขึ้น รวมทั้งมีส่วนช่วยให้กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP มีการพัฒนาเติบโตและรู้ถึงความสำคัญของแผนธุรกิจ ตามโครงการการสนับสนุนของภาครัฐและเอกชน เพื่อการดำเนินการที่ดีและเริ่มต้นที่ดีรวมถึงต่อยอดถึงผู้สืบทอดกิจการต่อไปในอนาคต

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

คณะผู้จัดทำโครงการได้รับทุนและโครงการวิจัยฯ นี้เป็นการพัฒนาย่อยอดจาก “โครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาผลิตภาพการผลิต (Productivity Improvement Loan)” ของธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธพว.) ที่คณะผู้วิจัยได้รับอนุมัติให้เป็นผู้ดำเนินการโครงการฯ ดังกล่าว จำนวนงบประมาณ 36 ล้านนาบาท เลขที่สัญญา รพ.ปน.01/2558, รพ.ปน. 02/2558, รพ.ปน. 03/2558, รพ.ปน. 06/2558ในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนบน ภาคเหนือตอนล่าง ภาคใต้ตอนบน ภาคอีสานตอนบน จำนวนลูกค้าทั้งสิ้นจำนวน 3,000 ราย ในปี 2558 ซึ่งกำหนดให้มีขั้นตอนในการจ้างผู้เชี่ยวชาญเพื่อให้คำปรึกษาแนะนำ หรืออบรมเพื่อเพิ่มผลิตภาพ รวมถึงติดตามผลภายหลังจากการได้รับอนุมัติสินเชื่อเพื่อพัฒนาผลิตภาพการผลิตแก่ลูกค้าที่เข้าร่วมโครงการทุกราย เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์จุดมุ่งหมายของโครงการสินเชื่อ โดยผลการดำเนินการดังกล่าวทำให้คณะผู้วิจัยเห็นปัญหาหลายปัญหาของผู้ประกอบการและหาแนวทางพัฒนาและลดความเสี่ยงให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จึงเกิดการวิจัยทั้งสองโครงการฯ เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องและพัฒนาเทคโนโลยีระบบสารสนเทศต่างๆ เพื่อให้ทันต่อการตัดสินใจของผู้ประกอบการฯ เพื่อให้เกิดศักยภาพและการดำเนินงานที่ยั่งยืนของ SMEs โครงการที่เคยได้รับทุนจากฝ่ายวิชาการ สกว.: ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ: แผนธุรกิจ
ผลสำเร็จและความคุ้มค่าของการวิจัยตามแผนการบริหารงานและแผนการดำเนินงานตลอดโครงการ สามารถเป็นผลสำเร็จตามเป้าประสงค์ (Goal results) โดยเป็นผลสำเร็จตามเป้าประสงค์ที่สามารถก่อให้เกิดศักยภาพและมีแนวทางการในการทำให้เกิดผลกระทบต่อสังคม ชุมน วัฒนธรรมที่มีสามารถทำให้อนุรักณ์ต่อยอดงานวิจัยสู่เชิงพาณิชย์ ดังนี้
1. การระบบการประเมินศักยภาพของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP แนวทางการพัฒนาและการส่งเสริมให้กลุ่มเกิดความยั่งยืนและต่อยอดขยายผลในระดับมหภาคและการดำเนินงานที่สมดุล
3. การพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการขอสินเชื่อ การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการลงทุน (Feasibility Study) ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP
2. ตัวแบบในการการถ่ายทอดกระบวนการพัฒนาศักยภาพ ด้านการจัดการ ด้านการตลาด ด้านการผลิต ด้านทรัพยากรมนุษย์และด้านการเงิน การบัญชีของผู้ประกอบการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOPพื้นที่ชุมชนและสร้างกลยุทธ์เพื่อให้เกิดการต่อยอดให้กับชุมชนกลุ่มอื่นๆ ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ในประเทศไทย

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ถ่ายทอดและฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อการผู้ประกอบการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP /เก็บข้อมูล ประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล การประเมินศักยภาพของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP โดยประยุกต์ด้วยระบบสารสนเทศเพื่อการประเมินศักยภาพของผู้ประกอบการ (SME )เพื่อแนวทางการพัฒนาศักยภาพในด้านการจัดการ ด้านการตลาด ด้านการผลิต ด้านทรัพยากรมนุษย์และด้านการเงิน การบัญชีของผู้ประกอบการ (SMEs)

1.ผลประเมินประเมินศักยภาพของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP 2. แนวทางการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP ในด้านการจัดการ ด้านการตลาด ด้านการผลิต ด้านทรัพยากรมนุษย์และด้านการเงิน การบัญชีของผู้ประกอบการ (SMEs) รายกลุ่ม

4.00 1.00
2 การถ่ายทอดระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจของธุรกิจ SMEs : แผนธุรกิจ เพื่อเพิ่มศักยภาพของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP สู่แหล่งเงินทุนต้นทุนต่ำ
  1. แผนธุรกิจกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP
  2. การประเมินความพึงพอใจระบบสารสนเทศฯ
4.00 1.00
3 การประเมินและพัฒนาแผนธุรกิจของผู้ประกอบการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP เพื่อมีคุณภาพและมาตราฐานที่เกี่ยวข้องสู่สถาบันการเงิน
  1. องค์ความรู้ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ
  2. แผนธุรกิจของผู้ประกอบกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP ที่มีคุณภาพและมาตราฐานที่เกี่ยวข้องกับสถาบันการเงินหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและการบริหารธุรกิจ
3.00 1.00
4 การประเมินและพัฒนาแผนธุรกิจของผู้ประกอบการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP เพื่อมีคุณภาพและมาตราฐานที่เกี่ยวข้องสู่สถาบันการเงิน
  1. องค์ความรู้ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ
  2. แผนธุรกิจของผู้ประกอบกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP ที่มีคุณภาพและมาตราฐานที่เกี่ยวข้องกับสถาบันการเงินหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและการบริหารธุรกิจ
3.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
Sme Bank (ธพว.) จังหวัด 5
กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพ กลุ่มสินค้า OTOP จัง 50
ธนาคารออมสินจังหวัด 5
นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจฯ มทร.ชม. 10
หน่วยงานพัฒนาชุมชนจังหวัด 5
อาจารย์คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น 2
อาจารย์คณะบริหารธุรกิจฯ มทร.ชม 5

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 ถ่ายทอดและฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อการผู้ประกอบการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP /เก็บข้อมูล ประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล การประเมินศักยภาพของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP โดยประยุกต์ด้วยระบบสารสนเทศเพื่อการประเมินศักยภ

