โครงการสร้างความมั่นคงด้านพืชอาหารบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียงของบ้านหนองน้อย ตำบลเปลือย อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
โครงการสร้างความมั่นคงด้านพืชอาหารบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียงของบ้านหนองน้อย ตำบลเปลือย อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

โครงการสร้างความมั่นคงด้านพืชอาหารบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียงของบ้านหนองน้อย ตำบลเปลือย อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพบ้านหนองน้อย ตำบลสงเปลือย อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์นางสาวกชพรรณ วงค์เจริญคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ 13 หมู่ 14 ตำบลสงเปลือย อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์ 46230081-7391218อาจารย์ที่ปรึกษา
1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สัน นามตะคุ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ อาจารย์ที่ปรึกษา เลขที่บัตรประชาชน 3451500031942
2. นางสาวนิตยา แสงประจักษ์ สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ อาจารย์ที่ปรึกษา เลขที่บัตรประชาชน 3490200162340

นักศึกษาเทียบโอนกับรายวิชา SC-001-009 วิชาชีววิทยาทั่วไป 2 จำนวน3 หน่วยกิต และ SC-001-010 วิชา ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป 2 จำนวน 1 หน่วยกิต
อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาผู้ช่วยศาสตราจารย์สัน นามตะคุ
3. นางสาวนิศาชลแดงสงวนสุข สาขาวิชาวิทยาการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ นักศึกษาเลขที่บัตรประชาชน 1469900519625
4. นางสาวกนกนิภาช้างสุวรรณ สาขาวิชาวิทยาการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ นักศึกษาเลขที่บัตรประชาชน 2461301024085

เทียบโอนกับรายวิชา PH-013-205 วิชาการสุขาภิบาลอาหารและอาหารปลอดภัย จำนวน 3 หน่วยกิต
อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชานางสาวนิตยา แสงประจักษ์
5. นางสาวปนัดดา จำปาขาว สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ นักศึกษาเลขที่บัตรประชาชน 1409901765824
6. นางสาวกรพินธุ์ ศรีหนองบัว สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ นักศึกษาเลขที่บัตรประชาชน 1409901844902
7. นางสาวธนิสรา กิติยวงษ์ สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ นักศึกษาเลขที่บัตรประชาชน 1409902892081
8. นางสาวสุชาดา ภูจาพล สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ นักศึกษาเลขที่บัตรประชาชน 1469900469113
9. นางสาวอังคณา เก่าแสน สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ นักศึกษาเลขที่บัตรประชาชน 1412102095810
10. นางสาวเจณิตา ตวงดี สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ นักศึกษาเลขที่บัตรประชาชน 1490501189640
11. นางสาวอุลัยภรณ์ ฝ่ายศาลา สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ นักศึกษาเลขที่บัตรประชาชน 1460900106535
12. นางสาวภัทราภรณ์ ศรีโชค สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ นักศึกษาเลขที่บัตรประชาชน 1490300105996

