โครงการสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจชุมชนโดยจัดการการขยะเชิงพานิชย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม*

แบบเสนอโครงการ
โครงการสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจชุมชนโดยจัดการการขยะเชิงพานิชย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม*

1. ชื่อโครงการ

โครงการสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจชุมชนโดยจัดการการขยะเชิงพานิชย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม*กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมสาขาปรัชญาสังคมและวัฒนธรรมองค์การบริหารส่วนตำบลยางตลาดอำเภอยางตลาดจังหวัดกาฬสินธุ์หมู่ที่ ๑๓-๑๔ บ้านฮองฮีตำบลยางตลาด โครงการสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจชุมชนโดยจัดการการขยะเชิงพานิชย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม*ดร.ชมนาถแปลงมาลย์สาขาปรัชญาสังคมและวัฒนธรรมคณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคามผศ.นุชนาถ มีนาสันติรักษ์ สาขาการจัดการและการบัญชี
ดร.กิตติชัย เจริญชัย สาขาการตลาด
ผศ.ดร.วรปภา สาขาเทคโนโลยีและสารสนเทศ
นายทินกร บุญราศรี ผู้อำนวยการกองสวัสดิการสังคม องค์การบริหารส่วนตำบลยางตลาด

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่

3. รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
๑.๑ ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลยางตลาด
๑.๑.๑ ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่
องค์การบริหารส่วนตำบลยางตลาดเป็นเขตการปกครองของอำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอยางตลาด และทิศตะวันออกของจังหวัดกาฬสินธุ์ ห่างจากตัวอำเภอยางตลาด ประมาณ ๒ กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดกาฬสินธุ์ ประมาณ ๑๖ กิโลเมตร เนื้อที่องค์การบริหารส่วนตำบลยางตลาด อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ มีพื้นที่ทั้งหมด ๒๑,๘๗๕ ไร่ ( ๑ ตารางกิโลเมตร เท่ากับ ๖๒๕ ไร่ ) สภาพโดยทั่วไปองค์การบริหารส่วนตำบลยางตลาด มีเขตติดต่อพื้นที่ตำบลใกล้เคียง ดังนี้
๑). ทิศเหนือ ติดเขตองค์การบริหารส่วนตำบลคลองขาม ตำบลดอนสมบูรณ์ อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์
๒). ทิศใต้ ติดเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหัวงัว/หนองอิเฒ่า อำเภอยางตลาดจังหวัดกาฬสินธุ์
๓). ทิศตะวันออก ติดเขตองค์การบริหารส่วนตำบลอุ่มเม่า/ทต.โคกศรี/อบต.หัวงัว อำเภอยางตลาดจังหวัดกาฬสินธุ์
๔). ทิศตะวันตก ติดเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหัวนาคำ อำเภอยางตลาด และตำบลศรีสุข/โคกพระ อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม
และสภาพภูมิประเทศองค์การบริหารส่วนตำบลยางตลาดเป็นที่ราบ มีระดับความสูงจาก
ระดับ น้ำทะเลปานกลาง ๑๔๐ – ๑๔๗ เมตร ลักษณะดิน จัดเป็นกลุ่มดินนา ประมาณร้อยละ ๙๐ ซึ่งเป็นดินชุดร้อยเอ็ดและกลุ่มดินไร่ ประมาณร้อยละ ๑๐ ของพื้นที่ตำบล เป็นดินชุดโคราช ตลอดจนมีแหล่งน้ำธรรมชาติ สภาพภูมิอากาศ มี ๓ ฤดู ดังนี้
๑). ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือน มีนาคม ถึงเดือน พฤษภาคม อากาศร้อน พื้นที่แห้งแล้ง
๒). ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือน มิถุนายน ถึงเดือน ตุลาคม ฝนตกชุก พื้นที่การเกษตรบางส่วนน้ำท่วมเนื่องจากน้ำในลำห้วยปลาหลดและบึกอร่ามมีปริมาณมาก
๓). ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือน พฤศจิกายน ถึงเดือน กุมภาพันธ์ อากาศหนาว พื้นที่แห้งแล้ง
ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลยางตลาด มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ มีพื้นที่ทั้งหมด ๒๑,๘๗๕ ไร่ ( ๑ ตารางกิโลเมตร เท่ากับ ๖๒๕ ไร่ ) ซึ่งแยกเป็น
๑). พื้นที่ทั้งหมดประมาณ ประมาณ ๒๖,๘๗๕ ไร่
๒). พื้นที่ทำกาเกษตร ประมาณ ๒๓,๑๙๔ ไร่
๓). พื้นที่แหล่งน้ำ ประมาณ ๒,๐๘๑ ไร่
๔). พื้นที่ดินสาธารณ/ อื่นๆ ประมาณ ๑,๖๐๐ ไร่
ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลยางตลาด มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ มีพื้นที่ทั้งหมด ๒๑,๘๗๕ ไร่ ( ๑ ตารางกิโลเมตร เท่ากับ ๖๒๕ ไร่ ) ซึ่งแยกเป็น
๑). พื้นที่ทั้งหมดประมาณ ประมาณ ๒๖,๘๗๕ ไร่
๒). พื้นที่ทำกาเกษตร ประมาณ ๒๓,๑๙๔ ไร่
๓). พื้นที่แหล่งน้ำ ประมาณ ๒,๐๘๑ ไร่
๔). พื้นที่ดินสาธารณ/ อื่นๆ ประมาณ ๑,๖๐๐ ไร่


หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลยางตลาด
๑).โรงแรม ๔ แห่ง
๒). ปั๊มน้ำมันขนาดใหญ่ ๒ แห่ง
โรงเรียนประถมศึกษา จำนวน 3 แห่ง เป็นของรัฐบาล ได้แก่
๑).โรงเรียนชุมชนดอนยูงวิทยาตั้งอยู่ในเขต บ้านดอนยูงหมู่ที่ ๑๗
๒).โรงเรียนหัวงัววิทยาคารตั้งอยู่ในเขต บ้านหัวงัวหมู่ที่ ๑๗
๓). โรงเรียนฮ่องฮีวิทยาตั้งอยู่ในเขต บ้านสว่างอารมณ์ หมู่ที่ ๑๑
ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน จำนวน ๑ แห่ง
๑). ตั้งอยู่ที่บ้านดอนยูง หมู่ที่ ๑๖
ศูนย์การเรียนรู้ประจำชุมชนประจำตำบล จำนวน ๑ แห่ง
๑). ตั้งอยู่ที่บ้านดอนยูง หมู่ที่ ๑๖
๒). ตั้งอยู่บ้านฮ่องฮี หมู่ที่ ๑๓
ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประถมศึกษา จำนวน ๕ แห่ง
๑). ศูนย์วัดชุมทางได้รับการถ่ายโอนจากกรมศาสนา ตั้งอยู่ในบ้านไทยเจริญ หมู่ที่ ๑๘
๒). ศูนย์วัดศรีนวลหัวงัว ได้รับการถ่ายโอนจากกรมศาสนา อยู่ในหัวงัว หมู่ที่ ๗
๓). ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านฮ่องฮีได้รับการถ่ายโอนจากกรมพัฒนาชุมชน ตั้งอยู่เขต บ้านฮ่องฮี หมู่ที่ ๑๔
๔). ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านดอนยูงน้อยได้รับการถ่ายโอนจากกรมพัฒนาชุมชน ตั้งอยู่เขต บ้านดอนยูงน้อย หมู่ที่ ๑๔
๕).ศูนย์วัดสว่างอุทัยดอนยูงทางได้รับการถ่ายโอนจากกรมศาสนา ตั้งอยู่ในบ้านดอนยูงสวรรค์ หมู่ที่ ๑๗
ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน จำนวน ๑ แห่ง
๑). ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลยางตลาด จำนวน ๑ แห่ง
สถาบันและองค์กรทางศาสนาจำนวน ๙ แห่ง ดังนี้
๑).พระอัมพร อุต.ตโม วัดสว่างโพธิ์ศรีบ้านเปลือย ตั้งอยู่ในเขตหมู่ที่ ๕
๒).พระครูสุจิตธรรมาภิบาล วัดศรีนวลบ้านหัวงัว ตั้งอยู่ในเขตหมู่ที่ ๗
๓).วัดป่าบ้านหัวงัว ตั้งอยู่ในเขตหมู่ที่ ๘
๔).พระอธิการทองสูน จันธิโก วัดสามัคคีธรรมบ้านดอนยูง ตั้งอยู่ในเขตหมู่ที่ ๑๒
๕).พระอธิการขัวญชัย โอภาโส วัดชัยเจริญบ้านฮ่องฮี ตั้งอยู่ในเขตหมู่ที่ ๑๔
๖).วัดเก่าสาเกตุ ตั้งอยู่ในเขตหมู่ที่ ๑๔
๗).พระประยูร วัดศิริวนารามบ้านจอมศรี ตังอยู่ในเขตหมู่ที่ ๕
๘).พระครูอุทัยโชติคุณ วัดสว่างอุทัยดอนยูง ตั้งอยู่ในเขตหมู่ที่ ๑๗
๙).พระครูสุจินต์ธรรมคุณ วัดชุมทางบ้านไทยเจริญ ตั้งอยู่ในเขตหมู่ที่ ๑๘
สาธารณสุข จำนวน ๑ แห่ง
๑). โรงพยาบาลยางตลาดตั้งอยู่ในเขตหมู่ที่ ๒๐ (บ้านดอนปอแดง)
ความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สิน จำนวน ๑ แห่ง
๑). จุดตรวจสถานีตำรวจภูธรยางตลาด (บ้านไทยเจริญ) อยู่ในเขตหมู่ที่ ๑๘ จำนวน ๑ แห่ง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๑). ทรัพยากรธรรมชาติป่าไม้ในพื้นที่
๑). ดอนปู่ตา มีพื้นที่ ๖ ไร่ อยู่ในเขตหมู่ที่ ๑๖ บ้านดอนยูง
๒). ดอนปูตา มีพื้นที่ ๒ ไร่ อยู่ในเขตหมู่ที่ ๑๓,๑๔ บ้านฮ่องฮี
๓). ดอนปู่ตา มีพื้นที่ ๓ ไร่ อยู่ในเขตหมู่ที่ ๗ บ้านหัวงัว
. ๒). ทรัพยากรน้ำ บึงหนองน้ำสาธารณะ มีดังนี้
๑). บึงอร่าม มีพื้นที่ ๑๐๙ ไร่ อยู่ในเขตหมู่ที่ ๓ บ้านค้อ,หมู่ที่ ๒๐ บ้านดอนปอแดง
๒). หนองบ้านแมด ๒ ไร่ อยู่ในเขตหมู่ที่ ๑๒ บ้านดอนยูงน้อย
๓). หนองปลิง ๕ ไร่ อยู่ในเขตหมู่ที่ ๑๖ บ้านดอนยูง
