เทคโนโลยีกังหันเติมอากาศแบบทุ่นลอยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อใช้ประโยชน์ในชุมชนต้นแบบเลี้ยงกุ้งอัจฉริยะสีเขียว

แบบเสนอโครงการ
เทคโนโลยีกังหันเติมอากาศแบบทุ่นลอยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อใช้ประโยชน์ในชุมชนต้นแบบเลี้ยงกุ้งอัจฉริยะสีเขียว

1. ชื่อโครงการ

เทคโนโลยีกังหันเติมอากาศแบบทุ่นลอยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อใช้ประโยชน์ในชุมชนต้นแบบเลี้ยงกุ้งอัจฉริยะสีเขียวมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคามคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามบ้านโนนหัวช้าง ตำบลนาเชือก อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชวิศร ปูคะภาค80 ถนนนครสวรรค์ ต.ตลาด อ.เมือง จ.มหาสารคาม 44000 สาขาวิศวกรรมพลังงานและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม0834565335อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร.พันธิวา แก้วมาตย์ สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร.สุธาสินี อัตถากร สาขารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
นักศึกษา นางสาวชไมพร คำเกษ รหัสนักศึกษา 603121010101 บัตรประจำตัวประชาชน 1471100185245 สาขาวิศวกรรมพลังงานและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.ราชภัฎมหาสารคาม รายวิชาเตรียมโครงงานวิศวกรรมพลังงานและสิ่งแวดล้อม รหัสวิชา 2110401 จำนวนหน่วยกิต 1 หน่วยกิต 1(0-3-1)
นักศึกษา นายธเนศพล ไชยมะโรง รหัสนักศึกษา 603121010106 บัตรประจำตัวประชาชน 1101700256847 สาขาวิศวกรรมพลังงานและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.ราชภัฎมหาสารคาม รายวิชาเตรียมโครงงานวิศวกรรมพลังงานและสิ่งแวดล้อม รหัสวิชา 2110401 จำนวนหน่วยกิต 1 หน่วยกิต 1(0-3-1)
นักศึกษา นายเพชร เบาราญ รหัสนักศึกษา 603121010108 บัตรประจำตัวประชาชน 1411001162425 สาขาวิศวกรรมพลังงานและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.ราชภัฎมหาสารคาม รายวิชาเตรียมโครงงานวิศวกรรมพลังงานและสิ่งแวดล้อม รหัสวิชา 2110401 จำนวนหน่วยกิต 1 หน่วยกิต 1(0-3-1)
นักศึกษา นายศราวุฒิ เหลืองพูล รหัสนักศึกษา 603121010112 บัตรประจำตัวประชาชน 1471100180472 สาขาวิศวกรรมพลังงานและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.ราชภัฎมหาสารคาม รายวิชาเตรียมโครงงานวิศวกรรมพลังงานและสิ่งแวดล้อม รหัสวิชา 2110401 จำนวนหน่วยกิต 1 หน่วยกิต 1(0-3-1)
นักศึกษา นางสาวชลธิชา หลงสีดา รหัสนักศึกษา 613162090205 บัตรประจำตัวประชาชน 1200101851614 สาขารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ม.ราชภัฏมหาสารคาม รายวิชาวิธีวิจัยและสถิติศาสตร์เบื้องต้น รหัสวิชา 6212109 จำนวนหน่วยกิต 3 หน่วยกิต 3(2-2-5)
นักศึกษา นางสาวปิยฉัตร รักภักดี รหัสนักศึกษา 613162090213 บัตรประจำตัวประชาชน 1449900554099 สาขารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ม.ราชภัฏมหาสารคาม รายวิชาวิธีวิจัยและสถิติศาสตร์เบื้องต้น รหัสวิชา 6212109 จำนวนหน่วยกิต 3 หน่วยกิต 3(2-2-5)
นักศึกษา นางสาวรติกา แพงศรี รหัสนักศึกษา 603120020121 บัตรประจำตัวประชาชน 1469900426431 สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.ราชภัฏมหาสารคาม รายวิชาโครงการวิจัยทางชีววิทยา รหัสวิชา 2011401 จำนวนหน่วยกิต 3 หน่วยกิต 3(2-2-5)
นักศึกษา นางสาวรัตนาหนอสีหา รหัสนักศึกษา 603120020123 บัตรประจำตัวประชาชน 11441000087306 สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.ราชภัฏมหาสารคาม รายวิชาโครงการวิจัยทางชีววิทยา รหัสวิชา 2011401 จำนวนหน่วยกิต 3 หน่วยกิต 3(2-2-5)

