เครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ สำหรับชุมชนตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
เครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ สำหรับชุมชนตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

เครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ สำหรับชุมชนตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามคณะเทคโนโลยีสารสนเทศคณะวิศวกรรมศาสตร์, คณะเทคโนโลยีการเกษตร,คณะวิทยาการจัดการ และเทศบาลตำบลลำคลอง อำเภอเมืองจังหวัด กาฬสินธุ์บ้านปลาเค้าน้อย ตำบลลำคลอง อำเภอเมืองจังหวัด กาฬสินธุ์ผศ.ดร.ธรัชอารีราษฎร์คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม090-3354499อาจารย์
ผศ.ดร.วรปภาอารีราษฎร์ สาขาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
ดร.อภิชาติเหล็กดี สาขาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
อาจารย์วินัย โกหลำ สาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ดร.ภาณุวัฒน์รื่นเรืองฤทธิ์สาขาวิศวกรรมการจัดการคณะวิศวกรรมศาสตร์
อาจารย์นฤดลสวัสดิ์ศรี สาขาบริหารธุรกิจการเกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร
ผศ.ดร.ไอลัดดา โอ่งกลาง สาขาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการ

นักศึกษา
นายนภสินธุ์ตุมพิทักษ์รหัสนักศึกษา61317004010 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
นายวุฒิชัยพิทูรย์รหัสนักศึกษา613170040108 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
นายวุฒิชัยล้านเหรียญทอง รหัสนักศึกษา613170040106คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
นายวัชระพลวงษ์คำสุขรหัสนักศึกษา603121090108 คณะวิศวกรรมศาสตร์
นายพงศธร ปาวะรีรหัสนักศึกษา603121090109 คณะวิศวกรรมศาสตร์
นางสาวปวีณาบุญทาทองรหัสนักศึกษา603121090104 คณะวิศวกรรมศาสตร์
นางสาววิชุดาระหารนอกรหัสนักศึกษา 603150070117 คณะเทคโนโลยีการเกษตร
นางสาวแพรวนภาคลังดีรหัสนักศึกษา603150070111 คณะเทคโนโลยีการเกษตร
นางสาววรรณภาลาโสภารหัสนักศึกษา 603150070116 คณะเทคโนโลยีการเกษตร
นายธนทัษน์ วันปลั่งรหัสนักศึกษา 603150120105 คณะเทคโนโลยีการเกษตร
น.ส.อารญาลาดีรหัสนักศึกษา603140200140คณะวิทยาการจัดการ
น.ส.อัญชลีจำนงศรีรหัสนักศึกษา603140200139 คณะวิทยาการจัดการ

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ เมืองกาฬสินธุ์

3. รายละเอียดชุมชน

ชุมชนเทศบาลตำบลลำคลองตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของอำเภอเมืองกาฬสินธุ์ ห่างจากเมืองกาฬสินธุ์ประมาณ20กิโลเมตรราษฎรเทศบาลตำบลลำคลองส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมมีพื้นที่การเกษตรร้อยละ 90 สามารถแยกประเภทได้ดังนี้
อาชีพทำนาเป็นอาชีพหลักของตำบลส่วนใหญ่ทำนาปีประมาณ 90% ของพื้นที่ทั้งหมด
อาชีพทำไร่พื้นที่ตำบลลำคลองเหมาะสมสำหรับทำไร่อ้อยไร่มันสำปะหลัง
อาชีพทำสวนส่วนใหญ่ทำสวนพริก,สวนผัก
อาชีพเลี้ยงสัตว์เลี้ยงกุ้ง,เลี้ยงปลา,เลี้ยงโค–กระบือ,เลี้ยงหมู,เลี้ยงไก่พื้นบ้าน
ผลผลิตจากการทำสวนพริก โดยส่วนใหญ่จำหน่ายเป็นพริกสดส่งผลให้ต้องจำหน่ายให้ทันเวลา และผลผลิตมีราคาต่ำ ทำให้มีรายได้ไม่เพียงพอ แต่ถ้าจะนำผลผลิตไปตากแห้งก็ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศ และใช้เวลาหลายวัน ทำให้ไม่สามารถนำผลผลิตไปตากแห้งได้ตามที่ต้องการข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่ ความต้องการเครื่องอบแห้งที่สามารถวัดความชื้น อุณหภูมิ และปรับความร้อนได้โดยอัตโนมัติและสามารถให้ข้อมูลการอบพริกแก่เกษตรกรได้ผ่านทางโทรศัพท์มือถือ เนื่องจากการอบแต่ละครั้ง เกษตรกรจะนำพริกมาอบแห้ง และไปทำงานอย่างอื่นต่อไปและเมื่อกระบวนการอบพริกเสร็จสิ้น ตู้อบสามารถมีข้อความไปแจ้งสถานะแก่เกษตรกรได้ ซึ่งการอบพริก จะช่วยให้พริกไม่เน่าเสีย จัดเก็บไว้ได้นานและขายได้ในราคาที่สูงกว่า