ชื่อกิจกรรม
ถ่ายทอดและฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อการผู้ประกอบการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP /เก็บข้อมูล ประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล การประเมินศักยภาพของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP โดยประยุกต์ด้วยระบบสารสนเทศเพื่อการประเมินศักยภ
วัตถุประสงค์
  1. ถ่ายทอดและฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อการผู้ประกอบการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP /เก็บข้อมูล ประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล การประเมินศักยภาพของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP โดยประยุกต์ด้วยระบบสารสนเทศเพื่อการประเมินศักยภาพของผู้ประกอบการ (SME )เพื่อแนวทางการพัฒนาศักยภาพในด้านการจัดการ ด้านการตลาด ด้านการผลิต ด้านทรัพยากรมนุษย์และด้านการเงิน การบัญชีของผู้ประกอบการ (SMEs)
  2. การถ่ายทอดระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจของธุรกิจ SMEs : แผนธุรกิจ เพื่อเพิ่มศักยภาพของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP สู่แหล่งเงินทุนต้นทุนต่ำ
  3. การประเมินและพัฒนาแผนธุรกิจของผู้ประกอบการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP เพื่อมีคุณภาพและมาตราฐานที่เกี่ยวข้องสู่สถาบันการเงิน
  4. การประเมินและพัฒนาแผนธุรกิจของผู้ประกอบการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP เพื่อมีคุณภาพและมาตราฐานที่เกี่ยวข้องสู่สถาบันการเงิน
รายละเอียดกิจกรรม
1. เวทีการวิจัยเพื่อชี้แจงทำความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับการดำเนินโครงการเพื่อวางแผนการทำงานร่วมกันระหว่างทีมกรรมการโครงการ/ทีมพี่เลี้ยง/นักศึกษา
2. ทำการศึกษาเทคโนโลยีที่ระบุไว้อย่างถี่ถ้วน และทำการวิเคราะห์ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย (stake holders) ในแต่ละเทคโนโลยีที่ทำการศึกษาและทำการประสานงานเบื้องต้นกับเครือข่ายสถาบันการเงิน ผู้ประกอบการและผู้เชี่ยวชาญเพื่อที่ขอความร่วมมือในการให้ความร่วมมือในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการดำเนินงานโครงการ
4. การประเมินศักยภาพผู้ประกอบการกลุ่มฯ ด้วยระบบสารสนเทศฯ โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับการถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีการจัดทำแผนธุรกิจ ได้แก่ ลักษณะที่สำคัญของธุรกิจ แผนธุรกิจ การจัดทำบัญชี ประโยชน์และโอกาสทางธุรกิจ การจัดการธุรกิจ เป็นต้น และให้เครือข่ายเป็นผู้บรรยายและให้ข้อมูลเกี่ยวกับการสินเชื่อและนโบยายการวิเคราะห์สินเชื่อ
5. จัดทำการถ่ายการเรียนรู้ด้านการใช้เทคโนโลยีและเปิดเวทีการถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ เพื่อให้ได้แผนธุรกิจที่ตรงตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
6. ทำการประเมินความพึงพอใจระบบสารสนเทศฯ เพื่อนำผลที่ได้ไปพัฒนาระบบต่อไป
ระยะเวลาดำเนินงาน
2 ธันวาคม 2562 ถึง 31 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1.ผลประเมินประเมินศักยภาพของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP
2. แนวทางการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP ในด้านการจัดการ ด้านการตลาด ด้านการผลิต ด้านทรัพยากรมนุษย์และด้านการเงิน การบัญชีของผู้ประกอบการ (SMEs) รายกลุ่ม
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 ครั้ง 20,000 1 40,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน 2 ครั้ง 6,000 1 12,000