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ นามน สงเปลือย

3. รายละเอียดชุมชน

บ้านหนองน้อย หมู่ที่ 7 ตำบลสงเปลือย อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์ตั้งอยู่ห่างจากตำบลสงเปลือยประมาณ 6 กิโลเมตร มีจำนวนครัวเรือนทั้งหมด 69 หลังคาเรือน มีประชากรทั้งสิ้น 302คน เป็นชายจำนวน 148 คน เป็นหญิงจำนวน 154 คน (กุมภาพันธ์ 2555) มีวัด 1 แห่งคือวัดสว่างวารีหนองน้อยซึ่งมี พระสงฆ์ 1 รูปและสามเณร 1 รูปมีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองน้อย 1 แห่ง และโรงเรียน 1 แห่ง คือโรงเรียนหนองแวงหนองน้อยวิทยาคมเปิดสอนในระดับประถมศึกษา มีกลุ่มปลูกหม่อนเลี้ยงไหมครบวงจร ที่จดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 อาชีพหลักของคนในหมู่บ้านคือการทำนา เป็นนาปีส่วนใหญ่ปลูกข้าวเหนียวพันธุ์ กข6 และข้าวจ้าวมะลิพันธุ์105 ในช่วงฤดูแล้งชาวบ้านบางส่วนจะปลูกมันพันธุ์เกษตรศาสตร์ในนาข้าว ซึ่งเป็นพันธุ์อายุสั้น บางครอบครัวเพาะเห็ดในโรงเรือน ได้แก่ เห็ดขอนขาว เห็ดนางฟ้า มีกลุ่มเย็บเสื้อผ้าโหล มีกลุ่มหัตถกรรม ได้แก่ การทอผ้าพันคอจากไหมและฝ้าย การทอเสื่อจากกกลังกา การสานตะกร้า ไซ กระติบข้าว จากไม้ไผ่ มีการเลี้ยงสัตว์ เช่น วัว หมู ไก่ เป็ด ไว้เป็นอาหาร มีการปลูกพืชผักสวนครัวไว้ที่หน้าบ้าน มีประเพณีวัฒนธรรมที่ยึดมั่นฮีต 12 คอง14 มีหลักชัยใจบ้าน คนวัยแรงงานส่วนหนึ่งรับราชการ และบางส่วนเข้าไปทำงานในกรุงเทพมหานครทรัพยากรในชุมชน ประกอบด้วย
1) ที่ดิน เป็นที่ราบลุ่มสลับกับพื้นที่ดอน ที่อยู่อาศัยส่วนใหญ่เป็นโฉนด นส. 3 ชาวบ้านส่วนใหญ่มีที่ดินทำกินเป็นของตนเอง สภาพดินส่วนใหญ่มีสภาพเป็นดินร่วนปนทรายหรือเป็นทรายจัด มีการใช้ประโยชน์จากที่ดินเพื่อการเกษตรเป็นหลัก
2) แหล่งน้ำ มีหนองดินจี่ เป็นแหล่งน้ำธรรมชาติขนาดใหญ่ มีพื้นที่ประมาณ 400 ไร่มีลำห้วยหลัวและลำห้วยไผ่
3) ป่าไม้ มีป่าชุมชนของมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ มีชื่อเรียกคือ “ดงต่งโต้น” เป็นป่าไม้ธรรมชาติดั้งเดิมที่อุดมสมบูรณ์ มีพื้นที่ประมาณ 2,119 ไร่ ประกอบด้วยพื้นที่ป่าประมาณ 1,000 ไร่ เป็นป่าหญ้าผสมป่าเบญจพรรณ อุดมไปด้วยไม้ประดู่ มะค่า ยูคาลิปตัส ไม้เต็ง ไม้รัง และไม้อื่นๆ นานาชนิด มีดอนปู่ตา พื้นที่ประมาณ 2 ไร่ ที่เป็นที่เคารพสักการะร่วมกันของประชาชนในบ้านหนองน้อยและชาวบ้านท่างาม หมู่ที่ 16
บ้านหนองน้อยเป็นหมู่บ้านขนาดเล็ก ชาวบ้านมีความเป็นอยู่แบบเครือญาติ มีการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน มีความสามัคคี ขยัน อดทน และมีความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน ชุมชนไม่มีความแออัด ดังนั้นจึงไม่มีปัญหาสังคม ไม่ว่าจะเป็นด้านการพนันหรือยาเสพติดก็ตาม แต่ปัญหาใหญ่ของชาวบ้านหนองน้อย คือ ปัญหาด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ ปัญหาการพึ่งตนเองด้านอาหาร ปัญหาความยากจนและปัญหาหนี้สิน ปัญหาการพึ่งตนเองด้านอาหาร ประชาชนร้อยละ 85 ไม่สามารถพึ่งพาตนเองด้านอาหารได้ ต้องพึ่งพาอาหารจากภายนอกชุมชน ชาวบ้านไม่สามารถพึ่งพาตนเองด้านอาหารได้ ต้องพึ่งพาอาหารจากภายนอกชุมชน โดยเฉพาะการซื้ออาหารจากรถเร่ที่เข้ามาในหมู่บ้าน ถึงแม้ว่าชาวบ้านจะมีการปลูกพืชผักสวนครัวรับประทานในครัวเรือน นอกจากนี้บ้านหนองน้อยอยู่ใกล้ชุมชนเมืองสามารถหาชื้อได้สะดวกและบางส่วนทำงานในตัวเมืองก็นิยมชื้ออาหารมาจากตลาดในตัวเมืองมารับประทาน ปัญหาความยากจนของชาวบ้านเกิดจากการทำการเกษตรแล้วไม่คุ้มทุน เนื่องจากราคาผลผลิตทางการเกษตรไม่แน่นอน ผลผลิตต่ำ แต่ต้นทุนในการผลิตสูง ไม่ว่าจะเป็นค่าจ้างแรงงาน ค่าปุ๋ย ค่ายากำจัดศัตรูพืช ค่าน้ำมัน เป็นต้น และปัญหาหนี้สินนั้นเกิดจากที่ชาวบ้านมีรายได้ไม่พอกับรายจ่าย ทำให้ชาวบ้านกู้ยืมเงินจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร กู้เงินจากกองทุนเงินล้านหมู่บ้าน และกู้เงินจากสหกรณ์อำเภอนามน โดยเฉลี่ยแล้วเป็นหนี้ 50,000 บาท ต่อครัวเรือนชุมชนและท้องถิ่นเป็นฐานหลักของสังคม แนวคิดการพัฒนาระดับชุมชนและท้องถิ่นให้เข้มแข็ง น่าอยู่ ปลอดภัย มีพัฒนาการพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน ทั้งด้านสังคม การศึกษา วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม จะส่งผลให้ประชาชนในชุมชนมีสุขภาวะที่ดี และหากทุกชุมชนและท้องถิ่นมุ่งมั่นดำเนินการอย่างกว้างขวาง ประเทศไทยก็จะพัฒนาอย่างมีทิศทาง เป็นประเทศที่น่าอยู่ที่สุด