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ ยางตลาด นาเชือก พื้นที่เฉพาะ:ลุ่มน้ำ
กาฬสินธุ์ ยางตลาด นาเชือก ชนบท

3. รายละเอียดชุมชน

อำเภอยางตลาดเดิมชื่อ อำเภอปจิมกาฬสินธุ์ ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2451 หลังจากมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ และแบ่งเขตการปกครองออกเป็นมณฑล จังหวัด อำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน อำเภอปจิมกาฬสินธุ์ตั้งที่ว่าการอยู่ที่บ้านดงเค็ง หมู่ที่ 4 ตำบลดอนสมบูรณ์ ลักษณะอาคารที่ว่าการอำเภอเป็นอาคารสร้างด้วยไม้ทั้งหลัง
ต่อมาทางราชการเห็นว่า การตั้งชื่ออำเภอโดยใช้ทิศทางเป็นหลักจะทำให้ประชาชนเข้าใจยาก จึงเปลี่ยนชื่ออำเภอปจิมกาฬสินธุ์ ("กาฬสินธุ์ตะวันตก") เป็น อำเภอภูแล่นช้าง ใน พ.ศ. 2456 ทั้งนี้เพื่อรักษาชื่อเมืองภูแล่นช้างไว้ไม่ให้สูญหายไป หลังจากนั้นทางราชการได้ย้ายที่ว่าการอำเภอภูแล่นช้างจากบ้านดงเค็งมาตั้งที่บ้านยางซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของหนองหมาจอก ใน พ.ศ. 2460 จึงมีการเปลี่ยนชื่ออำเภอจาก "ภูแล่นช้าง" เป็น อำเภอยางตลาด ตามชื่อบ้านยางซึ่งได้รับการพัฒนาให้มีความเจริญมาจนถึงปัจจุบัน
ที่ตั้งและอาณาเขตตำบลนาเชือก
ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของอำเภอยางตลาด มีพื้นที่ 55 ตารางกิโลเมตร หรือ 36,300 ไร่ อยู่ห่างจากอำเภอยางตลาด ประมาณ 26 กิโลเมตร มีอาณาเขต ดังนี้คือ
ทิศเหนือ ติดอยู่กับ เขื่อนลำปาว อำเภอเมือง จังหวัดกาสินธุ์
ทิศตะวันออก ติดอยู่กับ ตำบลลำคลอง ตำบลบึงวิชัย อำเภอเมือง จังหวัดกาสินธุ์ โดยมีลำน้ำปาว เป็นแนวเขต ทิศใต้ ติดอยู่กับ ตำบลบัวบาน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาสินธุ์
ทิศตะวันตก ติดอยู่กับ ตำบลเขาพระนอน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาสินธุ์

สภาพภูมิประเทศ และลักษณะภูมิอากาศ
สภาพภูมิประเทศ สภาพเป็นที่ลาบลุ่ม สลับกับที่ราบสูง ทิศใต้ มีสวนป่าสาธารณประโยชน์ ชื่อสวนป่าดงระแนง กั้นเขตกับเทศบาลบัวบาน ทิศเหนือติดเขื่อนลำปาว
ลักษณะภูมิอากาศ มีฝนตกเฉลี่ยประมาณ 1,150 มม./ปี อุณหภูมิเฉลี่ย 32 องศาเซลเซียส ประกอบด้วย 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ จนถึงเดือนเดือนพฤษภาคม อากาศจะร้อนจัดในช่วงเดือนเมษายนของทุกปี ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม เป็นต้นไป จนถึงเดือนตุลาคม โดยจะมีฝนตกชุกในช่วงเดือนสิงหาคมของทุกปี ฤดูหนาวเริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคมเป็นต้นไป จนถึงเดือนกุมภาพันธ์และหนาวจัดในเดือนธันวาคมของทุกปี