๔). หนองน้ำสร้าง ๑๕ ไร่ อยู่ในเขตหมู่ที่ ๑๓,๑๔ บ้านฮ่องฮี
๕). หนองท่าขัว ๔ ไร่ อยู่ในเขตหมู่ที่ ๗ บ้านหัวงัง
๖). หนองท่าวัด ๔ ไร่ อยู่ในเขตหมู่ที่ ๗ บ้านหัวงัง
๗). หนองบัว ๑๐ ไร่ อยู่ในเขตหมู่ที่ ๘ บ้านหัวงัง
ข้อมูลประเด็นปัญหา
๑.๒ สภาพปัญหาในพื้นที่ดำเนินโครงการ
๑.๒.๑ องค์การบริหารส่วนตำบลยางตลาดตามที่ได้กล่าวมาแล้วในข้างต้น เป็นตำบลที่มีพื้นที่ค่อนข้างใหญ่ มีจำนวน หมู่บ้านถึง ๑๗ หมู่บ้าน ประชากรรวมกว่า ๖,๗13 คน ลักษณะเป็นสังคมชนบท ประชาชนส่วนมากประกอบอาชีพทำการเกษตร รองลงมาคืออาชีพรับจ้างทั่วไป ซึ่งปัญหาที่ยังต้องการแก้ไขคือปัญหาการกำจัดขยะเนื่องจากตำบลยางตลาดยังขาดพื้นที่ในการกำจัดขยะมูลฝอยและการบริหารจัดการขยะที่มีประสิทธิภาพ โดยปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในเขตพื้นที่ตำบลยางตลาดโดยเฉลี่ย จำนวน ๔.๑ ตัน ต่อวัน ความสามารถในการเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยภายในเขตพื้นที่ตำบลยางตลาด ๑๗ หมู่บ้าน ประมาณ 1.58 ตัน ต่อวัน โดยปริมาณที่นำขยะมูลฝอยที่เก็บรวบรวมได้ไปกำจัด ณ สถานที่ทิ้งขยะเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ ซึ่งหากจากตำบลยางตลาดประมาณ ๖๖ กิโลเมตร ดำเนินการโดย องค์การบริหารส่วนตำบลยางตลาด หมู่ที่ ๒๐ ตำบลยางตลาด อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ และเสียค่าใช้จ่ายในการกำจัดขยะให้กับเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์เป็น จำนวน ๑9,000 บาทต่อเดือนโดยประมาณ และเสียค่าใช้จ่ายในการจ้างพนักงาน ค่าซ่อมบำรุง ค่านำมันเชื้อเพลิง เป็นจำนวนเงิน 36,800 บาทต่อเดือน โดยองค์การบริหารส่วนตำบลยางตลาดได้กำหนดพื้นที่ดำเนินโครงการที่คัดเลือกเป็นชุมชนเป้าหมาย คือ บ้านฮ่องฮี หมู่ที่ ๑๓ และบ้านฮ่องฮี หมู่ที่ ๑๔ มีปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นเฉลี่ย ประมาณ ๑.๒ ตันต่อวัน
ลักษณะทางกายภาพของขยะมูลฝอย ประกอบด้วย ขยะอินทรีย์เป็นส่วนมาก เช่น เศษผัก เศษอาหาร เศษกิ่งไม้ ใบไม้ คิดเป็นร้อยละ ๕๐ ขยะรีไซเคิล ส่วนมากเป็น ขวดพลาสติก กระดาษ ขวดแก้ว เหล็ก อะลูมิเนียม กล่องนม คิดเป็นร้อยละ 25 ขยะทั่วไปเป็นซองบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป เปลือกลูกอม ถุงขนม ถุงพลาสติก กล่องโฟม คิดเป็นร้อยละ 24.7 และขยะอันตรายคิดเป็นร้อยละ 0.3 ส่วนมากจะเป็นกระป๋องยาฆ่าแมลง หลอดไฟ ถ่ายไฟฉาย ซึ่งจากลักษณะทางกายภาพของขยะมูลฝอยจะเห็นว่ามีสัดส่วนขยะที่มีศักยภาพนำกลับมาใช้ประโยชน์ ได้แก่ ขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของปริมาณขยะทั้งหมด โดยเป็นพื้นที่ดำเนินโครงการที่คัดเลือกเป็นชุมชนเป้าหมาย ครอบคลุมพื้นที่บ้านฮ่องฮี หมู่ที่ ๑๓ และบ้านฮ่องฮี หมู่ที่ ๑๔ เป็นครัวเรือนนำร่อง จำนวน ๒94 ครัวเรือน