ชุมชนจะเข้มแข็ง น่าอยู่ และพึ่งตนเองได้ ต้องอาศัยความรับผิดชอบ การเรียนรู้ ร่วมคิดร่วมทำ ตลอดจนอาศัยความร่วมมือและข้อมูลทางวิชาการจากหน่วยงานในท้องถิ่นไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชน เพื่อปรับเปลี่ยนวิธีคิด การก้าวทันเทคโนโลยี การปรับพฤติกรรมการผลิตและการบริโภคโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รักษาสิ่งแวดล้อม เน้นการพึ่งตนเอง เป็นสังคมเอื้ออาทร พึ่งพาอาศัยกันได้ และไม่ทอดทิ้งกัน บ้านหนองน้อยเป็นหมู่บ้านขนาดเล็ก ชาวบ้านมีความเป็นอยู่แบบเครือญาติ มีการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน มีความสามัคคี ขยัน อดทน และมีความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน ชุมชนไม่มีความแออัด ดังนั้นจึงไม่มีปัญหาสังคม ไม่ว่าจะเป็นด้านการพนันหรือยาเสพติดก็ตาม แต่ปัญหาใหญ่ของชาวบ้านหนองน้อย คือ ปัญหาด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ ปัญหาการพึ่งตนเองด้านอาหาร ปัญหาความยากจนและปัญหาหนี้สิน ปัญหาการพึ่งตนเองด้านอาหาร ชาวบ้านในชุมชนไม่สามารถพึ่งพาตนเองด้านอาหารได้ ต้องพึ่งพาอาหารจากภายนอกชุมชน ชาวบ้านไม่สามารถพึ่งพาตนเองด้านอาหารได้ ต้องพึ่งพาอาหารจากภายนอกชุมชน โดยเฉพาะการซื้ออาหารจากรถเร่ที่เข้ามาในหมู่บ้าน ถึงแม้ว่าชาวบ้านจะมีการปลูกพืชผักสวนครัวรับประทานในครัวเรือน นอกจากนี้บ้านหนองน้อยอยู่ใกล้ชุมชนเมืองสามารถหาชื้อได้สะดวกและบางส่วนทำงานในตัวเมืองก็นิยมชื้ออาหารมาจากตลาดในตัวเมืองมารับประทาน ปัญหาความยากจนของชาวบ้านเกิดจากการทำการเกษตรแล้วไม่คุ้มทุน เนื่องจากราคาผลผลิตทางการเกษตรไม่แน่นอน ผลผลิตต่ำ แต่ต้นทุนในการผลิตสูง ไม่ว่าจะเป็นค่าจ้างแรงงาน ค่าปุ๋ย ค่ายากำจัดศัตรูพืช ค่าน้ำมัน เป็นต้น และปัญหาหนี้สินนั้นเกิดจากที่ชาวบ้านมีรายได้ไม่พอกับรายจ่าย ทำให้ชาวบ้านกู้ยืมเงินจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร กู้เงินจากกองทุนเงินล้านหมู่บ้าน และกู้เงินจากสหกรณ์อำเภอนามน โดยเฉลี่ยแล้วเป็นหนี้ 50,000 บาท ต่อครัวเรือน
จากประเด็นปัญหาของบ้านหนองน้อยดังที่กล่าวมาข้างต้น เป็นประเด็นที่ชาวบ้านมีความต้องการแก้ไขอย่างเร่งด่วน คือ ปัญหาการพึ่งพาตนเองด้านอาหาร เพราะส่งผลกระทบโดยตรงต่อคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนบ้านหนองน้อย ซึ่งแหล่งผลิตพืชอาหารที่มีการผลิตในปัจจุบันมีปัจจัยคุกคามต่อคุณภาพชีวิตของผู้บริโภคโดยเฉพาะจากระบบเกษตรเชิงพาณิชย์ ที่ก่อให้เกิดผลกระทบทั้งด้านการผลิตจากต้นทุนที่สูงขึ้นจากการต้องพึ่งปัจจัยการผลิตภายนอก และความเจ็บป่วยจากการใช้สารเคมีเป็นพิษที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคต่างๆ การเสื่อมโทรมด้านทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพลดลง เกิดภาวะปนเปื้อนของสารพิษในดิน น้ำ อากาศ จากการปลูกพืชเชิงเดี่ยวที่ใช้สารเคมีในปริมาณมาก รวมทั้งด้านการบริโภคจากอาหารที่มีการปนเปื้อนสารเคมี และพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปเป็นจากการนิยมซื้ออาหารจากภายนอกมาบริโภค
ดังนั้นทางคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจึงได้จัดกิจกรรมสร้างความมั่นคงด้านพืชอาหารบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียงของบ้านหนองน้อย ตำบลเปลือย อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์ เพื่อการสร้างความมั่นคงด้านการบริโภค จากการได้มาซึ่งอาหารเพื่อการบริโภคในครัวเรือนด้วยการพึ่งตนเอง พึ่งพากัน มีคุณค่าทางโภชนาการ ปราศจากสารเคมีตกค้างและสอดคล้องกับวิถีชีวิตท้องถิ่น การสร้างความมั่นคงด้านการผลิตจากการผลิตบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียงและปลอดสารเคมีที่มีประสิทธิภาพและความปลอดภัยด้วยการผลิตแบบพึ่งตนเองหรือพึ่งพากัน และการสร้างความมั่นคงด้านทรัพยากรธรรมชาติ จากการเข้าถึงทรัพยากรการผลิต เช่น ที่ดินและแหล่งน้ำอย่างเพียงพอ และการผลิตเป็นไปเพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรให้มีความอุดมสมบูรณ์ปราศจากสารเคมีตกค้าง เกิดความสมดุลของระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมเกื้อหนุนกับการผลิตของชุมชนบ้านหนองน้อยและการมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของคนในชุมชนอย่างยั่งยืนต่อไป และเป็นแนวทางที่เป็นประโยชน์ให้กับชุมชนข้างเคียง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสังคมต่อไป

