การพัฒนาศักยภาพกลุ่มกลุ่มปลูกผักบ้านคำมะโฮ

แบบเสนอโครงการ
การพัฒนาศักยภาพกลุ่มกลุ่มปลูกผักบ้านคำมะโฮ

1. ชื่อโครงการ

การพัฒนาศักยภาพกลุ่มกลุ่มปลูกผักบ้านคำมะโฮมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่นคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่นสำนักงานสำนักงานเกษตรอำเภอห้วยเม็ก จ.กาฬสินธุ์กลุ่มแปลงใหญ่เห็ดม.4 ต.คำเหมือดแก้ว อ.ห้วยเม็ก จ.กาฬสินธุ์ดร.ฉัตรแก้วสุริยะภาสาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหการ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น083-34873731.ผศ.เอกสิทธิ์เซ็นหอม
2. ดร.ณภัทรอินทนนท์ อาจารย์คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
3.น.ส.กรรณิกา บุตรอุดมอาจารย์คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
4.ผศ.ดร.ทายวุฒิ โพธิ์ทองแสงอรุณ อาจารย์คณะบริหารธุรกิจฯ
5.นายเอกชัยคุปวาทิน อาจารย์คณะวิศวกรรมศาสตร์
6.น.ส.ฐิติพร จันทร์ดา อาจารย์คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
7.นางจีรวรรณยาวระ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
8.น.ส.ปัทมมเกสร์ราชธานี แผนกงานวิจัยและพัฒนา สนง.วิทยาเขต
9. นายวรุตม์กลืนกระโทก นักศึกษาสาขาอส.บ.เทคโนโลยีอุตสาหการ
10.นายชาญชัยบุญสร้างนักศึกษาสาขาอส.บ.เทคโนโลยีอุตสาหการ
11.นายกฤษฎากร หงษ์คำนักศึกษาสาขาอส.บ.เทคโนโลยีอุตสาหการ
12. นายอภิวิชญ์ เจ้าทรัพย์นักศึกษาสาขาอส.บ.เทคโนโลยีอุตสาหการ
13.นายเอกวัชร ศิริสุทธา นักศึกษาสาขาอส.บ.เทคโนโลยีอุตสาหการ
14.นายพีระพล เข็มศรนักศึกษาสาขาอส.บ.เทคโนโลยีอุตสาหการ
15.นายวิชิตจันทร์มี นักศึกษาสาขาอส.บ.เทคโนโลยีอุตสาหการ
16.น.ส.ผ่องนภา คูณพรม นักศึกษาสาขาการตลาด
17.น.ส.อลีนา วิลาชัยนักศึกษาสาขาการตลาด
18.น.ส.สุดารัตน์ เศษวิโถ นักศึกาษาสาขาการตลาด

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ ห้วยเม็ก คำเหมือดแก้ว

3. รายละเอียดชุมชน

เป็นกลุ่มที่มีการรวมกันในการผลิตผักปลอดภัยตามนโยบายการส่งเสริมการปลูกผักเพื่อการค้าของจังหวัดกาฬสินธุ์ มีสมาชิกกลุ่ม 30 รายบ้านคำมะโฮมีทรัพยากรน้ำที่เพียงพอและเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกพืชได้ตลอดทั้งปีการทำลายทรัพยากรในพื้นที่ การขยายพื้นที่ปลูกพืชเชิงเดี่ยวทางการเกษตร ใช้สารเคมีสภาพแวดล้อมเสื่อมโทรมผลผลิตตกต่ำ ปัญหาหนี้สิน, รายได้น้อยสุขภาพเสื่อมโทรม ปัญหาสังคมผลิตภัณฑ์คุณภาพด้อยลง/การแปรรูปไม่ได้มาตรฐานต้องการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง ขยายสมาชิกกลุ่ม และชุมชนให้ดีมีรายได้เพิ่มขึ้น ต้องการพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ในชุมชน มีการผลิตที่ดี เป็นระบบ การผลิตที่ปลอดภัยตรงตามความต้องการของตลาด เกษตรปลอดภัย หรือกลุ่มวิสาหกิจที่สามารถสร้างรายได้หลายการเก็บเกี่ยว หรือให้กับกลุ่มอาชีพต่างๆ ในชุมชน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1.กระบวนการวิจัยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
2. การเพิ่มมูลค่าโดยการจัดการระบบการผลิต
3. Smart farm
4.การแปรรูปและบรรจุภัณฑ์
5. ระบบบัญชี การจัดจำหน่าย และการจัดการ

