อาสาประชารัฐ “ส่งเสริมเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ”

แบบเสนอโครงการ
อาสาประชารัฐ “ส่งเสริมเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ”

1. ชื่อโครงการ

อาสาประชารัฐ “ส่งเสริมเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ”กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานวิทยาเขตสุรินทร์ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดกาฬสินธุ์เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ตำบลธัญญา อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤติมา เสาวกูลสาขาประมง คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานวิทยาเขตสุรินทร์086-2496450 E-mail : krittima2562@gmail.com3310400049173 รองศาสตราจารย์ ดร.สำเนาว์เสาวกูล สาขาประมง คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี 089-8467202 (อาจารย์)
1459900135045 อาจารย์ ดร. ศุภลักษณ์ เกตุตากแดด สาขาประมง คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี 095-5342156 (อาจารย์)
1340200072485 อาจารย์ ดร. นิตยา ภูงาม สาขาอุตสาหกรรมเกษตร คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี 095-6620325(อาจารย์)
3469900175337 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีรเวทย์ อุทโธ สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ ม.อุบลราชธานี 084-7887122(อาจารย์)
3330100059157 อาจารย์ ดร. สุริยา อุดด้วง สาขาประมง คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี 085-7659595(อาจารย์)
3440800770456 นายธนภัทร มนัสไธสง สำนักงานวิทยาเขตสุรินทร์ 081-1016905(เจ้าหน้าที่)
1321000144530 นายจักรินทร์ สนุกแสน สำนักงานวิทยาเขตสุรินทร์ 087-7781901(เจ้าหน้าที่)
3320100099795 นางณิชาภา สารธิยากุล สำนักงานวิทยาเขตสุรินทร์ 085-3654990(เจ้าหน้าที่)
1341400165054 นายสหชาติ นวลวรรณ นักศึกษาสาขาประมง ชั้นปีที่ 3 คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี 061-1255968 (นักศึกษา)
1349900977934 นายชณาพงษ์ นิพขันธ์ นักศึกษาสาขาประมง ชั้นปีที่ 3 คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี 083-9232112 (นักศึกษา)
1451400183141 นายรัฐภูมิมีภักดี นักศึกษาสาขาประมง ชั้นปีที่ 3 คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี 092-5240866 (นักศึกษา)
1329900776432 นางสาวฐิติณัชชา เรียบร้อย นักศึกษาสาขาอุตสาหกรรมเกษตร ชั้นปีที่ 2 คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี 098-6323247 (นักศึกษา)
1329900828386 นางสาวสุนันทา ผนึกทอง นักศึกษาสาขาอุตสาหกรรมเกษตร ชั้นปีที่ 2 คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี 062-3172119 (นักศึกษา)
1329901023012 นางสาวจรัสพร จึงเปรมปรีด์ นักศึกษาสาขาอุตสาหกรรมเกษตร ชั้นปีที่ 2 คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี 095-2157646 (นักศึกษา)
1321200082139 นางสาวศิริวรรณบุราคร นักศึกษาสาขาอุตสาหกรรมเกษตร ชั้นปีที่ 2 คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี 084-4762975 (นักศึกษา)

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ กมลาไสย ธัญญา

3. รายละเอียดชุมชน

ตำบลธัญญา อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำประสบปัญหาด้านต้นทุนการผลิตสัตว์น้ำโดยเฉพาะอย่างยิ่งต้นทุนค่าอาหารสัตว์น้ำสูง ขาดการวางแผนการเลี้ยงที่ดีทำให้ราคาสัตว์น้ำตกต่ำ และขาดความรู้ด้านวิชาการในการจัดการดูแลระหว่างการเลี้ยงสัตว์น้ำ ทำให้สัตว์น้ำเกิดการตายและคุณภาพน้ำเน่าเสียต้องการให้หน่วยงานรัฐมาช่วยแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

ส่งเสริมเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ เริ่มตั้งแต่การเพาะพันธุ์สัตว์น้ำเศรษฐกิจ การใช้ฮอร์โมนในการเพาะพันธุ์และการแปลงเพศ การลดต้นทุนการผลิตสัตว์น้ำด้วยการใช้วัตถุดิบในท้องถิ่นมาเป็นส่วนผสมในการผลิตอาหารสัตว์น้ำเพื่อใช้เองในฟาร์ม การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อการจัดการในระบบการเลี้ยง เช่น การให้อาหาร การดูแลคุณภาพน้ำ การป้องกันและรักษาโรคสัตว์น้ำ การเพิ่มมูลค่าของผลผลิตสัตว์น้ำด้วยการแปรรูปและออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่ตรงตามความต้องการของตลาด การปริหารงานด้านการตลาด การเงินและบัญชี เป็นต้น