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การอบแห้งด้วยพลังงานแสงอาทิตย์เป็นการใช้ประโยชน์จากพลังงานแสงอาทิตย์ในรูปความร้อนรูปแบบหนึ่งที่มีประสิทธิภาพ ไม่เสียค่าใช้จ่ายด้านเชื้อเพลิงในการใช้งาน ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมการอบแห้งด้วยเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์เมื่อเทียบกับการตากแดด เครื่องนี้สามารถช่วยลดปัญหาการปนเปื้อนจากฝุ่นละอองและการรบกวนจากแมลงทำให้ผลิตภัณฑ์ที่ได้มีคุณภาพดีขึ้น และยังช่วยลดระยะเวลาในการตากแห้งอีกด้วย หากเทียบกับการอบแห้งเชิงอุตสาหกรรม ก็จะช่วยในการประหยัดพลังงานไฟฟ้าน้ำมันหรือแก๊สธรรมชาติอีกด้วย (อนิรุทธิ์ต่ายขาวและสมบัติทีฆทรัพย์, ๒๕๕๖:๒๔)
การอบแห้งด้วยพลังงานแสงอาทิตย์แบ่งได้ ๒ระบบ คือ๑)ระบบ Passive คือ ระบบที่เครื่องอบแห้งทำงานโดยอาศัยพลังงานแสงอาทิตย์และกระแสลมพัดผ่าน เช่น๑.๑) เครื่องตากแห้งโดยธรรมชาติ โดยวางวัตถุในกลางแจ้งอาศัยความร้อนจากแสงอาทิตย์และกระแสลมจากบรรยากาศพัดผ่าน และระเหยความชื้นออกจากวัสดุ๑.๒) เครื่องอบแห้งแบบได้รับแสงอาทิตย์โดยตรง วัสดุที่อบอยู่ในเครื่องอบแห้งซึ่งปกคลุมด้วยวัสดุโปร่งใสความร้อนที่ใช้อบแห้งได้มาจากการดูดกลืนพลังงานแสงอาทิตย์ โดยอาศัยหลักการขยายตัวของอากาศภายในเครื่องอบแห้งทำให้เกิดการหมุนเวียนของอากาศ เพื่อช่วยถ่ายเทอากาศชื้น๑.๓) เครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบผสม เครื่องอบแห้งแบบนี้วัสดุที่อยู่ภายใน จะได้รับความร้อน ๒ทาง คือทางตรงจากแสงอาทิตย์และทางอ้อมมาจากแผงรับรังสีแสงอาทิตย์ทำให้อากาศร้อนก่อนเข้าวัสดุอบแห้ง๒)ระบบActiveการอบแห้งระบบActive คือระบบอบแห้งที่มีเครื่องช่วยให้อากาศไหลเวียนในทิศทางที่ต้องการเช่นจะมีพัดลมติดตั้งในระบบเพื่อบังคับให้มีการไหลของอากาศผ่านระบบพัดลมจะดูดอากาศจากภายนอกให้ไหลผ่านแผงรับแสงอาทิตย์เพื่อรับความร้อนจากแผงรับแสงอาทิตย์อากาศร้อนที่ไหลผ่านพัดลมและห้องอบแห้งจะมีความชื้นสัมพัทธ์ต่ำกว่าความชื้นของพืชผลจึงพาความชื้นจากพืชผลออกสู่ภายนอกทำให้พืชผลที่อบไว้แห้งได้และ ๓) ระบบ Hybrid คือ เครื่องอบแห้งที่ใช้พลังงานแสงอาทิตย์และอาศัยพลังงานรูปอื่นเพิ่ม เช่น พลังงานเชื้อเพลิง พลังงานไฟฟ้า วัสดุอบแห้งจะได้ความร้อนจากอากาศร้อน ที่ผ่านเข้าแผงรับแสงอาทิตย์ การหมุนเวียนทางอากาศอาศัยพัดลม หรือเครื่องดูดอากาศช่วย(กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน : ออนไลน์
เครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ สามารถดำเนินการได้โดยใช้เทคโนโลยีควบคุมการดำเนินงาน หรือระบบไอโอที (Internet of Things : IOT)เพื่อตรวจสอบ และควบคุม ความชื้น อุณหภูมิ และสามารถควบคุมพลังงานความร้อนได้ในตู้อบได้ตลอดจนสื่อสารส่งข้อความไปแจ้งสถานะแก่เกษตรกรได้มหศักดิ์เกตุฉ่ำ (ออนไลน์) กล่าวว่าเทคโนโลยี ไอโอที หรือ “อินเตอร์เน็ตในทุกสิ่ง” หมายถึง การที่สิ่งต่างๆ ถูกเชื่อมโยงทุกสิ่งทุกอย่างเข้าสู่โลกอินเทอร์เน็ต ทำให้มนุษย์สามารถสั่งการ ควบคุมใช้งานอุปกรณ์ต่างๆ ผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เช่น การสั่งเปิด-ปิด อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า รถยนต์ โทรศัพท์มือถือ เครื่องมือสื่อสาร เครื่องใช้สำนักงาน เครื่องมือทางการเกษตร เครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรม อาคาร บ้านเรือนเครื่องใช้ในชีวิตประจำวันต่างๆ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นต้น โดยเทคโนโลยีนี้จะเป็นทั้งประโยชน์อย่างมหาศาล และความเสี่ยงไปพร้อมๆ กัน เพราะหากระบบรักษาความปลอดภัยของอุปกรณ์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไม่ดีพอ จะทำให้ผู้ไม่ประสงค์ดีเข้ามากระทำการที่ไม่พึงประสงค์ต่ออุปกรณ์ข้อมูลสารสนเทศหรือความเป็นส่วนตัวของบุคคลได้ ดังนั้น การพัฒนาไปสู่ไอโอทีจึงมีความจำเป็นต้องพัฒนามาตรการและเทคนิคในการรักษาความปลอดภัยไอทีควบคู่กันไปด้วย