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อวิเคราะห์บริบทของกลุ่มแปลงใหญ่เห็ด ม.4 ต.คำเหมือนแก้ว อ.ห้วยเม็ก จ.กาฬสินธุ์

-แผนพัฒนากลุ่มแปลงใหญ่เห็ด

1.00 1.00
2 2.เพื่อวิจัยและพัฒนานวัตกรรมในการพัฒนาศักยภาพของแปลงใหญ่เห็ด

-โรงเรือนและการออกแบบ -อุปกรณ์ช่วยเหลือด้านการผลิตก้อนเชื้อ -การแปรรูปและการจัดการของเหลือจากการผลิต

10.00 10.00
3 3.เพื่อพัฒนาต่อยอดมูลค่าผลิตภัณฑ์

-Smart enterprise บนเว็ปไซด์ วิธีการสื่อสารสากล ระบบบัญชี การจัดจำหน่วย และการจัดการ

1.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 1.เตรียมความพร้อมกระบวนการวิจัยแบบมีส่วนร่วมในชุมขนให้กับอาจารย์ที่ปรึกษาและนักศึกษา

ชื่อกิจกรรม
1.เตรียมความพร้อมกระบวนการวิจัยแบบมีส่วนร่วมในชุมขนให้กับอาจารย์ที่ปรึกษาและนักศึกษา
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    จัดประชุม ทีมอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ และนักศึกษา เพื่อแจ้งวัตถุประสงค์ และวิธีดำเนินงานโครงการ 1 ครั้ง
    - อบรมให้ความรู้แก่นักศึกษาในด้านการวิจัยชุมชน, การใช้เครื่องมือในการวิจัย, การเก็บรวบรวมข้อมูล, การปรับตัวให้สอดคล้องกับบริบทของชุมชน
    -ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการให้กับกลุ่มเป้าหมายในชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 พฤศจิกายน 2562 ถึง 30 พฤศจิกายน 2562
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ผลผลิต (Output) -ได้เรียนรู้ในวิถีชุมชนและเศรษฐกิจพอเพียงในบริบทของพื้นที่และการนำนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
    -กลุ่มมีแผนการดำเนินงาน
    ผลลัพธ์(Outcome)-มีองค์ความรู้ในการปฏิบัติงานได้จริง
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    -มหาวิทยาลัยกาฬสินธ์ุ
    -สำนักงานสำนักงานเกษตรอำเภอห้วยเม็ก จ.กาฬสินธุ์
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    อื่น ๆ

    กิจกรรมประชุมทีม-ค่าอาหารว่าง

    50 คน 30 1 1,500
    ค่าอาหาร

    กิจกรรมประชุมทีม-ค่าอาหารกลางวัน

    50 คน 100 1 5,000
    ค่าถ่ายเอกสาร 50 ชุด 50 1 2,500
    อื่น ๆ

    กิจกรรมอบรมให้ความรู้นักศึกษา- ค่าอาหารว่าง

    50 คน 30 3 4,500
    ค่าอาหาร

    กิจกรรมอบรมให้นักศึกษา-ค่าอาหารกลางวัน

    50 คน 100 3 15,000
    ค่าถ่ายเอกสาร

    กิจกรรมอบรมนักศึกษา-ค่าถ่ายเอกสาร

    50 คน 30 1 1,500
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    กิจกรรมอบรมนักศึกษา-ค่าตอบแทนวิทยากร

    5 คน 600 8 24,000
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    กิจกรรมประชุมชี้แจงกลุ่มเป้าหมาย

    5 คน 600 8 24,000
    ค่าตอบแทนการประสานงาน

    กิจกรรมประชุมชี้แจงกลุ่มเป้าหมาย

    3 คน 240 1 720
    อื่น ๆ

    กิจกรรมประชุมชี้แจงกลุ่มเป้าหมาย-ค่าอาหารกลางวัน

    50 คน 100 1 5,000
    อื่น ๆ

    กิจกรรมชี้แจงกลุ่มเป้าหมาย-ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษาช่วยงาน