๑.๒.๒ ปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน โดยหลักแล้วมาจากการเพิ่มขึ้นของครัวเรือนและประชากรในเขตหมู่บ้านชุมชน และการขาดวินัยในตนเองขาดความรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวมส่งผลให้เกิดพฤติกรรมการบริโภคของประชาชนที่สูงขึ้น ส่งผลทำให้มีขยะเกิดขึ้นตามมา และอีกสาเหตุสำคัญที่ทำให้ปริมาณขยะเพิ่มขึ้นคือ การที่ไม่มีระบบการคัดแยกขยะก่อนนำไปทิ้ง ตลอดจนปัญหาจากบุคคลภายในหมู่บ้านชุมชนไม่ได้ให้ความสำคัญในการบริหารจัดการขยะ โดยมองไปว่าปัญหาดังกล่าวอยู่ในความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลยางตลาดเพียงฝ่ายเดียว ซึ่งหากได้รับการแก้ไขอย่างถูกวิธีและเป็นระบบ โดยการมุ่งเน้นการสร้างจิตสำนึกและการมีส่วนร่วมของประชาชนในหมู่บ้านชุมชนในการบริหารจัดการขยะ การรักษาความสะอาดและสิ่งแวดล้อม การตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดจากขยะมูลฝอย ตลอดจนส่งเสริมให้เกิดแรงจูงใจให้เกิดการคัดแยกขยะและนำขยะที่สามารถรีไซเคิลกลับมาใช้ประโยชน์และสร้างรายได้ จะเป็นผลสัมฤทธิ์ได้อย่างดี ซึ่งในส่วนของ องค์การบริหารส่วนตำบลยางตลาด อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ จัดทำโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง ชุดที่ ๓
ภายใต้กรอบทิศทางการสนับสนุนเงินกองทุนสิ่งแวดล้อม ตามมาตรา 23(4) แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2534 ชื่อโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง เพื่อแก้ประเด็นปัญหาที่ต้นทาง ได้ดังนี้
1.ปัญหาในการจัดการขยะในภาคครัวเรือน ซึ่งประชากรในตำบลยางตลาดยังไม่มีความรู้ความเข้าใจ ไม่ตระหนักถึงความสำคัญ ไม่ให้ความร่วมมือในการมีส่วนร่วมในกระบวนการขั้นตอนคัดแยกขยะและลดปริมาณขยะ
2.ปัญหาในการส่งและเก็บรวบรวมขยะ ประชาชนในพื้นตำบลยางตลาด นำขยะมาทิ้งไม่เป็นเวลาทำให้ขยะตกค้างหลักเวลาที่เจ้าหน้าที่มาเก็บขยะแล้ว การบริหารจัดการขยะมูลฝอยขององค์การบริหารส่วนตำบลยางตลาด มีงบประมาณไม่เพียงพอในการบริหารจัดการขยะอย่างเป็นระบบ
3.ปัญหาการลดขยะที่ต้นทาง ปัญหาประชาชนไม่มีการคัดแยกขยะอินทรีย์ตั้งแต่ต้นทางมีการทิ้งรวมกับขยะประเภทอื่นๆ ปัญหาการว่างขยะกองไว้ข้างบ้าน โรงเรียน วัด และการนำมาเผาทำให้เกิดควันพิษ เป็นมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมในชุมชน ปัญหาองค์การบริหารส่วนตำบลยางตลาดยังไม่มีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบและบุคลากรในการจัดการขยะรีไซเคิลไม่มีความรู้เพียงพอ ปัญหาในแต่ละครัวเรือนไม่มีการบริหารจัดการขยะรีไซเคิลอย่างเป็นระบบ ปัญหาประชาชนขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องการบริหารจัดการขยะอัตราอย่างถูกวิธี และปัญหาการตกค้างของขยะในชุมชน
4.ปัญหาในการกำจัดขยะมูลฝอย ประกอบด้วยเครื่องมือและอุปกรณ์ไม่เพียงพอ รถบริการมีสภาพชำรุด และมีใช้เพียง 1 คัน งบประมาณในการบริหารจัดการมีจำกัด
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่
เพื่อให้การดำเนินการมีคงามต่อเนื่องตั้งแต่ต้นน้ำกลางน้ำและปลายน้ำ จึงมีความต้องการดำเนินการต่อในระยะกลางน้ำและปลายน้ำ เพื่อให้เกิดการจัดการเชิงพานิชย์ และสร้างรายได้แก่ครัวเรือน
๑ การจัดตั้งกลุ่มการวิสาหกิจชุมชน และสร้างความรู้ในการจัดบริการจัดการวิสาหกิจชุมชน
๒ จัดทำฐานข้อมูลขยะระดับครัวเรือน และสร้างระบบสารสนเทศเพื่อเพิ่มช่องทางการสื่อสารทางการตลาด
๓ พัฒนาผลิตภัณฑ์จากขยะเพื่อเพิ่มมูลค่าจากขยะครัวเรือน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