จำนวนหมู่บ้าน ในเขตตำบลนาเชือก มี 14 หมู่บ้าน ดังนี้
หมู่ที่ 1 บ้านนาเชือกหมู่ที่ 2 บ้านนาเชือกเหนือ
หมู่ที่ 3 บ้านท่าเรือหมู่ที่ 4 บ้านแสนสำราญ
หมู่ที่ 5 บ้านหนองกาวหมู่ที่ 6 บ้านนาแก
หมู่ที่ 7 บ้านเลิงทุ่มหมู่ที่ 8 บ้านวังฝั่งแดง
หมู่ที่ 9 บ้านโนนภักดีหมู่ที่ 10 บ้านโนนลาน
หมู่ที่ 11 บ้านนาเชือกใหม่หมู่ที่ 12 บ้านโนนสวรรค์
หมู่ที่ 13 บ้านโนนหัวช้างหมู่ที่ 14 บ้านนาแกใต้

จำนวนประชากร
องค์การบริหารส่วนตำบลนาเชือก มีประชากรทั้งสิ้น 7,453 คน แยกเป็น ชาย 3,739 คน หญิง 3,714 คน จำนวนครัวเรือน 2,109 ครัวเรือน
สภาพเศรษฐกิจและสังคมโดยภาพรวม
สภาพเศรษฐกิจ อาศัยพื้นฐานทางด้านการเกษตรเป็นอาชีพหลัก ทำรายได้ให้แก่ประชาชน เช่น ทำนา การเลี้ยงกุ้งก้ามกราม นอกจากนั้นประกอบอาชีพรับจ้างและการใช้แรงงาน ทั้งในพื้นที่และนอกเขตพื้นที่รองลงมาคืออาชีพ ค้าขายสินค้าการเกษตร ร้านค้าเครื่องอุปโภค บริโภค ในครัวเรือน
สภาพสังคม เป็นลักษณะสังคมชาวบ้าน ยังคงระบบเครือญาติเป็นส่วนใหญ่ ประชาชนในชุมชนมีความผูกพันกันมาก มีความสมานสามัคคี ร่วมกันทำกิจกรรม รักษาประเพณีวัฒนธรรมของท้องถิ่นอย่างเข้มแข็ง
จากการศึกษากรณีบ่อเลี้ยงกุ้ง บ้านโนนหัวช้าง ตำบลนาเชือก อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นแหล่งชุมชนที่อาศัยอยู่ใกล้เขตเขื่อนลำปาว มีอาชีพในการเลี้ยงกุ้งและจับสัตว์น้ำมาจำหน่ายสร้างรายได้ให้กับครอบครัว ปัญหาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำที่ใช้เลี้ยงกุ้งเปลี่ยนแปลงตามสภาพแวดล้อม ที่เกิดจากน้ำท่วมหรือภัยแล้ง ชึ่งในช่วงที่เกิดภัยแล้งหรือช่วงหน้าร้อนจะทำให้ปริมาณน้ำลดลงและเริ่มอยู่นิ่งไม่มีการไหลเวียน อุณหภูมิจะสูงขึ้นและอากาศจะร้อนจัดในตอนกลางวัน โดยอาจต่อเนื่องยาวนานหลายเดือน จากสภาวะดังกล่าวอาจทำให้อุณหภูมิน้ำเปลี่ยนแปลงสูงขึ้นรวมทั้งปริมาณออกซิเจนในน้ำลดต่ำกว่าค่ามาตรฐาน อีกทั้งไม่มีการไหลเวียนของกระแสน้ำ ซึ่งเป็นสาเหตุให้กุ้งที่เกษตรกรเลี้ยงไว้เกิดความเครียด อ่อนแอและมีความทนทานต่อโรคต่ำลงส่งผลให้กุ้งตายเป็นจำนวนมาก ส่งผลกระทบให้เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งขาดทุนและเป็นหนี้จากการกู้ยืมเงินมาลงทุน1. เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และนวัตกรรมที่ได้จากการวิจัยสู่ชุมชนและท้องถิ่น
2. เพื่อยกระดับและพัฒนาสินค้าทางการเกษตร
3. เพื่อส่งเสริมผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเพื่อโอกาสในการประกอบอาชีพ

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

เทคโนโลยีกังหันเติมอากาศแบบทุ่นลอยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อใช้ประโยชน์ในชุมชนต้นแบบเลี้ยงกุ้งอัจฉริยะสีเขียว