    10 คน 160 1 1,600
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

    กิจกรรมประชุมชี้แจงกลุ่มเป้าหมาย

    4 เที่ยว 375 1 1,500
    อื่น ๆ

    กิจกรรมประชุมชี้แจงกลุ่มเป้าหมาย-ค่าอาหารว่าง

    50 คน 30 1 1,500
    รวมค่าใช้จ่าย 88,320

    กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ Transect walk, calendar, SWOT Focus group, In-dept. interview

    ชื่อกิจกรรม
    กิจกรรมวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ Transect walk, calendar, SWOT Focus group, In-dept. interview
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      -กระบวนการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนากลุ่ม 1 ครั้ง
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      1 ธันวาคม 2562 ถึง 31 ธันวาคม 2562
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      ผลผลิต(Output) - -สมาชิกของกลุ่มแปลงใหญ่เห็ดมีจำนวนเพิ่มขึ้น
      -กลุ่มมีแผนการดำเนินงาน
      ผลลัพธ์ (Outcome) --มีองค์ความรู้ด้านการออกแบบการสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์จากการปลูกเห็ด
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      -มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
      -สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอห้วยแม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      ค่าตอบแทนวิทยากร 5 คน 600 16 48,000
      อื่น ๆ

      ค่าเบี้ยเลี้ยง จนท.

      3 คน 240 2 1,440
      อื่น ๆ

      เบี้ยเลี้ยงผู้ช่วยวิทยากร

      3 คน 300 16 14,400
      ค่าอาหาร

      ค่าอาหารกลางวัน

      60 คน 100 2 12,000
      ค่าอาหาร

      ค่าอาหารว่าง

      60 คน 50 2 6,000
      อื่น ๆ

      ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษาช่วยงาน

      10 คน 160 2 3,200
      ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 1 เที่ยว 1,000 4 4,000
      อื่น ๆ 1 ครั้ง 15,000 1 15,000
      รวมค่าใช้จ่าย 104,040

      กิจกรรมที่ 3 3.กิจกรรมพัฒนา นวัตกรรมพัฒนา นวัตกรรมในการ พัฒนาศักยภาพของ แปลงใหญ่เห็ด

      ชื่อกิจกรรม
      3.กิจกรรมพัฒนา นวัตกรรมพัฒนา นวัตกรรมในการ พัฒนาศักยภาพของ แปลงใหญ่เห็ด
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        - โรงเรือนและการออกแบบ
        -อุปกรณ์ช่วยเหลือด้าน การผลิตก้อนเชื้อ
        - การแปรรูป และการจัดการขอวงเหลือจากการผลิต
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        1 มกราคม 2563 ถึง 31 มกราคม 2563
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        ผลผลิต (Output)-มีองค์ความรู้ด้านการออกแบบการสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์จากการปลูกเห็ด การทำก้อนเพาะเห็ด การทำหม้อนึ่งก้อนเชื้อที่ผลิตตามความต้องการของตลาด
        80 เปอร์เซนต์ของสมาชิกปฏิบัติได้
        ผลลัพธ์ (Outcome) - เป็นมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ และการนำใช้ประโยชน์จากทรัพยากรท้องถิ่นที่มีอยู่ในชุมชน
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        -มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
        -สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอห้อยแม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 600 8 9,600
        อื่น ๆ

        ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

        10 คน 160 90 144,000
        ค่าตอบแทนวิทยากร

        ค่าผู้ช่วยวิทยากร

        2 คน 300 8 4,800
        ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 3 ชุด 5,000 1 15,000
        ค่าอาหาร