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาเครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ สำหรับชุมชน ตำบลลำคลอง อำเภอเมืองจังหวัดกาฬสินธุ์

พัฒนาเครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ สำหรับชุมชน ตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์

2.00 2.00
2 เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีเครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ สำหรับชุมชนตำบลลำคลอง อำเภอเมืองจังหวัดกาฬสินธุ์ สู่ชุมชนเป้าหมาย

ระดับความรู้ ความเข้าใจในการใช้เครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะของประชาชนชุมชน ตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์

4.00 4.00
3 เพื่อศึกษาผลจากการใช้เครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ สำหรับชุมชน ตำบลลำคลอง อำเภอเมืองจังหวัดกาฬสินธุ์ ของชุมชนเป้าหมาย

ระดับคุณภาพของพริกแห้งจากการใช้เครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ

5.00 5.00
4 เพื่อศึกษารายได้ครัวเรือนของชุมชนเป้าหมาย หลังจากใช้เทคโนโลยีเครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ สำหรับชุมชนตำบลลำคลอง อำเภอเมืองจังหวัดกาฬสินธุ์

ร้อยละของรายได้ครัวเรือนจากผลิตผลการปลูกพริกเพิ่มมากขึ้น

20.00 20.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ชุมชนบ้านปลาเค้าน้อย ตำบลลำคลอง 760

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาเครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ สำหรับชุมชน ตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์

ชื่อกิจกรรม
การพัฒนาเครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ สำหรับชุมชน ตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    ๑. ศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
    ๒. จัดสัมมนาผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อกำหนดคุณสมบัติองค์ประกอบ และโครงสร้างของเครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ
    ๓. ออกแบบเครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ ตามที่กำหนด
    ๔. พัฒนาเครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ ตามที่ออกแบบ
    ๕. ทดลองใช้เครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพ
    ๖. สรุปผลการวิจัย
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 มีนาคม 2563 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    เครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ สำหรับชุมชน ตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    เทศบาลตำบลลำคลองอำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์
    คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
    คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
    คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
    คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าตอบแทนวิทยากรในการวิเคราะห์ออกแบบระบบ จำนวน 5 คน x 1,200 บาท x 12 ชั่วโมง

    5 คน 1,200 12 72,000
    อื่น ๆ

    ค่าอาหารกลางวันและอาหารว่างผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน X 4 วัน x 200 บาท