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และนวัตกรรมที่ได้จากการวิจัยสู่ชุมชนและท้องถิ่น
  1. ด้านวิชาการ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีกังหันเติมอากาศแบบทุ่นลอยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อใช้ประโยชน์ในชุมชนต้นแบบเลี้ยงกุ้งอัจฉริยะสีเขียว
  2. ด้านสังคม และชุมชน เกิดชุมชนต้นแบบเลี้ยงกุ้งอัจฉริยะสีเขียว โดยการส่งเสริมการนำเทคโนโลยีมาใช้เพิ่มประสิทธิภาพในภาคการประมง เพื่อให้สามารถแก้ปัญหาได้ทันเวลา ลดการตายของสัตว์น้ำและเป็นการพัฒนาเกษตรกรเข้าสู่ Smart Shrimp Farmer เพื่อช่วยเพิ่มศักยภาพด้านการผลิตในการเลี้ยงกุ้งให้แก่กลุ่มชุมชน รวมทั้งเป็นการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการพัฒนาในการเลี้ยงกุ้งของเกษตรกรที่ยังเป็นการเลี้ยงรูปแบบเดิมที่ได้ผลผลิตต่ำและพัฒนาระบบให้เป็นชุมชนต้นแบบเลี้ยงกุ้งอัจฉริยะสีเขียวอย่างยั่งยืนต่อไป
  3. ด้านเศรษฐกิจ สามารถเพิ่มรายได้ให้แก่ชุมชนต้นแบบเลี้ยงกุ้งและเพิ่มมูลค่าปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้น เพื่อเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพและเป็นแนวทางในการพัฒนาชุมชนต้นแบบเลี้ยงกุ้งอัจฉริยะสีเขียว
1.00 1.00
2 2. เพื่อยกระดับและพัฒนาสินค้าทางการเกษตร

จำนวยผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน

1.00 1.00
3 3. เพื่อส่งเสริมผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเพื่อโอกาสในการประกอบอาชีพ

เพิ่มโอกาสการประกอบอาชีพ

0.50 0.40
4 4. เพื่อเพิ่มศักยภาพการใช้เทคโนโลยีกังหันเติมอากาศแบบทุ่นลอยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์โดยการนำความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ต่อยอดภูมิปัญญาพื้นบ้าน

ปริมาณออกซิเจนในน้ำที่เพิ่มขึ้น

0.50 0.40
5 5. เพื่อวิเคราะห์ต้นทุนการใช้เทคโนโลยีกังหันเติมอากาศแบบทุ่นลอยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ขยายผลสำหรับหาจุดคุ้มทุนของโครงการ

ปริมาณต้นทุนการผลิตลดลงร้อยละ 25

0.50 0.30

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ชุมชนบ้านโนนหัวช้าง ต.เชือก อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์ 50
นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 8
อาจารย์ในมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 3

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการจัดทำแผนชุมชนต้นแบบเลี้ยงกุ้งอัจฉริยะสีเขียว

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมการจัดทำแผนชุมชนต้นแบบเลี้ยงกุ้งอัจฉริยะสีเขียว
วัตถุประสงค์
  1. 1. เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และนวัตกรรมที่ได้จากการวิจัยสู่ชุมชนและท้องถิ่น
รายละเอียดกิจกรรม
จัดประชุมเพื่อจัดทำแผนในการดำเนินงานเพื่อคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายในการเป็นชุมชนต้นแบบเลี้ยงกุ้งอัจฉริยะสีเขียวร่วมกับผู้นำชุมชน โรงเรียน และชาวบ้าน และจัดทำแผนเพื่อสร้างแหล่งเรียนรู้ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมที่พร้อมจัดแสดงเกี่ยวกับเทคโนโลยีกังหันเติมอากาศด้วยพลังงานแสงอาทิตย์
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
เกิดแหล่งเรียนรู้ชุมชนต้นแบบเลี้ยงกุ้งอัจฉริยะสีเขียว
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
ชุมชนบ้านโนนหัวช้าง ต.เชือก อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
ศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร

4 คน 3,600 2 28,800
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลสงวัน และอาหารว่างจำนวน 2 วัน

50 คน 200 2 20,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าเอกสาร

50 คน 200 1 10,000
รวมค่าใช้จ่าย 58,800

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสร้างชุมชนต้นแบบเลี้ยงกุ้งอัจฉริยะสีเขียว