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การสร้างความมั่นคงด้านพืชอาหารบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง ให้มีความมั่นคงทั้งด้านการบริโภค ด้านการผลิตและด้านทรัพยากร เป็นการนำเอาองค์ความรู้และนวัตกรรมเข้ามาร่วมสร้างโดยกระบวนการที่เริ่มจากการนำทรัพยากรการผลิตดินและน้ำ และปัจจัยการผลิตหมุนเวียนต่างๆ ได้แก่ เมล็ดพันธุ์ ปุ๋ย และแรงงานมาจัดการผลิตแบบอินทรีย์บนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียงที่ประกอบด้วย การจัดการทรัพยากร การจัดการปัจจัยการผลิตหมุนเวียนและการจัดการในกระบวนการผลิต โดยการใช้ความรู้และเทคโนโลยี และการส่งเสริมของกลุ่มชุมชนในด้านต่างๆ จนได้ผลลัพธ์ออกมาเป็นผลผลิตอาหารที่มีความหลากหลาย ปลอดภัยและมีคุณค่าทางโภชนาการ ซึ่งผลผลิตส่วนใหญ่มีปริมาณและคุณภาพเพิ่มขึ้น และนำผลผลิตที่ได้มาจัดการโดยการเก็บสำรอง แลกเปลี่ยน แบ่งปันและจำหน่ายทั้งแบบพึ่งตนเองและพึ่งพากันของชุมชนตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นอกจากนี้ยังมีการอนุรักษ์ป่าไม้ ดินและน้ำ ทำให้เกิดความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและอาหารจากธรรมชาติ และเป็นการแบ่งปันองค์ความรู้ในการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต เพื่อให้ชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืน ด้วยการร่วมเรียน ร่วมรู้ และร่วมทำ