    30 คน 200 4 24,000
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

    ค่าเดินทางวิทยากร จำนวน 5 คน x 2,000 บาท x 2 ครั้ง

    5 คน 2,000 2 20,000
    ค่าที่พักตามจริง

    ค่าที่พักวิทยากร จำนวน 5 คน x 2,000 บาท x 2 ครั้ง

    5 คน 2,000 2 20,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ค่าจัดทำเอกสารประกอบการสัมมนา จำนวน 30 ชุด x 100 บาท

    30 ชุด 100 1 3,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ค่าวัสดุในการจัดทำเครื่องอบพริกแห้ง

    1 ครั้ง 50,000 1 50,000
    ค่าวัสดุสำนักงาน

    ค่าวัสดุในการจัดสัมมนา

    1 ครั้ง 20,000 1 20,000
    รวมค่าใช้จ่าย 209,000

    กิจกรรมที่ 2 การถ่ายทอดเทคโนโลยีเครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ สำหรับชุมชนตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ สู่ชุมชนเป้าหมาย

    ชื่อกิจกรรม
    การถ่ายทอดเทคโนโลยีเครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ สำหรับชุมชนตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ สู่ชุมชนเป้าหมาย
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      ๑. ประสานกับเทศบาล ตำบลลำคลอง อำเภอเมืองจังหวัดกาฬสินธุ์ เพื่อกำหนดกิจกรรมการถ่ายทอดเทคโนโลยี
      ๒. ถ่ายทอดเทคโนโลยีเครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ สู่ชุมชนเป้าหมาย
      ๓. ถ่ายทอดการแปรรูปผลผลิตจากพริกแห้งสู่การสร้างรายได้ครัวเรือนเพิ่มขึ้น
      ๔. วัดความรู้ ทักษะในการใช้เครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ
      ๕. สรุปผลการดำเนินงานวิจัย
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      1 เมษายน 2563 ถึง
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      ชุมชนบ้านปลาเค้าน้อย ตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ได้ใช้เครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ ที่มีประสิทธิภาพ
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      เทศบาลตำบลลำคลองอำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์
      คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
      คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
      คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
      คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      ค่าอาหาร

      ค่าอาหารกลางวันและอาหารว่างผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 500 คน X 1 วัน x 200 บาท

      500 คน 200 1 100,000
      ค่าถ่ายเอกสาร

      ค่าจัดทำเอกสารประกอบการสัมมนา จำนวน 500 ชุด x 100 บาท

      500 ชุด 100 1 50,000
      ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

      ค่าพาหนะเดินทางอาจารย์และนักศึกษา จำนวน 1 ครั้ง x 5,000 บาท

      1 ครั้ง 5,000 1 5,000
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

      ค่าวัสดุในการติดตั้งเครื่องอบพริกแห้ง

      1 ครั้ง 50,000 1 50,000
      รวมค่าใช้จ่าย 205,000

      กิจกรรมที่ 3 การศึกษาผลจากการใช้เครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ สำหรับชุมชน ตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ ของชุมชนเป้าหมาย

      ชื่อกิจกรรม
      การศึกษาผลจากการใช้เครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ สำหรับชุมชน ตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ ของชุมชนเป้าหมาย
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        ๑. ติดตั้งเครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ สำหรับชุมชน ตำบลลำคลอง อำเภอเมืองจังหวัดกาฬสินธุ์ ในพื้นที่ชุมชนเป้าหมาย
        ๒. กำหนดให้ชุมชนเข้าร่วมใช้เครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ สำหรับชุมชน ตำบลลำคลอง อำเภอเมืองจังหวัดกาฬสินธุ์
        ๓. ศึกษาคุณภาพของพริกแห้งจากการใช้เครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ
        ๔. ศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อเครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        1 พ.ค. 2563 ถึง
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        ชุมชนบ้านปลาเค้าน้อย ตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ได้ใช้เครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ เพื่อการแปรรูปผลผลิต
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        เทศบาลตำบลลำคลองอำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์
        คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
        คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
        คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
        คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

        ค่าเดินทางอาจารย์และนักศึกษาในการลงพื้นที่เก็บข้อมูลการทำงานเครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ จำนวน 5 ครั้ง x 3,000 บาท

        5 ครั้ง 3,000 1 15,000
        อื่น ๆ

        ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์ในการลงพื้นที่เก็บข้อมูลการทำงานเครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ จำนวน 240 บาท x 10 คน x 5 วัน