๑. องค์ความรู้ด้านการจัดการวิสาหกิจชุมชน ได้แก่ การจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจ การบัญชีครัวเรือน การบริการจัดการคน การบริหารทรัพยากรและผลิตภัณฑ์
๒. องค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ ได้แก่ การพัฒนาฐานข้อมูลระดับครัวเรือน การสร้างระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
๓. องค์ความรู้ด้านการตลาด ได้แก่ การพัฒนาช่องทางและการสื่อสารเชิงการตลาด
๔. องค์ความรู้ด้านศาสตร์พระราชา ได้แก่ การขับเคลื่อนชุมชนเข้มแข็ง การสร้างการมีส่วนร่วมชุมชน เศรษฐกิจพอเพียง

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑ การจัดตั้งกลุ่มการวิสาหกิจชุมชน และสร้างความรู้ในการจัดบริการจัดการวิสาหกิจชุมชน

๑. มีกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ๑ กลุ่ม ๒. สมาชิกมีผ่านการอบรม ร้อยละ ๑๐๐
๓. สมาชิกมีองค์ความรู้เกี่ยวกับการบริการจัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน  ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๖๐

1.00
2 ๒ เพื่อจัดทำฐานข้อมูลขยะระดับครัวเรือน และสร้างระบบสารสนเทศเพื่อเพิ่มช่องทางการสื่อสารทางการตลาด