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อสำรวจสถานการณ์พืชอาหาร ผลกระทบที่เกิดขึ้น และปัจจัยที่ส่งผลการต่อเปลี่ยนแปลงการผลิตและบริโภคพืชอาหารของบ้านหนองน้อย ตำบลสงเปลือย อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์

สถานการณืพืชอาหารจากอดีตถึงปัจจุบัน

40.00 1.00
2 เพื่อสร้างแหล่งพืชอาหารเพื่อสร้างความมั่นคงด้านพืชอาหารบนฐานเศรษฐกิจพอเพียงของบ้านหนองน้อย ตำบลสงเปลือย อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์

แหล่งพืชอาหารปลอดภัยจากสารเคมี

60.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
บ้านหนองน้อย ตำบลเปลือย อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์ 70

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 ประชาสัมพันธ์โครงการ

ชื่อกิจกรรม
ประชาสัมพันธ์โครงการ
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    ประชาสัมพันธ์โครงการ เตรียมความพร้อม กับทุกส่วนที่เกี่ยวข้อง
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    5 มกราคม 2563 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ความพร้อมในการดำเนินโครงการฯ
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนการประสานงาน

    ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์ที่ปรึกษา (3 คน x 5 วัน x 240 บาท)

    3 คน 240 5 3,600
    ค่าตอบแทนการประสานงาน

    ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา (10 คน x 5 วัน x 120 บาท)

    10 คน 120 5 6,000
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าร่วมกิจกรรม (70 คน X 150 บาท X 1 มื้อx 2 ครั้ง)

    70 คน 150 2 21,000
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารว่างผู้เข้าร่วมกิจกรรม (70 คน X 50 บาท X 2 มื้อ x 2 ครั้ง)

    70 คน 50 4 14,000
    ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

    ค่าจ้างเหมาทำป้ายไวนิล ขนาด 2x4 ม.ตารางเมตรละ 300 บาท

    1 ชุด 2,400 1 2,400
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารกลางวันประชุมคณะทำงาน (13 คน X 150 บาท X 1 มื้อ x 3 ครั้ง)

    13 คน 150 3 5,850
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารว่างประชุมคณะทำงาน (13 คน X 50 บาท X 2 มื้อ x 3 ครั้ง)

    13 คน 50 6 3,900
    ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 1 เที่ยว 1,000 1 1,000
    ค่าเช่าสถานที่

    ค่าจ้างเหมาจัดสถานที่กิจกรรมเวทีชาวบ้าน (1000 บาท x 2 ครั้ง)

    1 ครั้ง 1,000 2 2,000
    รวมค่าใช้จ่าย 59,750

    กิจกรรมที่ 2 ศึกษาบริบทชุมชน และวิถีการทำมาหากิน ตั่งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน

    ชื่อกิจกรรม
    ศึกษาบริบทชุมชน และวิถีการทำมาหากิน ตั่งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      -การศึกษาเก็บข้อมูลและเรียนรู้กระบวนการสัมภาษณ์เชิงกลุ่ม สัมภาษณ์ผู้รู้ ผู้นำชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ชุมชนวิถีชีวิตและพืชอาหารของชุมชน
      -ประชุมกลุ่มย่อยระดมความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนข้อมูล โดยใช้ time line ในการเก็บและค้นข้อมูล
      -วิเคราะห์ในการลงข้อสรุปวิวัฒนาการของชุมชนบ้านหนองน้อยในแต่ละช่วงระยะเวลาตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน เกี่ยวข้องเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ชุมชนวิถีชีวิตและพืชอาหารของชุมชน
      -ถ่ายทอดความรู้ที่ได้คืนสู่ชุมชน พร้อมทั้งประเมินผลการจัดกิจกรรม
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      5 มกราคม 2563 ถึง 30 มีนาคม 2563
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      บริบทชุมชน และวิถีการทำมาหากิน ตั่งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      ค่าตอบแทนการประสานงาน

      ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์ที่ปรึกษา (3 คน x 9 วัน x 240 บาท)

      3 คน 240 9 6,480
      ค่าตอบแทนการประสานงาน

      ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา (10 คน x 9 วัน x 120 บาท)

      10 คน 120 9 10,800
      ค่าอาหาร

      ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าร่วมกิจกรรม (70 คน X 150 บาท X 1 มื้อx 4 ครั้ง)