        10 คน 240 5 12,000
        ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

        ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์ในการลงพื้นที่เก็บข้อมูลการทำงานเครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ จำนวน 180 บาท x 10 คน x 5 วัน

        10 คน 180 5 9,000
        ค่าถ่ายเอกสาร

        ค่าจัดทำเอกสารประกอบการเก็บรวบรวมข้อมูลและสรุปผลการใช้ จำนวน 30 ชุด x 100 บาท

        30 ชุด 100 1 3,000
        รวมค่าใช้จ่าย 39,000

        กิจกรรมที่ 4 การศึกษารายได้ครัวเรือนของชุมชนเป้าหมาย หลังจากใช้เทคโนโลยีเครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ สำหรับชุมชนตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์

        ชื่อกิจกรรม
        การศึกษารายได้ครัวเรือนของชุมชนเป้าหมาย หลังจากใช้เทคโนโลยีเครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ สำหรับชุมชนตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์
        วัตถุประสงค์
          รายละเอียดกิจกรรม
          ๑. ศึกษารายได้ครัวเรือนจากผลิตผลการปลูกพริก หลังจากการใช้เครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ
          ๒. ศึกษาความพึงพอใจ ความสุขจากการที่มีรายได้ครัวเรือนเพิ่มมากขึ้นของประชาชน
          ๓. สรุปผลการวิจัย
          ระยะเวลาดำเนินงาน
          1 มิถุนายน 2563 ถึง
          ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
          การศึกษารายได้ครัวเรือนของชุมชนเป้าหมาย หลังจากใช้เทคโนโลยีเครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ สำหรับชุมชนตำบลลำคลอง อำเภอเมืองจังหวัดกาฬสินธุ์
          ทรัพยากรอื่น ๆ
          ภาคีร่วมสนับสนุน
          ภาคีร่วมสนับสนุน
          เทศบาลตำบลลำคลองอำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์
          คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
          คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
          คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
          คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
          รายละเอียดงบประมาณ
          ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
          ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

          ค่าเดินทางอาจารย์และนักศึกษาในการลงพื้นที่เก็บข้อมูลการทำงานเครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ จำนวน 5 ครั้ง x 3,000 บาท

          5 ครั้ง 3,000 1 15,000
          อื่น ๆ

          ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์ในการลงพื้นที่เก็บข้อมูลการทำงานเครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ จำนวน 240 บาท x 10 คน x 5 วัน

          10 คน 240 5 12,000
          อื่น ๆ

          ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์ในการลงพื้นที่เก็บข้อมูลการทำงานเครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ จำนวน 180 บาท x 10 คน x 5 วัน

          10 คน 180 5 9,000
          ค่าถ่ายเอกสาร

          ค่าจัดทำเอกสารประกอบการเก็บรวบรวมข้อมูลและสรุปผลการใช้ จำนวน 30 ชุด x 100 บาท

          30 ชุด 100 1 3,000
          ค่าวัสดุสำนักงาน

          ค่าวัสดุในสรุปและรายงานผลการดำเนินโครงการ

          1 ครั้ง 8,000 1 8,000
          รวมค่าใช้จ่าย 47,000

          รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

          ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
          ค่าใช้จ่าย (บาท) 72,000.00 240,000.00 131,000.00 57,000.00 500,000.00
          เปอร์เซ็นต์ (%) 14.40% 48.00% 26.20% 11.40% 100.00%