๑. มีฐานข้อมูลขยะระดับครัวเรือน
๒. มีระบบสารสนเทศเพื่อเพิ่มช่องทางการสื่อสารทางการตลาด

1.00
3 ๓ พัฒนาผลิตภัณฑ์จากขยะเพื่อเพิ่มมูลค่าจากขยะครัวเรือน

๑ มีพัฒนาผลิตภัณฑ์จากขยะ อย่างน้อย ๕ ผลิตภัณฑ์

1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 ๑ การจัดตั้งกลุ่มการวิสาหกิจชุมชน และสร้างความรู้ในการจัดบริการจัดการวิสาหกิจชุมชน

ชื่อกิจกรรม
๑ การจัดตั้งกลุ่มการวิสาหกิจชุมชน และสร้างความรู้ในการจัดบริการจัดการวิสาหกิจชุมชน
วัตถุประสงค์
  1. ๑ การจัดตั้งกลุ่มการวิสาหกิจชุมชน และสร้างความรู้ในการจัดบริการจัดการวิสาหกิจชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม
๑.๑ การอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดตั้งกลุ่มการวิสาหกิจชุมชน และสร้างความรู้ในการจัดบริการจัดการวิสาหกิจชุมชนแก่ผู้เข้าร่วมโครงการในชุมชนพื้นที่เป้าหมาย
- ค่าเอกสาร ( ๓๒๗ คนX ๑๕ บาท)
-ค่าอาหาร (เฉพาะครัวเรือนต้นแบบจำนวน ๒๙๔ ครัวเรือน และคณะกรรมการบริหารโครงการจำนวน ๓๓ คน)
( ๓๒๗ คนX ๗๐ บาทX ๑ มื้อ)
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( ๓๒๗ คนX ๒๕ บาทX ๒ มื้อ)
(เฉพาะครัวเรือนต้นแบบจำนวน ๒๙๔ ครัวเรือน และคณะกรรมการบริหารโครงการจำนวน ๓๓ คน รวมเป็นจำนวน ๓๒๗ คน)
- ค่าวิทยากร ( ๒ คน X 6 ชั่งโมงX ๖๐๐ บาท X 1 ครั้ง)
- ค่าจัดซื้อเครื่องขยายเสียงพร้อมตู้ลำโพง ( ๑ ชุด X ๑๓,๐๐๐ บาท)
-ค่าป้ายโครงการ (ขนาด ๑.๒x๓ ม. จำนวน ๑ ป้าย x ๖๐๐ บาท)
รวม ๖๔,๙๔๕บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
๑. มีการจัดตั้งกลุ่มการวิสาหกิจชุมชน ๑ กลุ่ม
๒. สมาชิกมีความรู้ในการจัดบริการจัดการวิสาหกิจชุมชน จำนวน ๓๒๗ คน (ผ่านการประเมิน)
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
องค์การบริหารส่วนตำบลยางตลาด
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 600 6 7,200
ค่าตอบแทนวิทยากร 372 คน 150 1 55,800
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 คน 1,945 1 1,945
รวมค่าใช้จ่าย 64,945

กิจกรรมที่ 2 ๒ จัดทำฐานข้อมูลขยะระดับครัวเรือน และสร้างระบบสารสนเทศเพื่อเพิ่มช่องทางการสื่อสารทางการตลาด

ชื่อกิจกรรม
๒ จัดทำฐานข้อมูลขยะระดับครัวเรือน และสร้างระบบสารสนเทศเพื่อเพิ่มช่องทางการสื่อสารทางการตลาด
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    ๑. ค่าจ้างเหมาจัดทำโปรแกรม ๑๐๐,๐๐๐ บาท
    ๒. การศึกษาดูงานในพื้นที่/ชุมชนใกล้เคียง (จัดให้กับผู้เข้าร่วมโครงการในชุมชนพื้นที่เป้าหมาย)
    - ค่าจ้างเหมารถยนต์โดยสารปรับอากาศไป-กลับ พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง วันละ ๑๒,๐๐๐ บาท x ๓ คัน
    - ค่าตอบแทนวิทยากร (๒ คน x ๖๐๐ บาท x ๓ ชั่วโมง)
    - ค่าอาหาร ( ๑๕๐ คนx ๗๐ บาท x ๑ มื้อ )
    -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม( ๑๕๐ คนX ๒๕ บาทX ๒ มื้อ)
    - ค่าของที่ระลึก ๒ ชิ้น x ๑,๐๐๐ บาท)
    -ค่าป้ายโครงการ (ขนาด ๑.๒x๓ ม. จำนวน ๑ ป้ายx๖๐๐ บาท)
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 เมษายน 2563 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ๑. มีฐานข้อมูลขยะระดับครัวเรือน๑ ชุด
    ๒. มีระบบสารสนเทศเพื่อเพิ่มช่องทางการสื่อสารทางการตลาด ๑ ระบบ
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    องค์การบริหารส่วนตำบลยางตลาด
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    อื่น ๆ

