การพัฒนาศักยภาพกลุ่มถั่วตัดบ้านน้อยนางนวลม.1 ต.บึงนาเรียง อ.ห้วยเม็ก จ.กาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
การพัฒนาศักยภาพกลุ่มถั่วตัดบ้านน้อยนางนวลม.1 ต.บึงนาเรียง อ.ห้วยเม็ก จ.กาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

การพัฒนาศักยภาพกลุ่มถั่วตัดบ้านน้อยนางนวลม.1 ต.บึงนาเรียง อ.ห้วยเม็ก จ.กาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่นมหาวิทยาลัยเทคดนดลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่นมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ ให้การอำนวยความสะดวกและสนับสนุนความรู้ สำนักงานเกษตรอำเภอห้วยเม็ก พัฒนาชุมชนอำเภอห้วยเม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์ สนับสนุนองค์ความรู้และอำนวยความสะดวกในการดำเนินงานโครงการบ้านน้อยนางนวลม.1 ต.บึงนาเรียง อ.ห้วยเม็ก จ.กาฬสินธุ์ดร.ณภัทรอินทนนท์150 สาขาเทคโนโลยีอุตสาหการ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น086-6356986ดร.ฉัตรแก้ว สุริยะภา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
ดร.ณภัทร อินทนนท์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
ดร.ธวัชชัยโทอินทร์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
นส.กรรณิกาบุตรอุดม สาขาสังคมศาสตร์
นายเอกชัยคุปวาทิน คณะบริหารธุรกิจ
นส.ฐิติพรจันทร์ชก คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
นางจีรวรรณยาวระ คณะครุศาสตร์
นส.ปัทมมเกสร์ ราชธานีสนง.วิทยาเขต
นายกิตติศักดิ์ ประจันตะเสน สาขาเทคโนโลยีอุตสาหการ
นายณัฐ อนุชัย สาขาเทคโนโลยีอุตสาหการ
นายศิวดล เสนานุช สาขาเทคโนโลยีอุตสาหการ
นายธนพลวาชัยยุง สาขาเทคโนโลยีอุตสาหการ
นายอาทิตย์ ทะระคำหาร สาขาเทคโนโลยีอุตสาหการ
นายสิปปกรภูคำยอด สาขาเทคโนโลยีอุตสาหการ
นายพงษ์สิทธิ์สงวนพฤกษ์ สาขาเทคโนโลยีอุตสาหการ
นายธนพลลาศา สาขาเทคโนโลยีอุตสาหการ
นายพนมศรีทอง สาขาเทคโนโลยีอุตสาหการ

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ ห้วยเม็ก บึงนาเรียง ชนบท
กาฬสินธุ์ ห้วยเม็ก บึงนาเรียง ชานเมือง

3. รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลทั่วไป
กลุ่มถั่วตัดบ้านน้อยนางนวล มีการจดทะเบียนเป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เพื่อรวมกันผลิตถั่วตัด โดยมีตลาดหลักในชุมชนอำเภอห้วยเม็ก จำนวนสมาชิก 30 ราย
มีความรู้/ประสบการณ์ในการทำถั่วตัด มีแต่ตลาดไม่แน่นอนการทำลายทรัพยากรในพื้นที่ การขยายพื้นที่ปลูกพืชเชิงเดี่ยวทางการเกษตร ใช้สารเคมี สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรม ผลผลิตตกต่ำ ปัญหาหนี้สิน, รายได้น้อย
สุขภาพเสื่อมโทรม ปัญหาสังคมผลิตภัณฑ์คุณภาพด้อยลง/การแปรรูปไม่ได้มาตรฐาน วัตถุดิบในการผลิตไม่เพียงพอ/ตลาดไม่แน่นอน
ต้องการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง ขยายสมาชิกกลุ่ม และชุมชนให้ดีมีรายได้เพิ่มขึ้น ต้องการพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ในชุมชน มีการผลิตที่ดีการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ การรับรองการผลิต(อย.) เป็นระบบ การผลิตที่ปลอดภัย ตรงตามความต้องการของตลาด เกษตรปลอดภัย

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1.กระบวนการวิจัยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
2. การเพิ่มมูลค่าโดยการจัดการโรงเรือน 3. อุปกรณ์ผลิตก้อนเชื้อและการผลิตบนพื้นฐานภูมิปัญญาชุมชน
4. การแปรรูปและบรรจุภัณฑ์6. ระบบบัญชี การจัดจำหน่าย และการจัดการ

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อวิเคราะห์บริบท ของกลุ่มกลุ่มถั่วตัด บ้านน้อยนางนวลม.1 ต.บึงนาเรียง อ.ห้วยเม็ก จ.กาฬสินธุ์

-แผนที่ชีวิตของสมาชิกกลุ่มที่แสดงให้เห็นถึงสภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องการ -แผนพัฒนากลุ่มถั่วตัดบ้านน้อยนางนวลม.1 ต.บึงนาเรียง อ.ห้วยเม็ก จ.กาฬสินธุ์