          11. งบประมาณ

          500,000.00บาท

          12. การติดตามประเมินผล

          ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
          ผลผลิต (Output) ชุมชนบ้านปลาเค้าน้อย ตำบลลำคลอง อำเภอเมืองจังหวัดกาฬสินธุ์ ได้เครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ ที่มีประสิทธิภาพและได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี ตลอดจนการจัดการธุรกิจให้มีคุณภาพ นักศึกษาจำนวน 12 คนได้เรียนรู้ร่วมกับชุมชนโดยบูรณาการศาสตร์ ส่งผลต่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ร่วมจัดทำโครงการพัฒนาเครื่อง อบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ และร่วมถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน
          ผลลัพธ์ (Outcome) ชุมชนสามารถใช้งานเครื่องอบได้อย่างมีประสิทธิผล พริกอบแห้งมีคุณภาพตามมาตรฐาน 1. นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 12 คน ร่วมจิตอาสาพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็ง
          2. นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการสามารถเทียบโอนรายวิชาในหลักสูตรดังนี้
          2.1สาขาวิชาบริหารธุรกิจเกษตรคณะเทคโนโลยีการเกษตรเทียบโอนได้ในภาคเรียนที่1/2563จำนวน5รายวชิาได้แก่
          1)รายวิชาการบัญชีสำหรับธุรกิจเกษตรรหัส4010420เทียบทั้งรายวิชา
          2)รายวิชาการวิเคราะห์โครงการและแผนงานธุรกิจเกษตรรหัส 5013442 เทียบทั้งรายวิชา
          3)รายวิชาการพัฒนาธุรกิจเกษตรชุมชนรหัส5013306เทียบทั้งรายวิชา
          4)รายวิชาปัญหาพิเศษทางบริหารธุรกิจเกษตร รหัส 5013381เทียบทั้งรายวิชา
          5)วิชาเลือกสาขาบริหารธุรกิจเกษตร เทียบทั้งรายวิชา
          2.2สาขาวิชา เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการสื่อสารคณะเทคโนโลยีสารสนเทศเทียบโอนได้ในภาคเรียนที่ 2/2563จำนวน1รายวิชาได้แก่
          1)รายวิชาการเขียนโปรแกรมสำหรับระบบสมองกลฝังตัวรหัส7042302 เทียบทั้งรายวิชา
          2.3สาขาวิชาวิศวกรรมการจัดการคณะวิศวกรรมศาสตร์เทียบโอนได้ในภาคเรียนที่ 1/2563จำนวน1รายวิชาได้แก่
          1)รายวิชาโครงการวิจัยวิศวกรรมการจัดการรหัส2033302เทียบทั้งรายวิชา
          2.4สาขาวิชาการบัญชีคณะวิทยาการจัดการเทียบโอนได้ในภาคเรียนที่1/2563จำนวน1รายวิชาได้แก่
          1)รายวิชาระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีรหัส40103051เทียบทั้งรายวิชา
          ผลกระทบ (Impact) ชุมชนมีรายได้ครัวเรือนเพิ่มมากขึ้น จากการจำหน่ายพริกอบแห้งและมีความพึงพอใจมีความสุขจากการได้ร่วมกิจกรรมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามที่สร้างรายได้ครัวเรือนเพิ่มมากขึ้น 1. นักศึกษาได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง การใช้ชีวิตในชุมชน สร้างพลังในการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น ชุมชนฐานราก เข้าใจชีวิตที่เป็นอยู่ มีความรัก และผูกพันธุ์กับชุมชน
          2. นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้เทียบโอนรายวิชาในหลักสูตรดังนี้
          2.1สาขาวิชาบริหารธุรกิจเกษตรคณะเทคโนโลยีการเกษตรเทียบโอนได้ในภาคเรียนที่1/2563จำนวน5รายวชิาได้แก่
          1)รายวิชาการบัญชีสำหรับธุรกิจเกษตรรหัส4010420 เทียบทั้งรายวิชา
          2)รายวิชาการวิเคราะห์โครงการและแผนงานธุรกิจเกษตรรหัส 5013442 เทียบทั้งรายวิชา
          3)รายวิชาการพัฒนาธุรกิจเกษตรชุมชนรหัส5013306เทียบทั้งรายวิชา
          4)รายวิชาปัญหาพิเศษทางบริหารธุรกิจเกษตร รหัส 5013381เทียบทั้งรายวิชา
          5)วิชาเลือกสาขาบริหารธุรกิจเกษตรเทียบทั้งรายวิชา
          2.2สาขาวิชา เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการสื่อสารคณะเทคโนโลยีสารสนเทศเทียบโอนได้ในภาคเรียนที่ 2/2563จำนวน1รายวิชาได้แก่
          1)รายวิชาการเขียนโปรแกรมสำหรับระบบสมองกลฝังตัวรหัส7042302เทียบทั้งรายวิชา
          2.3สาขาวิชาวิศวกรรมการจัดการคณะวิศวกรรมศาสตร์เทียบโอนได้ในภาคเรียนที่ 1/2563จำนวน1รายวิชาได้แก่
          1)รายวิชาโครงการวิจัยวิศวกรรมการจัดการรหัส2033302 เทียบทั้งรายวิชา
          2.4สาขาวิชาการบัญชีคณะวิทยาการจัดการเทียบโอนได้ในภาคเรียนที่1/2563จำนวน1รายวิชาได้แก่
          1)รายวิชาระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีรหัส40103051เทียบทั้งรายวิชา
          นำเข้าสู่ระบบโดย THARACH469 THARACH469 เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 22:37 น.