    ค่าจ้างเขียนโปรแกรม

    1 คน 100,000 1 100,000
    รวมค่าใช้จ่าย 100,000

    กิจกรรมที่ 3 ๓ พัฒนาผลิตภัณฑ์จากขยะเพื่อเพิ่มมูลค่าจากขยะครัวเรือน

    ชื่อกิจกรรม
    ๓ พัฒนาผลิตภัณฑ์จากขยะเพื่อเพิ่มมูลค่าจากขยะครัวเรือน
    วัตถุประสงค์
    1. ๓ พัฒนาผลิตภัณฑ์จากขยะเพื่อเพิ่มมูลค่าจากขยะครัวเรือน
    รายละเอียดกิจกรรม
    ๑.การศึกษาดูงานในพื้นที่/ชุมชนใกล้เคียง
    - ค่าจ้างเหมารถยนต์โดยสารปรับอากาศไป-กลับ พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง วันละ ๑๒,๐๐๐ บาท x๓ คัน
    - ค่าตอบแทนวิทยากร (๒ คน x ๖๐๐ บาท x ๓ ชั่วโมง)
    - ค่าอาหาร ( ๑๕๐ คนx ๗๐ บาท x ๑ มื้อ )
    -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม( ๑๕๐ คนX ๒๕ บาทX ๒ มื้อ)
    - ค่าของที่ระลึก๒ ชิ้น x ๑,๐๐๐ บาท)
    -ค่าป้ายโครงการ (ขนาด ๑.๒x๓ ม. จำนวน ๑ ป้ายx๖๐๐ บาท)
    รวม ๖๐,๒๐๐ บาท
    ๒. จัดอบรมและสาธิตการพัฒนาผลิตภัณฑ์
    -จัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์ จำนวน ๑๐๐,๐๐๐ บาท
    -จัดอบรมให้ความรู้/สาธิตการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากขยะจำนน5 ครั้ง
    ๑) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (๑๐๐ คนX ๑๕๐ บาทX ๑ มื้อ) เป็นเงิน ๗๕,๐๐๐ บาท
    ๒) ค่าวิทยากร ( ๑ คนX ๖ ชั่วโมงX ๖๐๐ บาท X๕ ครั้ง) เป็นเงิน ๑๘,๐๐๐ บาท
    ๓) ค่าอุปกรณ์สาธิต จำนวน๕,๐๐๐ บาท ๕ ครั้ง เป็นเงิน ๒๕,๐๐๐ บาท
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 พ.ค. 2563 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    มีผลิตภัณฑ์จากขยะเพื่อเพิ่มมูลค่าจากขยะครัวเรือน อย่างน้อย ๓ ผลิตภัณฑ์
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    องค์การบริหารส่วนตำบลยางตลาด
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 600 3 3,600
    ค่าเช่ารถ 1 คน 12,000 3 36,000
    ค่าอาหาร

    - ค่าอาหาร ( ๑๕๐ คนx ๗๐ บาท x ๑ มื้อ )

    1 คน 150 100 15,000
    ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 คน 1,000 2 2,000
    ค่าวัสดุสำนักงาน 1 คน 20,000 5 100,000
    ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน 600 30 18,000
    ค่าอาหาร 100 คน 175 5 87,500
    รวมค่าใช้จ่าย 262,100

    รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 427,045.00 บาท

    ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
    ค่าใช้จ่าย (บาท) 84,600.00 3,945.00 138,500.00 100,000.00 100,000.00 427,045.00
    เปอร์เซ็นต์ (%) 19.81% 0.92% 32.43% 23.42% 23.42% 100.00%

    11. งบประมาณ

    427,045.00บาท

    12. การติดตามประเมินผล

    ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
    ผลผลิต (Output)
    ผลลัพธ์ (Outcome)
    ผลกระทบ (Impact)
    นำเข้าสู่ระบบโดย chommanat2511 chommanat2511 เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 23:09 น.