      70 คน 150 4 42,000
      ค่าตอบแทนวิทยากร

      ค่าอาหารว่างผู้เข้าร่วมกิจกรรม (70 คน X 50 บาท X 2 มื้อ x 4 ครั้ง)

      70 คน 50 8 28,000
      ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 1 เที่ยว 1,000 1 1,000
      ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 1,800 1 1,800
      ค่าอาหาร

      ค่าอาหารกลางวันประชุมคณะทำงาน (13 คน X 150 บาท X 1 มื้อ x 5 ครั้ง)

      13 คน 150 5 9,750
      ค่าอาหาร

      ค่าอาหารว่างประชุมคณะทำงาน (13 คน X 50 บาท X 2 มื้อ x 5 ครั้ง)

      13 คน 50 10 6,500
      ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 1,000 4 4,000
      รวมค่าใช้จ่าย 110,330

      กิจกรรมที่ 3 การสำรวจสถานการณ์พืชอาหาร ผลกระทบที่เกิดขึ้น และปัจจัยที่ส่งผลการต่อเปลี่ยนแปลงการผลิตและบริโภคพืชอาหาร

      ชื่อกิจกรรม
      การสำรวจสถานการณ์พืชอาหาร ผลกระทบที่เกิดขึ้น และปัจจัยที่ส่งผลการต่อเปลี่ยนแปลงการผลิตและบริโภคพืชอาหาร
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        -สำรวจพื้นที่ โดยใช้แผนที่เดินดิน โดยสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพของพืชอาหารในชุมชน ปริมาณ และปัจจัยที่ส่งผลการต่อเปลี่ยนแปลงการผลิตและบริโภคพืชอาหาร
        -ถ่ายทอดความรู้จากกิจกรรมสู่ชุมชน
        - ประเมินผลการจัดกิจกรรม และประเมินผลการจัดโครงการ
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        ข้อมูลสถานการณ์พืชอาหาร และปัจจัยที่ส่งผลการต่อเปลี่ยนแปลงการผลิตและบริโภคพืชอาหาร
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        ค่าตอบแทนการประสานงาน

        ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์ที่ปรึกษา (3 คน x 7 วัน x 240 บาท)

        3 คน 240 7 5,040
        ค่าตอบแทนการประสานงาน

        ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา (10 คน x 7 วัน x 120 บาท)

        10 คน 120 7 8,400
        ค่าอาหาร

        ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าร่วมกิจกรรม (70 คน X 150 บาท X 1 มื้อx 2 ครั้ง)

        70 คน 150 2 21,000
        ค่าอาหาร

        ค่าอาหารว่างผู้เข้าร่วมกิจกรรม (70 คน X 50 บาท X 2 มื้อ x 2 ครั้ง)

        70 คน 50 4 14,000
        ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 1,000 1 1,000
        ค่าถ่ายเอกสาร

        ค่าถ่ายเอกสารแบบสำรวจ จำนวน 70 ชุดๆ ละ 10 บาท

        70 ชุด 10 1 700
        ค่าอาหาร

        ค่าอาหารกลางวันประชุมคณะทำงาน (13 คน X 150 บาท X 1 มื้อ x 5 ครั้ง)

        13 คน 150 5 9,750
        ค่าอาหาร

        ค่าอาหารว่างประชุมคณะทำงาน (13 คน X 50 บาท X 2 มื้อ x 5 ครั้ง)

        13 คน 50 10 6,500
        ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 1 เที่ยว 1,000 1 1,000
        ค่าเช่าสถานที่

        ค่าจ้างเหมาจัดสถานที่กิจกรรมเวทีชาวบ้าน (1000x 2 ครั้ง)

        1 ครั้ง 1,000 2 2,000
        รวมค่าใช้จ่าย 69,390

        กิจกรรมที่ 4 ดำเนินการเสริมสร้างความมั่นคงด้านพืชอาหารบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียงของบ้านหนองน้อย ตำบลเปลือย อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์