        ค่าอาหารว่าง

        50 คน 50 6 15,000
        ค่าอาหาร

        ค่าอาหารกลางวัน

        50 คน 100 3 15,000
        ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

        ค่าอุปกรณ์เกี่ยวกับก้อนเชื้อ

        3 ชุด 15,000 1 45,000
        รวมค่าใช้จ่าย 248,400

        กิจกรรมที่ 4 4.กิจกรรมพัฒนาต่อยอดมูลค่าผลิตภัณฑ์

        ชื่อกิจกรรม
        4.กิจกรรมพัฒนาต่อยอดมูลค่าผลิตภัณฑ์
        วัตถุประสงค์
          รายละเอียดกิจกรรม
          - ให้ความรู้และฝึกปฏิบัติด้าน E-commerce การสื่อสารสากลและการเป็น smart enterprise บนเว็ปไซด์ ระบบบัญชี การจัดจำหน่าย และการจัดการ
          ระยะเวลาดำเนินงาน
          1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2563
          ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
          ผลผลิต (Output)-มีความรู้ในด้านการจัดทำบัญชีต้นทุน ระบบการจัดจำหน่ายทั้งในตลาดทั่วไป และออนไลน์ 80 ของสมาชิกปฏิบัติได้
          ผลผลิต (Outcome) -เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ และการนำใช้ประโยชน์จากทรัพยากรท้องถิ่นที่มีอยู่ในชุมชน
          -ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นและสามารถพึ่งพาตนเองและรู้การใช้ประโยชน์จากความรู้และการจัดการของเหลือทางการผลิต
          ทรัพยากรอื่น ๆ
          ภาคีร่วมสนับสนุน
          -มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
          -สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอห้วยแม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์
          รายละเอียดงบประมาณ
          ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
          ค่าตอบแทนวิทยากร 4 คน 600 8 19,200
          อื่น ๆ

          ค่าอาหารว่าง

          50 คน 50 4 10,000
          ค่าอาหาร 50 คน 100 2 10,000
          ค่าอาหาร

          ค่าอาหารกลางวัน

          50 คน 100 3 15,000
          อื่น ๆ 1 คน 5,040 1 5,040
          รวมค่าใช้จ่าย 59,240

          รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

          ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
          ค่าใช้จ่าย (บาท) 130,320.00 102,500.00 60,000.00 207,180.00 500,000.00
          เปอร์เซ็นต์ (%) 26.06% 20.50% 12.00% 41.44% 100.00%

          11. งบประมาณ

          500,000.00บาท

          12. การติดตามประเมินผล

          ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
          ผลผลิต (Output) -สมาชิกของกลุ่มแปลงใหญ่เห็ดมีจำนวนเพิ่มขึ้น
          -กลุ่มมีแผนการดำเนินงาน
          -มีองค์ความรู้ด้านการออกแบบการสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์จากการปลูกเห็ด การทำก้อนเพาะเห็ด การทำหม้อนึ่งก้อนเชื้อที่ผลิตตามความต้องการของตลาด
          80 เปอร์เซนต์ของสมาชิกปฏิบัติได้
          -มีความรู้ในด้านการจัดทำบัญชีต้นทุน ระบบการจัดจำหน่ายทั้งในตลาดทั่วไป และออนไลน์ 80 ของสมาชิกปฏิบัติได้
          -มีหน้าร้านออนไลน์เป็นของตนเอง 1 ร้านค้า
          -ได้ความรู้ในการทำวิจัยแบบมีส่วนร่วมในชุมชน
          -การทำแผนที่ชีวิต แนวทางในการพัฒนาตนเองและสังคม
          -การเรียนรู้ในวิถีชุมชนและเศรษฐกิจพอเพียงในบริบทของพื้นที่และการนำนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
          ผลลัพธ์ (Outcome) 1.องค์ความรู้ของมหาวิทยาลัยและหน่วยงาน มีการบูรณาการในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชน
          2.เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ และการนำใช้ประโยชน์จากทรัพยากรท้องถิ่นที่มีอยู่ในชุมชน
          3.ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นและสามารถพึ่งพาตนเองและรู้การใช้ประโยชน์จากความรู้และการจัดการของเหลือทางการผลิต
          -นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้
          องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานได้จริง
          -มีสำนึกในความเป็นธรรมและ
          มีจิตสาธารณะ
          ผลกระทบ (Impact) ได้รับองค์ความรู้ใหม่จากการวิจัยในชุมชนและ นวัตกรรมสังคมที่เกิดขึ้นมีคุณค่า และส่งผลต่อรูปแบบการพัฒนาชุมชนในอนาคต -สามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคมที่หลากหลายวัฒนธรรมและมีความเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
          นำเข้าสู่ระบบโดย cheerawan.ya cheerawan.ya เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 22:00 น.