พัฒนาศักยภาพในการผลิตลำไยอบแห้งเนื้อสีทอง

แบบเสนอโครงการ
พัฒนาศักยภาพในการผลิตลำไยอบแห้งเนื้อสีทอง

1. ชื่อโครงการ

พัฒนาศักยภาพในการผลิตลำไยอบแห้งเนื้อสีทองมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาพัฒนาชุมชนหมู่บ้านโป่งบัวบาน หมู่ที่ 11 ตำบลแม่ปั๋ง อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่นางสาวหนึ่งฤทัย แสงใสสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 98 หมู่ 8 ตำบลป่าป้อง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่โทรศัพท์ 053 266516-8 ต่อ 1049 โทรสาร 053 266522 มือถือ 089 4299275 e-mail:nuengrutai_s@hotmail.comนายปรัชญานามวงค์ตำแหน่งอาจารย์ สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มทร.ล้านนา
ผศ.เกรียงไกรธารพรศรี ตำแหน่ง อาจารย์ แผนกวิชาช่างกลโรงงานและสาขาวิศวกรรมแม่พิมพ์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
เชียงใหม่ พร้าว แม่ปั๋ง

3. รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน/ชุมชน
ทิศเหนือ ติดต่อกับ หมู่บ้านห้วยเกี๋ยงซาง ใช้ถนนเป็นแนวเขตแดน
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ หมู่บ้านประดู่ ใช้ล้าน้ำแม่งัดเป็นแนวเขตแดน
ทิศใต้ ติดต่อกับ หมู่บ้านห้วยทราย ใช้ล้าน้ำแม่งัดเป็นแนวเขตแดน
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ หมู่บ้านแม่แพง ใช้แนวห้วยบงเป็นแนวเขตแดน
ภูมิประเทศ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเขตชุมชน เป็นที่ราบเชิงเขามีความชันเล็กน้อย จ้านวนครัวเรือน 135 ครัวเรือน อยู่ในเขตเทศบาลต้าบลแม่ปั๋ง จ้านวนประชากรทั งสิ น 305 คน แยกเป็นชาย 153 คน หญิง 152
คนบ้านโป่งบัวบานเป็นหมู่บ้านเล็กๆ ที่ก่อขึ้นใหม่ เป็นหมู่บ้านในเขตนิคมสหกรณ์ โดยจัดสรรที่ดินให้สมาชิก รายละ 7 ไร่ แบ่งเป็นที่บ้าน 1 ไร่ และที่ท้ากิน 6 ไร่ ราษฎรส่วนใหญ่มาจากเขตน ้าท่วมเขื่อนแม่งัดและอ่าง
เก็บน้ำแม่แพง ซึ่งรัฐบาลได้เวนคืนที่ดิน โดยชาวบ้านอพยพมาจากหมู่บ้านห้วยทรายหมู่ที่ 8 บ้านแม่แพงหมู่ 3 บ้านสบปั๋งหมู่ 4 และบ้านแม่ปั๋งหมู่ 5 และได้มีการจัดตั งเป็นหมู่บ้านโป่งบัวบานหมู่ 11 เมื่อปี พ.ศ. 2532
เนื่องจากบ้านโป่งบัวบานเป็นหมู่บ้านที่ตั งขึ นมาใหม่และประชากรมาจากหลากหลายพื นที่ จึงไม่ค่อยมีคนรุ่น เก่าและวัฒนธรรมดั งเดิมที่สืบทอดมากนัก มีสถานที่ท่องเที่ยวคือ บ่อน ้าร้อน “โป่งบัวบาน”ประชากรส่วนใหญ่
ประกอบอาชีพการเกษตรด้านการท้าสวน เป็นหลัก รองลงมาคือ ท้าไร่ ท้านาและรับจ้างทั่วไป พืชที่ปลูกส่วนใหญ่ 100% คือ ลำไย และมีการปลูก ข่า, ตะไคร้, ขมิ้น เสริมในสวนลำไย เมื่อว่างจากงานไร่ ก็รับจ้างงานอื่นๆ
บ้านโป่งบัวบานอยู่ภายใต้การปกครองดูแลของเทศบาลตำบลแม่ปั๋ง โดยภายในหมู่บ้านจะมี ผู้ใหญ่บ้านและผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านเป็นผู้ดูแล สถานีตำรวจที่คอยก้ากับดูแลคือ สถานีต้ารวจภูธรโหล่งขอด และอยู่ในเขตการรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่วนตำบลผาแดง ประชาการส่วนใหญ่ของชุมชนบ้านโป่งบัวบานที่ป่วย มักเป็นโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง โดยโรคระบาดที่มักพบคือ โรคไข้เลือดออก และโรคมือเท้าปาก ภายในชุมชนบ้านโป่งบัวบานประกอบด้วยซอยเล็กๆ อยู่ 5 ซอย ถนนส่วนมากเป็นทางลูกรัง มีถนนแบบคอนกรีตบ้างเล็กน้อย มีโรงงานผลิตน ้าดื่มชุมชน 1 แห่ง มีประปาหมู่บ้าน 1 แห่งที่ใช้งาน แหล่งน้ำธรรมชาติ คลองแม่งัดไหลผ่าน และบ่อน้ำร้อนจ้านวน 1 แห่ง แหล่งน้ำที่สร้างขึ้นคือบ่อน้ำสาธารณะจำนวน 4 แห่ง ไฟฟ้าเข้าถึงชุมชนมีใช้ทุกครัวเรือน การเดินทางมายังหมู่บ้านแม่ปั๋งใช้เส้นทางสายเชียงใหม่-แม่โจ้-พร้าว ทางหลวงหมายเลข 1001 กม
เนื่องจากในหมู่บ้านมีโป่งน้ำร้อนและได้มีการพัฒนาบางส่วนให้กลายที่ให้บริการอาบน้ำร้อนที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติ จึงเป็นสถานที่หลักในด้านการท่องเที่ยว มีการเดินทางที่สะดวกอยู่ใกล้กับถนนเส้นหลัก (เส้น
พร้าว – เชียงใหม่) และถนนในการเดินทางเข้ามาอยู่ในสภาพดี จึงง่ายต่อการเดิน และยังอยู่ใกล้สถานที่สำคัญอื่น ๆ เช่น วัดแม่ปั๋ง น้ำตกม่อนหินไหล หรือเป็นทางแวะสำหรับผู้ที่จะเดินทางไปยังโครงการหลวงม่อนล้านอีกด้วย ทำให้สามารถพัฒนายกระดับให้เป็นท่องเที่ยวที่นิยมได้ในอนาคต ร่วมทั้กลุ่มชุมชนมีความสนใจและให้ความร่วมมือในเรื่องนี้ ทั้งการท่องเที่ยวเชิงเกษตร หรือการท่องเที่ยวเชิงสถานที่ ด้วยทั้งข้อดีที่ตั้งอยู่ท่ามกลาง
แหล่งท่องเที่ยวอื่น การเดินทางเข้าถึงที่สะดวกและใกล้ทางหลวงหลัก มีบรรยากาศที่ยังคงเป็นธรรมชาติทั้งภายในและภายนอกรอบๆ ชุมชน ซึ่งอาจทำเกิดกลุ่มอาชีพเพิ่มตามมาให้หลายๆ ด้าน
ตำบลแม่ปั๋ง อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม โดยมีลำไย เป็นพืชเศรษฐกิจประจำตำบล ซึ่งปัญหาราคาสินค้าเกษตรตกต่ำมีมาอย่างต่อเนื่อง จนทำให้เกษตรกรมีปัญหาหนี้สิน ทั้งนี้ แนวทางหนึ่งที่จะช่วยแก้ปัญหาอย่างยั่งยืนได้คือ การเพิ่มมูลค่าให้สินค้าเกษตร กลุ่มสตรีแม่บ้านเล็งเห็นว่า การนำผลผลิตทางการเกษตร รวมถึงลำไยที่เป็นพืชเศรษฐกิจของตำบลมาอบแห้งสีทอง สามารถเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าการเกษตร ทั้งยังสามารถเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ได้เป็นเวลานานปัญหาราคาสินค้าเกษตรตกต่ำมีมาอย่างต่อเนื่อง จนทำให้เกษตรกรมีปัญหาหนี้สินกลุ่มสตรีแม่บ้านเล็งเห็นว่า การนำผลผลิตทางการเกษตร รวมถึงลำไยที่เป็นพืชเศรษฐกิจของตำบลมาอบแห้งสีทอง สามารถเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าการเกษตร ทั้งยังสามารถเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ได้เป็นเวลานาน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การจัดการสวนเพื่อการผลิตลำไยคุณภาพดีต้นทุนต่ำ พัฒนาคุณภาพให้ได้รับมาตรฐาน ลดต้นทุนการผลิตลำไยอบแห้งสีทองด้วยนวัตกรรม