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อปฏิรูปการเรียนรู้ให้บัณฑิตในศตวรรษที่ 21 สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้เพื่อส่งเสริมเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำให้กับชุมชน
  • จำนวนนักศึกษาสามารถนำความรู้ทางวิชาชีพมาบูรณาการแก้ปัญหาด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ และสามารถส่งเสริมเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำให้กับชุมชน
7.00 7.00
2 2. เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาชุมชนในมิติต่างๆ ด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ โดยการนำความรู้ที่หลากหลายในสถาบันอุดมศึกษามาบูรณาการในการแก้ปัญหา
  • จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
  • ร้อยละของผลผลิตสัตว์น้ำต่อหน่วยพื้นที่เพิ่มขึ้น
  • ร้อยละของต้นทุนการผลิตสัตว์น้ำที่ลดลง
100.00 100.00
3 3. เพื่อส่งเสริมให้คนในชุมชนมีรายได้จากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเพิ่มมากขึ้น และสามารถพึ่งพาตนเองได้
  • ร้อยละของรายได้ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น
10.00 10.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ตำบลธัญญา อำเภอกมลาไส 100

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 - สำรวจบริบทและความต้องการของกลุ่มเกษตรกรและประชาชนผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ

ชื่อกิจกรรม
- สำรวจบริบทและความต้องการของกลุ่มเกษตรกรและประชาชนผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ
วัตถุประสงค์
  1. 1. เพื่อปฏิรูปการเรียนรู้ให้บัณฑิตในศตวรรษที่ 21 สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้เพื่อส่งเสริมเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำให้กับชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม
- สำรวจบริบทและความต้องการของกลุ่มเกษตรกรและประชาชนผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ตำบลธัญญา อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ ผู้นำกลุ่มเกษตรกร คุณนิตยา กัณฑิศักดิ์ เบอร์โทรศัพท์ 081-8739972
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 30 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
- สำรวจบริบทและความต้องการของกลุ่มเกษตรกรและประชาชนผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดกาฬสินธุ์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ

1 ครั้ง 100,000 1 100,000
รวมค่าใช้จ่าย 100,000

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมกลางทาง - การนำวัตถุดิบในท้องถิ่นมาเป็นส่วนผสมในการผลิตอาหารสัตว์น้ำใช้เอง เพื่อลดต้นทุน - การจัดการดูแลสัตว์น้ำระหว่างการเลี้ยง เช่น การให้อาหารในปริมาณที่เหมาะสม การคำนวณอัตราการเจริญเติบโต การตรวจวัดคุณภาพน้ำ การใช้ยาและสารเคมีในการป้องกันและร

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมกลางทาง - การนำวัตถุดิบในท้องถิ่นมาเป็นส่วนผสมในการผลิตอาหารสัตว์น้ำใช้เอง เพื่อลดต้นทุน - การจัดการดูแลสัตว์น้ำระหว่างการเลี้ยง เช่น การให้อาหารในปริมาณที่เหมาะสม การคำนวณอัตราการเจริญเติบโต การตรวจวัดคุณภาพน้ำ การใช้ยาและสารเคมีในการป้องกันและร
วัตถุประสงค์
  1. 2. เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาชุมชนในมิติต่างๆ ด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ โดยการนำความรู้ที่หลากหลายในสถาบันอุดมศึกษามาบูรณาการในการแก้ปัญหา
รายละเอียดกิจกรรม
- การนำวัตถุดิบในท้องถิ่นมาเป็นส่วนผสมในการผลิตอาหารสัตว์น้ำใช้เอง เพื่อลดต้นทุน
- การจัดการดูแลสัตว์น้ำระหว่างการเลี้ยง เช่น การให้อาหารในปริมาณที่เหมาะสม การคำนวณอัตราการเจริญเติบโต การตรวจวัดคุณภาพน้ำ การใช้ยาและสารเคมีในการป้องกันและรักษาโรคสัตว์น้ำ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 31 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
การนำวัตถุดิบในท้องถิ่นมาเป็นส่วนผสมในการผลิตอาหารสัตว์น้ำใช้เอง เพื่อลดต้นทุน - การจัดการดูแลสัตว์น้ำระหว่างการเลี้ยง เช่น การให้อาหารในปริมาณที่เหมาะสม การคำนวณอัตราการเจริญเติบโต การตรวจวัดคุณภาพน้ำ การใช้ยาและสารเคมีในการป้องกันและรักษาโรคสัตว์น้ำ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดกาฬสินธุ์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ

1 ครั้ง 250,000 1 250,000
รวมค่าใช้จ่าย 250,000

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมปลายทาง - การเพิ่มมูลค่าของผลผลิตสัตว์น้ำจากการแปรรูปตามความต้องการของตลาด