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมสร้างชุมชนต้นแบบเลี้ยงกุ้งอัจฉริยะสีเขียว
วัตถุประสงค์
  1. 1. เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และนวัตกรรมที่ได้จากการวิจัยสู่ชุมชนและท้องถิ่น
  2. 4. เพื่อเพิ่มศักยภาพการใช้เทคโนโลยีกังหันเติมอากาศแบบทุ่นลอยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์โดยการนำความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ต่อยอดภูมิปัญญาพื้นบ้าน
รายละเอียดกิจกรรม
ค่ายอบรมเชิงปฏิบัติการ “รู้รักษาสิ่งแวดล้อม นำชุมชนพัฒนา สู่การใช้พลังงานทางเลือก ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ในครัวเรือน”
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
สร้างกลุ่มคนที่มีความรักษ์ต่อสิ่งแวดล้อม / ชุมชนต้นแบบด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
ชุมชนบ้านโนนหัวช้าง ต.เชือก อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
ศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าออกแบบและพัฒนากังหันเติมอากาศแบบทุ่นลอยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์

1 ครั้ง 10,000 1 10,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าประกอบสร้างและติดตั้งกังหันเติมอากาศแบบทุ่นลอยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์

1 ครั้ง 60,000 1 60,000
อื่น ๆ

ค่าจ้างเหมาสำหรับการเก็บข้อมูลและการทดลองหาค่าต่างๆตลอดโครงการ

1 ครั้ง 44,400 1 44,400
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

ค่าน้ำมันพาหนะตลอดโครงการ

1 ครั้ง 2,500 8 20,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

ค่าเช่าเหมารถตู้

1 ครั้ง 1,800 6 10,800
รวมค่าใช้จ่าย 145,200

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมศูนย์การเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีกังหันเติมอากาศแบบทุ่นลอยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมศูนย์การเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีกังหันเติมอากาศแบบทุ่นลอยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์
วัตถุประสงค์
  1. 4. เพื่อเพิ่มศักยภาพการใช้เทคโนโลยีกังหันเติมอากาศแบบทุ่นลอยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์โดยการนำความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ต่อยอดภูมิปัญญาพื้นบ้าน
  2. 5. เพื่อวิเคราะห์ต้นทุนการใช้เทคโนโลยีกังหันเติมอากาศแบบทุ่นลอยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ขยายผลสำหรับหาจุดคุ้มทุนของโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม
สร้างแหล่งเรียนรู้ด้านพลังงานแสงอาทิตย์และอนุรักษ์พลังงานโดยมีการจัดแสดงเทคโนโลยีกังหันเติมอากาศแบบทุ่นลอยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อใช้ประโยชน์ในชุมชนต้นแบบเลี้ยงกุ้งอัจฉริยะสีเขียว
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลิต
จำนวยแหล่งเรียนรู้ที่เกิดขึ้นในชุมชน
ปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ผลิตได้
จำนวนนวัตกรรมที่พัฒนากระบวนการเลี้ยงกุ้ง
ผลลัพธ์
แหล่งเรียนรู้ด้านพลังงานแสงอาทิตย์ / ส่วนจัดแสดงเทคโนโลยีกังหันเติมอากาศแบบทุ่นลอยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์
ทรัพยากรอื่น ๆ
กลุ่มเพาะเลี้ยงกุ้งในชุมชน
ภาคีร่วมสนับสนุน
ชุมชนบ้านโนนหัวช้าง ต.เชือก อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
ศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าวัสดุสำหรับชุดทดสอบกังหันเติมอากาศแบบทุ่นลอยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์

1 ครั้ง 50,000 1 50,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

. ค่าวัสดุสร้างกังหันเติมอากาศแบบทุ่นลอยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์

1 ครั้ง 80,000 1 80,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าจัดพิมพ์เอกสาร เอกสารการประชาสัมพันธ์ ค่าสิ่งพิมพ์โปสเตอร์ อื่นๆ