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ลำไยอบแห้งสีทองให้ได้รับมาตรฐาน

ร้อยละ 50 ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำมาประกอบอาชีพได้

50.00 1.00
2 นำองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ลดต้นทุนการผลิตลำไยอบแห้งสีทอง

ลดต้นทุนการผลิตร้อยละ 20

20.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการจัดการสวนเพื่อการผลิตลำไยคุณภาพดีต้นทุนต่ำ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมการจัดการสวนเพื่อการผลิตลำไยคุณภาพดีต้นทุนต่ำ
วัตถุประสงค์
  1. นำองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ลดต้นทุนการผลิตลำไยอบแห้งสีทอง
รายละเอียดกิจกรรม
วิธีการถ่ายทอด การบรรยายและฝึกปฏิบัติ (การจัดการทรงพุ่ม การใช้สารเร่งการออกดอก การใช้ปุ๋ย)แบ่งเป็น 4 ครั้ง ครั้งละ 2 วัน ( วันละ 8 ชั่วโมง)
วิทยากร ผศ.ยุทธนา เขาสุเมรุ , ผศ.สันติ ช่างเจรจา , รศ.ดร.ชิติ ศรีตนทิพย์ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
สื่อที่ใช้ในการถ่ายทอด เอกสารประกอบการบรรยาย ชุดวิเคราะห์ดิน ปุ๋ยอินทรีย์ และจุลธาตุ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พ.ค. 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผู้เข้าร่วมโครงการมีความเข้าใจในการจัดการสวนเพื่อการผลิตลำไยคุณภาพดีต้นทุนต่ำ สามารถนำไปใช้ในสวนลำไยของตนเองได้
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
สำนักงานเกษตรและสหกรณ์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 2,400 4 19,200
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 4 ชิ้น 1,200 1 4,800
ค่าอาหาร 60 คน 130 4 31,200
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 50 คน 2,000 1 100,000
ค่าถ่ายเอกสาร 50 คน 100 4 20,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถรับจ้าง/แท็กซี่ 2 เที่ยว 1,800 4 14,400
ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ 2 เที่ยว 1,000 4 8,000
ค่าที่พักตามจริง 10 คน 300 4 12,000
รวมค่าใช้จ่าย 209,600