ค่าอาหาร 2 ครั้ง 15,000 1 30,000
ค่าที่พักตามจริง 2 ครั้ง 10,000 1 20,000
ค่าถ่ายเอกสาร 2 ครั้ง 10,000 1 20,000
ค่าเช่าสถานที่ 2 ครั้ง 10,000 1 20,000
ค่าเช่ารถ 2 ครั้ง 4,000 1 8,000
รวมค่าใช้จ่าย 150,000

กิจกรรมที่ 2 การประเมินและพัฒนาแผนธุรกิจของผู้ประกอบการธุรกิจ SMEs เพื่อมีคุณภาพและมาตราฐานที่เกี่ยวข้อง

ชื่อกิจกรรม
การประเมินและพัฒนาแผนธุรกิจของผู้ประกอบการธุรกิจ SMEs เพื่อมีคุณภาพและมาตราฐานที่เกี่ยวข้อง
วัตถุประสงค์
  1. ถ่ายทอดและฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อการผู้ประกอบการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP /เก็บข้อมูล ประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล การประเมินศักยภาพของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP โดยประยุกต์ด้วยระบบสารสนเทศเพื่อการประเมินศักยภาพของผู้ประกอบการ (SME )เพื่อแนวทางการพัฒนาศักยภาพในด้านการจัดการ ด้านการตลาด ด้านการผลิต ด้านทรัพยากรมนุษย์และด้านการเงิน การบัญชีของผู้ประกอบการ (SMEs)
  2. การถ่ายทอดระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจของธุรกิจ SMEs : แผนธุรกิจ เพื่อเพิ่มศักยภาพของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP สู่แหล่งเงินทุนต้นทุนต่ำ
  3. การประเมินและพัฒนาแผนธุรกิจของผู้ประกอบการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP เพื่อมีคุณภาพและมาตราฐานที่เกี่ยวข้องสู่สถาบันการเงิน
  4. การประเมินและพัฒนาแผนธุรกิจของผู้ประกอบการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP เพื่อมีคุณภาพและมาตราฐานที่เกี่ยวข้องสู่สถาบันการเงิน
รายละเอียดกิจกรรม
1. ประเมินองค์ความรู้เทคโนโลยีฯ โดยผู้เชี่ยวชาญและทำการแนะนำแก้ไขแผนธุรกิจไปยังผู้ประกอบการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP เพื่อทำให้แผนธุรกิจมีความน่าเชื่อถือและมาตราฐาน
2. การให้คำแนะนำในการแก้ไขกับผู้ประกอบการที่ได้ดำเนินการโดยผู้ประกอบการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP ที่เข้าร่วมโครงการ โดยมีการให้คำปรึกษาและตรวจปรับแก้ไขอย่างต่อเนื่อง
3. วิเคราะห์คุณภาพของแผนธุรกิจกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP ที่ได้
4. ถ่ายทอดความรู้การรักษาคุณภาพของแผนธุรกิจให้ตามมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง
5. การตรวจสอบและรับรองคุณภาพแผนธุรกิจ เพื่อวิเคราะห์คุณภาพแผนธุรกิจกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP
6. สรุปผลการดำเนินการประเมินและนำเสนอแผนธุรกิจต่อสถาบันการเงินที่เกี่ยวข้องที่จะได้ให้ผู้ประกอบการเข้าถึงแหล่งเงินทุนตามโครงการต่างๆ ได้
ระยะเวลาดำเนินงาน
6 มกราคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. แผนธุรกิจกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP
2. การประเมินความพึงพอใจระบบสารสนเทศฯ
3. องค์ความรู้ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ
4. แผนธุรกิจของผู้ประกอบกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP ที่มีคุณภาพและมาตราฐานที่เกี่ยวข้องกับสถาบันการเงินหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและการบริหารธุรกิจ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 4 ครั้ง 15,000 1 60,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน 4 ครั้ง 6,000 1 24,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารผู้เข้าร่วมและคณะดำเนินงานโครงการ