        ชื่อกิจกรรม
        ดำเนินการเสริมสร้างความมั่นคงด้านพืชอาหารบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียงของบ้านหนองน้อย ตำบลเปลือย อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์
        วัตถุประสงค์
          รายละเอียดกิจกรรม
          -ความรู้เกี่ยวกับคุณค่าทางโภชนาการของพืชอาหารแต่ละชนิด และสรรพคุณด้านอื่นๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อคุณภาพชีวิตคนในชุมชน
          -ให้ความรูัเทคนิคการขยายพันธุ์ การปลูก และการดูแลรักษา พร้อมทั้งการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ใช้เอง
          - สร้างแหล่งพืชอาหารประจำบ้านของผู้เข้าร่วมโครงการ
          - ประเมินผลการจัดกิจกรรม และประเมินผลการจัดโครงการ
          - ประเมินผลการจัดกิจกรรม และประเมินผลการจัดโครงการ ลงพื้นที่ครั้งที่ 13
          ระยะเวลาดำเนินงาน
          1 เมษายน 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563
          ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
          แหล่งพืชอาหารประจำบ้าน
          ทรัพยากรอื่น ๆ
          ภาคีร่วมสนับสนุน
          รายละเอียดงบประมาณ
          ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
          ค่าตอบแทนการประสานงาน

          ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์ที่ปรึกษา (3 คน x 9 วัน x 240 บาท)

          3 คน 240 9 6,480
          ค่าตอบแทนวิทยากร

          ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา (10 คน x 9 วัน x 120 บาท)

          10 คน 120 9 10,800
          ค่าอาหาร

          ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าร่วมกิจกรรม (70 คน X 150 บาท X 1 มื้อx 2 ครั้ง)

          70 คน 150 2 21,000
          ค่าอาหาร

          ค่าอาหารว่างผู้เข้าร่วมกิจกรรม (70 คน X 50 บาท X 2 มื้อ x 2 ครั้ง)

          70 คน 50 4 14,000
          ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

          ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการสร้างแหล่งพืชอาหาร จำนวน 200 ชุดๆละ 850 บาท

          200 ชุด 850 1 170,000
          ค่าตอบแทนวิทยากร

          ค่าอาหารกลางวันประชุมคณะทำงาน (13 คน X 150 บาท X 1 มื้อ x 7 ครั้ง)

          13 คน 150 7 13,650
          ค่าอาหาร

          ค่าอาหารว่างประชุมคณะทำงาน (13 คน X 50 บาท X 2 มื้อ x 7 ครั้ง)

          13 คน 50 14 9,100
          ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 1 เที่ยว 2,000 1 2,000
          ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 1,000 2 2,000
          ค่าถ่ายเอกสาร

          ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารสรุปองค์ความรู้จากกิจกรรม จำนวน 70 เล่มๆ 100 บาท

          70 ชุด 100 1 7,000
          ค่าถ่ายเอกสาร

          ค่าจ้างเหมาจัดทำเล่มรายงานฉบับสมบรูณ์ เล่มละ 300 บาท จำนวน 15 เล่ม

          1 ชุด 300 15 4,500
          รวมค่าใช้จ่าย 260,530

          รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

          ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
          ค่าใช้จ่าย (บาท) 99,250.00 2,400.00 225,550.00 172,800.00 500,000.00
          เปอร์เซ็นต์ (%) 19.85% 0.48% 45.11% 34.56% 100.00%