1 ครั้ง 20,000 1 20,000
รวมค่าใช้จ่าย 150,000

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมสรุปผลและถอดบทเรียน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมสรุปผลและถอดบทเรียน
วัตถุประสงค์
  1. 2. เพื่อยกระดับและพัฒนาสินค้าทางการเกษตร
  2. 4. เพื่อเพิ่มศักยภาพการใช้เทคโนโลยีกังหันเติมอากาศแบบทุ่นลอยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์โดยการนำความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ต่อยอดภูมิปัญญาพื้นบ้าน
  3. 5. เพื่อวิเคราะห์ต้นทุนการใช้เทคโนโลยีกังหันเติมอากาศแบบทุ่นลอยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ขยายผลสำหรับหาจุดคุ้มทุนของโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม
ศูนย์การเรียนรู้ด้านพลังงานและอนุรักษ์พลังงาน เป็นโครงการที่ตอบสนองและเล็งเห็นความสำคัญของการใช้พลังงานทดแทน รวมถึงแนวทางในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันนี้ โดยจะเป็นศูนย์กลางพัฒนาการเรียนรู้และจัดกิจกรรมเกี่ยวกับพลังงานให้แก่นักเรียน นักศึกษา ได้มีสถานที่เรียนรู้และปลูกจิตสำนึกให้สามารถมีพื้นฐานในการพัฒนาต่อที่ดีในอนาคต เพื่อเริ่มจากการสร้างรากฐานให้กับอนาคตของชาติตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องประชาชนและนักท่องเที่ยว เพื่อประโยชน์การพัฒนาประเทศต่อไป
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต
ได้แนวทางในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมชุมชน ด้วยการส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน
ผลลัพธ์
แนวปฏิบัติที่ดีของชุมชนในการใช้พลังงานทดแทน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
ชุมชนบ้านโนนหัวช้าง ต.เชือก อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
ศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าวิทยากร

5 คน 3,600 2 36,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารและอาหารว่าง

50 คน 200 2 20,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าวัสดุสำหรับชุดทดสอบกังหันเติมอากาศแบบทุ่นลอยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์

1 ครั้ง 50,000 1 50,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าจัดพิมพ์เอกสาร เอกสารการประชาสัมพันธ์ ค่าสิ่งพิมพ์โปสเตอร์ อื่นๆ

1 ครั้ง 40,000 1 40,000
รวมค่าใช้จ่าย 146,000

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 64,800.00 70,800.00 320,000.00 44,400.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 12.96% 14.16% 64.00% 8.88% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) - รูปแบบการผลิตไฟฟ้าจากเทคโนโลยีกังหันเติมอากาศแบบทุ่นลอยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์
- ความสามารถในการผลิตกระแสไฟฟ้าเทคโนโลยีกังหันเติมอากาศแบบทุ่นลอยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์
- ความสามารถในการเพิ่มค่าออกซิเจนในน้ำด้วยกังหันเติมอากาศแบบทุ่นลอยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์
- นักศึกษาสามารถเลือกรูปแบบการผลิตไฟฟ้าจากเทคโนโลยีกังหันเติมอากาศแบบทุ่นลอยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ได้
- นักศึกษาสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานทางเลือกได้
- นักศึกษาสามารถเพิ่มค่าออกซิเจนในน้ำด้วยกังหันเติมอากาศแบบทุ่นลอยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ได้
ผลลัพธ์ (Outcome) - กระแสไฟฟ้าที่ผลิตได้จากกังหันเติมอากาศแบบทุ่นลอยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับบ่อเลี้ยงกุ้ง
- ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำที่ผลิตได้จากกังหันเติมอากาศแบบทุ่นลอยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับบ่อเลี้ยงกุ้ง
- ประสิทธิภาพของกังหันเติมอากาศแบบทุ่นลอยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับบ่อเลี้ยงกุ้ง
- สามารถหาปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ผลิตได้จากกังหันเติมอากาศแบบทุ่นลอยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์
- สามารถเพิ่มออกซิเจนที่ละลายในน้ำที่ผลิตได้จากกังหันเติมอากาศแบบทุ่นลอยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับบ่อเลี้ยงกุ้ง
- นวัตกรรมกังหันเติมอากาศแบบทุ่นลอยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ที่มีประสิทธิภาพสำหรับบ่อเลี้ยงกุ้ง
ผลกระทบ (Impact) - สภาพแวดล้อมของแหล่งน้ำเหมาะสมในการเลี้ยงกุ้งมากยิ่งขึ้น
- ได้ยกระดับและพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ
- ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านความต้องการของชุมชน
- ได้แนวทางการแก้ปัญหาโดยการนำกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้
นำเข้าสู่ระบบโดย chawisorn chawisorn เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 21:27 น.