4 ครั้ง 20,000 1 80,000
ค่าเช่ารถ 4 ครั้ง 10,000 1 40,000
ค่าถ่ายเอกสาร 4 ครั้ง 10,000 1 40,000
ค่าที่พักตามจริง 4 ครั้ง 10,000 1 40,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 4 ครั้ง 2,500 1 10,000
อื่น ๆ

ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด

4 ครั้ง 4,000 1 16,000
ค่าเช่าสถานที่ 4 ครั้ง 10,000 1 40,000
รวมค่าใช้จ่าย 350,000

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 136,000.00 10,000.00 338,000.00 16,000.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 27.20% 2.00% 67.60% 3.20% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) 1.ผลประเมินประเมินศักยภาพของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP
2. แนวทางการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP ในด้านการจัดการ ด้านการตลาด ด้านการผลิต ด้านทรัพยากรมนุษย์และด้านการเงิน การบัญชีของผู้ประกอบการ (SMEs) รายกลุ่ม
3. แผนธุรกิจกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP
4. การประเมินความพึงพอใจระบบสารสนเทศฯ
5. องค์ความรู้ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ
6. แผนธุรกิจของผู้ประกอบกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP ที่มีคุณภาพและมาตราฐานที่เกี่ยวข้องกับสถาบันการเงินหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและการบริหารธุรกิจ
1. การคิด วิเคราะห์ การแก้ไขปัญหาชุมชนอย่างมีส่วนร่วม และกระบวนการชุมชนในการแก้ไขปัญหา สร้างให้เกิดการเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติในการประยุกต์ใช้ความรู้ ด้านการบริหารจัดการธุรกิจ การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ การบริหารจัดการกลุ่ม การสร้างความเข้มแข็งจากภูมิปัญหาของชุมชน และประยุกต์ใช้กับการบริการจัดการธุรกิจ เพื่อทีจะนำองค์ความรู้ที่ได้มาเป็นต้นแบบในการทำธุรกิจหรือการเป็นผู้ประกอบการที่มีประสิทธิภาพ และการสร้างเครือข่ายในการขยายงอค์ความรู้ต่อยอดไปในเชิงพาณิชย์
2. ได้องค์ความรู้ เทคนิค และแนวทางพัฒนากลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพ กลุ่ม OTOP เพื่อต่อยอดให้เกิดการยั่งยืนและให้ได้มาตรฐานที่เกี่ยวข้องในระดับสูงขึ้น
ผลลัพธ์ (Outcome) 1. แผนธุรกิจสามารถได้รับการสนับสนุนนโยบายของรัฐในการพัฒนาผู้ประกอบการ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพ กลุ่ม OTOP ให้มีศักยภาพและสามารถเข้าถึงแหล่งต้นทุนเงินทุนต่ำ และลดความเสี่ยงในการบริหารธุรกิจ รวมถึงมีแนวทางในการดำเนินธุรกิจเพื่อก่อให้เกิดความยั่งยืนของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพ กลุ่ม OTOP สร้างการกระจายรายได้สู่ท้องถิ่น และส่งเสริมการให้มีประสิทธิผลของประชาชนในการดำเนินธุรกิจที่จะพัฒนาประเทศชาติ
2. ยกระดับการแข่งขันของผู้ประกอบการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพ กลุ่ม OTOPที่สามารถขยายเป็นระดับอุตสาหกรรมด้วยการพัฒนาแผนธุรกิจที่มีแนวทางการพัฒนาธุรกิจที่ได้สร้างขึ้นตามบริบทของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพ กลุ่ม OTOP ที่จะก่อให้เกิดความมั่นคงทางเศรษฐกิจของชาติ
3. ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการมีองค์ความรู้และแผนธุรกิจที่จะส่งเสริมให้ผู้ประกอบการศักยภาพที่ดีขึ้น และการเผยแพร่ผลงานวิจัย โดยการถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชนหรือผู้ประกอบการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพ กลุ่ม OTOP
1. การคิด วิเคราะห์ การแก้ไขปัญหาชุมชนอย่างมีส่วนร่วม และกระบวนการชุมชนในการแก้ไขปัญหา สร้างให้เกิดการเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติในการประยุกต์ใช้ความรู้ ด้านการบริหารจัดการธุรกิจ การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ การบริหารจัดการกลุ่ม การสร้างความเข้มแข็งจากภูมิปัญหาของชุมชน และประยุกต์ใช้กับการบริการจัดการธุรกิจ เพื่อทีจะนำองค์ความรู้ที่ได้มาเป็นต้นแบบในการทำธุรกิจหรือการเป็นผู้ประกอบการที่มีประสิทธิภาพ และการสร้างเครือข่ายในการขยายงอค์ความรู้ต่อยอดไปในเชิงพาณิชย์
2. ได้องค์ความรู้ เทคนิค และแนวทางพัฒนากลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพ กลุ่ม OTOP เพื่อต่อยอดให้เกิดการยั่งยืนและให้ได้มาตรฐานที่เกี่ยวข้องในระดับสูงขึ้น
ผลกระทบ (Impact) 1. การสนับสนุนนโยบายของรัฐในการพัฒนาผู้ประกอบการ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพ กลุ่ม OTOP ให้มีศักยภาพและสามารถเข้าถึงแหล่งต้นทุนเงินทุนต่ำ
2. การลดความเสี่ยงในการบริหารธุรกิจ รวมถึงมีแนวทางในการดำเนินธุรกิจเพื่อก่อให้เกิดความยั่งยืนของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพ กลุ่ม OTOP สร้างการกระจายรายได้สู่ท้องถิ่น และส่งเสริมการให้มีประสิทธิผลของประชาชนในการดำเนินธุรกิจที่จะพัฒนาประเทศชาติ
3. แนวทางการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP
4. กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพและกลุ่มสินค้า OTOP ได้ต่อยอดการดำเนินการให้เกิดการยั่งยืนและให้ได้มาตรฐานที่เกี่ยวข้องในระดับสูงขึ้น
1. การคิด วิเคราะห์ การแก้ไขปัญหาชุมชนอย่างมีส่วนร่วม และกระบวนการชุมชนในการแก้ไขปัญหา สร้างให้เกิดการเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติในการประยุกต์ใช้ความรู้ ด้านการบริหารจัดการธุรกิจ การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ การบริหารจัดการกลุ่ม การสร้างความเข้มแข็งจากภูมิปัญหาของชุมชน และประยุกต์ใช้กับการบริการจัดการธุรกิจ เพื่อทีจะนำองค์ความรู้ที่ได้มาเป็นต้นแบบในการทำธุรกิจหรือการเป็นผู้ประกอบการที่มีประสิทธิภาพ และการสร้างเครือข่ายในการขยายงอค์ความรู้ต่อยอดไปในเชิงพาณิชย์
2. ได้องค์ความรู้ เทคนิค และแนวทางพัฒนากลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพ กลุ่ม OTOP เพื่อต่อยอดให้เกิดการยั่งยืนและให้ได้มาตรฐานที่เกี่ยวข้องในระดับสูงขึ้น
นำเข้าสู่ระบบโดย tok2029 tok2029 เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 23:21 น.