กิจกรรมที่ 2 พัฒนาคุณภาพลำไยอบแห้งสีทองให้ได้รับมาตรฐานและลดต้นทุนการผลิต

ชื่อกิจกรรม
พัฒนาคุณภาพลำไยอบแห้งสีทองให้ได้รับมาตรฐานและลดต้นทุนการผลิต
วัตถุประสงค์
  1. นำองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ลดต้นทุนการผลิตลำไยอบแห้งสีทอง
รายละเอียดกิจกรรม
วิธีการถ่ายทอด การบรรยายและฝึกปฏิบัติแบ่งเป็น 5 ครั้ง
สื่อที่ใช้ในการถ่ายทอด เอกสารประกอบการบรรยาย เครื่องคว้านลำไยระบบนิวเมตริกแบบหัวเดียว เครื่องอบแห้ง ตู้เย็นลำหรับเก็บรักษาลำไยอบแห้งสีทอง เอกสารประกอบการบรรยาย ชุดวิเคราะห์สารเคมีตกค้าง (ลำไยผลสดและลำไยอบแห้งสีทอง) แบบฟอร์มการขอรับรองมาตรฐาน อย. และ Pimary GMP
สนับสนุนให้นักศึกษา นำเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้ ไปประยุกต์ใช้ในชุมชน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ได้นวัตกรรมใหม่ในการลดต้นทุนการผลิต
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน 2,400 5 12,000
ค่าอาหาร 20 คน 130 5 13,000
ค่าที่พักตามจริง 20 คน 300 5 30,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถโดยสารประจำทาง 20 คน 200 5 20,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 2 ชุด 20,000 1 40,000
รางวัลเพื่อการยกย่อง 10 ชุด 2,000 1 20,000
รวมค่าใช้จ่าย 135,000

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการบริหารจัดการกลุ่ม

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมการบริหารจัดการกลุ่ม
วัตถุประสงค์
  1. พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ลำไยอบแห้งสีทองให้ได้รับมาตรฐาน
รายละเอียดกิจกรรม
วิธีการถ่ายทอด การบรรยายและฝึกปฏิบัติแบ่งเป็น 2 ครั้ง ครั้งละ 2 วัน ( วันละ 8 ชั่วโมง)
สื่อที่ใช้ในการถ่ายทอด เอกสารประกอบการบรรยาย กฎระเบียบ คู่มือการบริหารจัดการกลุ่ม การวิเคราะห์ศักยภาพของกลุ่ม แผนธุรกิจ
ระยะเวลาดำเนินงาน
15 พ.ค. 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
มีกฎระเบียบของกลุ่ม
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
พัฒนาชุมชน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน 4,800 2 9,600
ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน 2,400 2 4,800
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 2 ชิ้น 1,200 1 2,400
ค่าอาหาร 30 คน 130 2 7,800
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 1 เที่ยว 800 2 1,600
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 1 คน 400 2 800
ค่าวัสดุสำนักงาน 25 ชุด 2,000 1 50,000
ค่าถ่ายเอกสาร 25 คน 100 2 5,000
รวมค่าใช้จ่าย 82,000

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 426,600.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 45,600.00 7,200.00 183,800.00 190,000.00 426,600.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 10.69% 1.69% 43.08% 44.54% 100.00%

11. งบประมาณ

426,600.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) เข้าใจกระบวนการผลิตลำไยอบแห้งสีทอง ตั้งแต่ต้นทาง กลางทาง ปลายทาง เข้าใจกระบวนการผลิตลำไยอบแห้งสีทอง ตั้งแต่ต้นทาง กลางทาง ปลายทาง
ผลลัพธ์ (Outcome) สามารถวางแผนธุรกิจการผลิตลำไยอบแห้งสีทองได้ สามารถคิดค้นนวัตกรรมใหม่ เพื่อลดค่าใช้จ่ายในกระบวนการผลิตได้
ผลกระทบ (Impact) ลดรายจ่ายในการผลิต ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพมากขึ้น สามารถออกแบบ นวัตกรรม /เครื่องมือ/เครื่องจักร ร่วมกับชุมชนสามารถใช้งานได้จริง
นำเข้าสู่ระบบโดย kriengkrai sriprasert kriengkrai sriprasert เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 22:59 น.