2.00 50.00
2 . เพื่อวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมในการ พัฒนาศักยภาพของ กลุ่มถั่วตัดบ้านน้อยนางนวล ม.1 ต.บึงนาเรียง อ.ห้วยเม็ก จ.กาฬสินธุ์
  • เครื่องคัดแยกถั่วลิสง
    -อุปกรณ์ช่วยในการผลิตถั่วตัด
1.00 2.00
3 เพื่อพัฒนาต่อยอดมูลค่าผลิตภัณฑ์
  • smart enterprise บนเว็ปไซด์ วิธีการสื่อสารสากล ระบบบัญชี การจัดจำหน่าย และการจัดการ
1.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มถั่วตัดบ้านน้อยนางนวลม.1 ต.บึงนาเรียง อ.ห้วยเ 50

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 เตรียมความพร้อมกระบวนการวิจัยแบบมีส่วนร่วมในชุมชนให้กับอาจารย์ที่ปรึกษา และนักศึกษา

ชื่อกิจกรรม
เตรียมความพร้อมกระบวนการวิจัยแบบมีส่วนร่วมในชุมชนให้กับอาจารย์ที่ปรึกษา และนักศึกษา
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อวิเคราะห์บริบท ของกลุ่มกลุ่มถั่วตัด บ้านน้อยนางนวลม.1 ต.บึงนาเรียง อ.ห้วยเม็ก จ.กาฬสินธุ์
รายละเอียดกิจกรรม
-จัดประชุม ทีมอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ และนักศึกษา เพื่อแจ้งวัตถุประสงค์ และวิธีดำเนินงานโครงการ 1 ครั้ง

- อบรมให้ความรู้แก่นักศึกษาใน ด้านการวิจัยชุมชน, การใช้ เครื่องมือในการวิจัย, การเก็บ รวบรวมข้อมูล, การปรับตัวให้ สอดคล้องกับบริบทของชุมชน
-ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ โครงการให้กับกลุ่มเป้าหมายในชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2562 ถึง 30 พฤศจิกายน 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Output)
-ได้ความรู้ในการทำวิจัยแบบมีส่วนร่วมในชุมชน
-การทำแผนที่ชีวิต แนวทางในการพัฒนาตนเองและสังคม
-การเรียนรู้ในวิถีชุมชนและเศรษฐกิจพอเพียงในบริบทของพื้นที่และการนำนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
ผลลัพธ์ (Outcome)
นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้
องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานได้จริง
-มีสำนึกในความเป็นธรรมและ
มีจิตสาธารณะสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคมที่หลากหลายวัฒนธรรมและมีความเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอห้วยเม็ก และมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์เข้าร่วมให้ความรู้แก่ชุมชน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร 50 คน 100 1 5,000
อื่น ๆ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

50 คน 30 1 1,500
ค่าถ่ายเอกสาร 50 ชุด 50 1 2,500
อื่น ๆ 30 คน 50 3 4,500
ค่าอาหาร 50 คน 100 3 15,000
ค่าถ่ายเอกสาร 50 ชุด 30 1 1,500
ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน 600 8 14,400
อื่น ๆ 3 คน 240 1 720
ค่าอาหาร 50 คน 100 1 5,000
อื่น ๆ 60 คน 50 1 3,000
อื่น ๆ 10 คน 160 1 1,600
ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ 2 ครั้ง 750 1 1,500
อื่น ๆ 1 ครั้ง 5,000 1 5,000
รวมค่าใช้จ่าย 61,220

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ Transect walk, calendar, SWOT Focus group, In-dept. interview

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ Transect walk, calendar, SWOT Focus group, In-dept. interview
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อวิเคราะห์บริบท ของกลุ่มกลุ่มถั่วตัด บ้านน้อยนางนวลม.1 ต.บึงนาเรียง อ.ห้วยเม็ก จ.กาฬสินธุ์
รายละเอียดกิจกรรม
-กระบวนการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนากลุ่ม
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2562 ถึง 31 ธันวาคม 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Output)
-ได้ความรู้ในการทำวิจัยแบบมีส่วนร่วมในชุมชน
-การทำแผนที่ชีวิต แนวทางในการพัฒนาตนเองและสังคม
-การเรียนรู้ในวิถีชุมชนและเศรษฐกิจพอเพียงในบริบทของพื้นที่และการนำนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
ผลลัพธ์ (Outcome)
-นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้
องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานได้จริง
-มีสำนึกในความเป็นธรรมและ
มีจิตสาธารณะ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอห้วยเม็ก และมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ สนับสนุนความรู้
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน 600 16 28,800
อื่น ๆ 3 คน 240 2 1,440
ค่าอาหาร 60 คน 100 2 12,000
อื่น ๆ 60 คน 50 2 6,000
อื่น ๆ 10 คน 160 2 3,200
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 4 เที่ยว 1,000 1 4,000
อื่น ๆ 1 ครั้ง 10,000 1 10,000
รวมค่าใช้จ่าย 65,440

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพของกลุ่มถั่วตัดบ้านน้อยนางนวล