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมปลายทาง - การเพิ่มมูลค่าของผลผลิตสัตว์น้ำจากการแปรรูปตามความต้องการของตลาด
วัตถุประสงค์
  1. 3. เพื่อส่งเสริมให้คนในชุมชนมีรายได้จากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเพิ่มมากขึ้น และสามารถพึ่งพาตนเองได้
รายละเอียดกิจกรรม
- การเพิ่มมูลค่าของผลผลิตสัตว์น้ำจากการแปรรูปตามความต้องการของตลาด
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 31 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
- การเพิ่มมูลค่าของผลผลิตสัตว์น้ำจากการแปรรูปตามความต้องการของตลาด
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดกาฬสินธุ์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าตอบแทน ค่าใชัสอย ค่าวัสดุ

1 ครั้ง 150,000 1 150,000
รวมค่าใช้จ่าย 150,000

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

อื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 500,000.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 100.00% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) - เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ สามารถเพาะพันธุ์สัตว์น้ำเศรษฐกิจ ลดต้นทุนการผลิตด้วยการผลิตอาหารใช้เอง และนำวัตถุดิบในท้องถิ่นมาเป็นส่วนผสมในการผลิตอาหารเพื่อลดต้นทุนในการเลี้ยงสัตว์น้ำ
- เกษตรกรสามารถแปรรูปผลผลิตเพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่า และได้ผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำที่หลากหลายตรงตามความต้องการของผู้บริโภคและยังเป็นการถนอมรักษาผลผลิตสัตว์น้ำให้สามารถเก็บรักษาได้ยาวนานมากยิ่งขึ้น
- เกษตรกรสามารถจัดการดูแลสัตว์น้ำระหว่างการเลี้ยงโดยนำหลักวิชาการที่ได้รับมาช่วยให้สัตว์น้ำมีอัตราการรอดตายที่สูงขึ้น มีการเจริญเติบโตดีขึ้น ลดการเกิดโรคและการสูญเสียระหว่างการเลี้ยง ส่งผลให้มีกำไรและรายได้ที่สูงขึ้น
ซึ่งมีผู้นำกลุ่มเกษตรกร คือ คุณนิตยา กัณฑิศักดิ์ เบอร์โทรศัพท์ 081-8739972
นักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ เข้าไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาวิเคราะห์ปัญหาของชุมชนและให้ความช่วยเหลือในการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน จำนวน 7 คน
ผลลัพธ์ (Outcome) - ร้อยละของผลผลิตสัตว์น้ำต่อหน่วยพื้นที่เพิ่มขึ้น ≥ 15%
- ร้อยละของรายได้ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น ≥ 10%
- ร้อยละของต้นทุนการผลิตสัตว์น้ำลดลง ≥ 10%
- จำนวนรายวิชาในหลักสูตรที่มีการบูรณาการในการจัดการเรียนการสอนและแก้ปัญหาให้กับชุมชน จำนวนอย่างน้อย 3 รายวิชา ได้แก่
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาประมง
1)20-408-031-403ฝึกประสบการณ์วิชาชีพประมงจำนวน3หน่วยกิต
2)20-408-031-402ปัญหาพิเศษทางการประมงจำนวน3หน่วยกิต

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
1)51-408-044-405บรรจุภัณฑ์ในอุตสาหกรรมอาหารจำนวน3หน่วยกิต
ให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์
กิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างคณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ กับชุมชนท้องถิ่น เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนให้สูงขึ้น
ผลกระทบ (Impact) - ชุมชนพื้นที่เป้าหมายเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ตำบลธัญญา อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ ประสบปัญหาด้านการเพาะพันธุ์สัตว์น้ำการจัดการคุณภาพน้ำในการเลี้ยง เพื่อป้องกันการเกิดโรคสัตว์น้ำ รวมไปถึงการขาดแคลนความรู้ด้านการตลาดการเงิน และบัญชี โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาของต้นทุนค่าอาหารสัตว์น้ำสูง เนื่องขาดการวางแผนการเลี้ยงที่ดี ขาดการเข้าถึงเทคโนโลยีที่ในการจัดการดูแลระหว่างการเลี้ยงสัตว์น้ำ เพื่อให้ได้ผลผลิตที่คุ้มค่า และเกษตรกรขาดความรู้ทางวิชาการด้านการแปรรูปผลผลิตเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ ส่งผลให้มูลค่าของสัตว์น้ำเพิ่มขึ้นสามารถส่งเสริมให้คนในชุมชนมีรายได้จากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเพิ่มมากขึ้น และสามารถพึ่งพาตนเองได้ - นักศึกษาสามารถนำความรู้ทางวิชาชีพมาบูรณาการแก้ปัญหาด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ กระบวนการแปรรูปสัตว์น้ำเพื่อเพิ่มมูลค่า และสามารถส่งเสริมเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำให้กับชุมชน
นำเข้าสู่ระบบโดย jakkarin jakkarin เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 21:40 น.