          11. งบประมาณ

          500,000.00บาท

          12. การติดตามประเมินผล

          ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
          ผลผลิต (Output) -ชุมชนบ้านหนองน้อย ตำบลสงเปลือย อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์ มีคุณภาพชีวิตที่ปลอดภัยจากสารเคมีจากพืชอาหาร และมีแหล่งพืชอาหารที่มั่นคงพึ่งพาตนเองได้ และสามารถนำความรู้ที่ได้รับ ไปต่อยอดเพื่อสร้างรายได้ในครอบครัว ตลอดจนได้เรียนรู้หลักการพึ่งพาตนเองตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1. ได้รับความรู้ความเข้าใจ เห็นคุณค่าของทรัพยากรทางธรรมชาติ และสังคมของท้องถิ่น สามารถฝึกทักษะการเป็นผู้นำ ทักษะการ
          เรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะการสื่อสาร ทักษะชีวิตและอาชีพ
          การปฏิบัติ การคิดวิเคราะห์ และนำเสนอต่อสาธารณชน โดยมีโอกาสนำความรู้ไปพัฒนาสามารถพึ่งพาตนเองเสริมสร้างคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น ตลอดจนพัฒนาเพื่อสร้างรายได้ให้กับครอบครัวตนเองได้
          2. สามารถเทียบโอนรายวิชา
          2.1 SC-001-009 วิชาชีววิทยาทั่วไป 2 จำนวน3 หน่วยกิต
          2.2 SC-001-010 วิชา ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป 2 จำนวน 1 หน่วยกิต
          2.3 รหัสวิชา PH-013-205 วิชาการสุขาภิบาลอาหารและอาหารปลอดภัย
          จำนวน 3 หน่วยกิต
          ผลลัพธ์ (Outcome) - ชุมชนนำไปขยายผลหรือเผยแพร่ไปหมู่บ้านใกล้เคียง
          - นักศึกษาได้เรียนรู้และเข้าใจถึงสภาพปัญหาชีวิตของประชาชนในชุมชน โดยที่นักศึกษาได้มีการร่วมกันระดมความคิดและนำเอาความรู้ที่ได้รับจากห้องเรียนมาแก้ไขปัญหาชุมชนได้อย่างตรงจุด นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติในการลงพื้นที่จริง สามารถนำเอาประสบการณ์จากการทำงานจริงมาต่อยอด และปรับใช้กับชุมชนบ้านเกิดของนักศึกษาเองได้
          - มหาวิทยาลัย และอาจารย์ได้ทำหน้าที่ในบทบาทของการบริการวิชาการ การรับใช้สังคม ตลอดจนเผยแพร่องค์ความรู้ที่ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีมากขึ้น
          1. ได้รับความรู้ความเข้าใจ เห็นคุณค่าของทรัพยากรทางธรรมชาติ และสังคมของท้องถิ่น สามารถฝึกทักษะการเป็นผู้นำ ทักษะการ
          เรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะการสื่อสาร ทักษะชีวิตและอาชีพ
          การปฏิบัติ การคิดวิเคราะห์ และนำเสนอต่อสาธารณชน โดยมีโอกาสนำความรู้ไปพัฒนาสามารถพึ่งพาตนเองเสริมสร้างคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น ตลอดจนพัฒนาเพื่อสร้างรายได้ให้กับครอบครัวตนเองได้
          2. สามารถเทียบโอนรายวิชา
          2.1 SC-001-009 วิชาชีววิทยาทั่วไป 2 จำนวน3 หน่วยกิต
          2.2 SC-001-010 วิชา ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป 2 จำนวน 1 หน่วยกิต
          2.3 รหัสวิชา PH-013-205 วิชาการสุขาภิบาลอาหารและอาหารปลอดภัย
          จำนวน 3 หน่วยกิต
          ผลกระทบ (Impact) ด้านเศรษฐกิจ : เกิดความมั่นคงทางด้านอาหารสามารถพึ่งพาตนเองได้ สามารถลดรายจ่าย นอกจากนี้ยังสามารถสร้างรายได้ให้แก่สมาชิกในชุมชนเพิ่มมากขึ้น รวมถึงมีความปลอดภัยในการบริโภค ส่งเสริมคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น
          ด้านสังคมและชุมชน : การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน การช่วยเหลือเกื้อกูลกัน สามารถพึ่งพาตนเองและเกื้อกูลคนในชุมชนด้านพืชอาหาร เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
          ด้านความยั่งยืน : ชุมชนเกิดการเรียนรู้ มีความเข้าใจ ตระหนักในความสำคัญ และสามารถนำไปคิดต่อยอดองค์ความรู้เองได้
          - ลดรายจ่ายและสามารถสร้างรายได้เพิ่มขึ้นอย่างยั่งยืนและมั่นคง
          - มีความต่อเนื่องในการสร้างแหล่งพืชอาหารของตนเองและชุมชน
          1. ได้รับความรู้ความเข้าใจ เห็นคุณค่าของทรัพยากรทางธรรมชาติ และสังคมของท้องถิ่น สามารถฝึกทักษะการเป็นผู้นำ ทักษะการ
          เรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะการสื่อสาร ทักษะชีวิตและอาชีพ
          การปฏิบัติ การคิดวิเคราะห์ และนำเสนอต่อสาธารณชน โดยมีโอกาสนำความรู้ไปพัฒนาสามารถพึ่งพาตนเองเสริมสร้างคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น ตลอดจนพัฒนาเพื่อสร้างรายได้ให้กับครอบครัวตนเองได้
          2. สามารถเทียบโอนรายวิชา
          2.1 SC-001-009 วิชาชีววิทยาทั่วไป 2 จำนวน3 หน่วยกิต
          2.2 SC-001-010 วิชา ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป 2 จำนวน 1 หน่วยกิต
          2.3 รหัสวิชา PH-013-205 วิชาการสุขาภิบาลอาหารและอาหารปลอดภัย
          จำนวน 3 หน่วยกิต
          นำเข้าสู่ระบบโดย kochaphan kochaphan เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 21:16 น.