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมพัฒนาศักยภาพของกลุ่มถั่วตัดบ้านน้อยนางนวล
วัตถุประสงค์
  1. . เพื่อวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมในการ พัฒนาศักยภาพของ กลุ่มถั่วตัดบ้านน้อยนางนวล ม.1 ต.บึงนาเรียง อ.ห้วยเม็ก จ.กาฬสินธุ์
รายละเอียดกิจกรรม
- เครื่องคัดแยกถั่วลิสง
- อุปกรณ์ผลิตถั่วตัด
- การแปรรูป และการจัดการขอวงเหลือจากการผลิต
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 31 มกราคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Output)
สมาชิกของกลุ่มถั่วตัดมีจำนวนเพิ่มขึ้น
-กลุ่มมีการแปรรูป ออกแบบผลิตภัณฑ์
-มีเครื่องคัดแยกถั่วลิสง 2 ชุด
-มีอุปกรณ์ถั่วตัด 2 ไลน์การผลิต
-มีองค์ความรู้เรื่องการกำหนดราคาสินค้า
ผลลัพธ์ (Outcome)
1.องค์ความรู้ของมหาวิทยาลัยและหน่วยงาน มีการบูรณาการในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชน
2.เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ และการนำใช้ประโยชน์จากทรัพยากรท้องถิ่นที่มีอยู่ในชุมชน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอห้วยเม็ก มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ ร่วมอบรม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าที่พักตามจริง 10 คน 160 90 144,000
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 600 8 9,600
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 2 ชุด 15,000 1 30,000
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 600 8 9,600
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 2 ชุด 50,000 1 100,000
อื่น ๆ 50 คน 50 6 15,000
ค่าอาหาร 50 คน 100 3 15,000
รวมค่าใช้จ่าย 323,200

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมพัฒนาต่อยอดมูลค่าผลิตภัณฑ์

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมพัฒนาต่อยอดมูลค่าผลิตภัณฑ์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาต่อยอดมูลค่าผลิตภัณฑ์
รายละเอียดกิจกรรม
- ให้ความรู้และฝึกปฏิบัติด้าน การควบคุมคุณภาพ ระบบบัญชี การจัดจำหน่าย และการจัดการ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Output)
-มีองค์ความรู้เรื่องการบัญชีและการตลาด
80 เปอร์เซ็นต์ของสมาชิก สามารถดำเนินการได้
-การควบคุมคุณภาพ ระบบบัญชี การจัดจำหน่าย และการจัดการ
ผลลัพธ์ (Outcome)
ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นและสามารถพึ่งพาตนเองและรู้การใช้ประโยชน์จากความรู้และการจัดการของเหลือทางการผลิต
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอห้วยเม็ก มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ ร่วมให้ความรู้
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน 600 8 14,400
อื่น ๆ 2 คน 300 8 4,800
อื่น ๆ 50 คน 50 6 15,000
ค่าอาหาร 50 คน 100 3 15,000
อื่น ๆ 1 ครั้ง 940 1 940
รวมค่าใช้จ่าย 50,140

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 76,800.00 220,500.00 130,000.00 72,700.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 15.36% 44.10% 26.00% 14.54% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) สมาชิกของกลุ่มถั่วตัดมีจำนวนเพิ่มขึ้น
-กลุ่มมีแผนการดำเนินงาน
-มีองค์ความรู้ด้านการออกแบบและการสร้างเครื่องมืออุปกรณ์
- มีองค์ความรู้เรื่องการควบคุมคุณภาพ
-มีองค์ความรู้เรื่องการกำหนดราคาสินค้า
-มีองค์ความรู้เรื่องการบัญชีและการตลาด
80 เปอร์เซ็นต์ของสมาชิก สามารถดำเนินการได้
-ได้เครื่องคัดแยกถั่งลิสง 2ชุด
-ได้อุปกรณ์การผลิตถั่วตัด 2 ชุด
-ได้ความรู้ในการทำวิจัยแบบมีส่วนร่วมในชุมชน
-การทำแผนที่ชีวิต แนวทางในการพัฒนาตนเองและสังคม
-การเรียนรู้ในวิถีชุมชนและเศรษฐกิจพอเพียงในบริบทของพื้นที่และการนำนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
ผลลัพธ์ (Outcome) 1.องค์ความรู้ของมหาวิทยาลัยและหน่วยงาน มีการบูรณาการในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชน
2.เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ และการนำใช้ประโยชน์จากทรัพยากรท้องถิ่นที่มีอยู่ในชุมชน
3.ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นและสามารถพึ่งพาตนเองและรู้การใช้ประโยชน์จากความรู้และการจัดการของเหลือทางการผลิต
-นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้
องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานได้จริง
-มีสำนึกในความเป็นธรรมและ
มีจิตสาธารณะ
ผลกระทบ (Impact) องค์ความรู้ใหม่จากการวิจัยในชุมชนและ นวัตกรรมสังคมที่เกิดขึ้นมีคุณค่า และส่งผลต่อรูปแบบการพัฒนาชุมชนในอนาคต -สามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคมที่หลากหลายวัฒนธรรมและมีความเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
นำเข้าสู่ระบบโดย pattamakes pattamakes เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 21:23 น.