โครงการพัฒนาต้นแบบหมู่บ้านผ้าทอพื้นเมืองตามอัตลักษณ์ผู้ไทเพื่อสุขภาพ

แบบเสนอโครงการ
โครงการพัฒนาต้นแบบหมู่บ้านผ้าทอพื้นเมืองตามอัตลักษณ์ผู้ไทเพื่อสุขภาพ

1. ชื่อโครงการ

โครงการพัฒนาต้นแบบหมู่บ้านผ้าทอพื้นเมืองตามอัตลักษณ์ผู้ไทเพื่อสุขภาพกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์-ตำบลกุดหว้า อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ผู้ช่วยศาสตราจารย์นฤชิต แสนปากดีมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์095-658-7104ผู้ช่วยศาสตราจารย์นฤชิต แสนปากดี สาขาวิชานิติศาสตร์ (อาจารย์ที่ปรึกษา)
ว่าที่ร้อยตรีเกริกไกร นรภาร สาขาวิชานิติศาสตร์ (อาจารย์ที่ปรึกษา)
อาจารย์ธวัชชัย เคหะบาล สาขาวิชานวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่น (อาจารย์ที่ปรึกษา)
รองศาสตราจารย์ ดร.ปาริชา มารี เคน สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (อาจารย์ที่ปรึกษา)
นายพงศกรชาวเชียงตุงสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (อาจารย์ที่ปรึกษา)
นายยุทธพงษ์ เขื่อนแก้ว สาขาวิชารัฐศาสตร์ (อาจารย์ที่ปรึกษา)
นายสุริยา พลพุทธา สาขาวิชานิติศาสตร์ (นักศึกษา)
นายจักรินทร์ รักษาภักดี สาขาวิชานิติศาสตร์ (นักศึกษา)
นายธนอรรถ ดลเอี่ยม สาขาวิชานวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่น (นักศึกษา)
นางสาววัลลิ์สุดา แลผดุง สาขาวิชานวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่น (นักศึกษา)
นายศุภสิทธิ์ อุไรวรรณ สาขาวิชานวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่น (นักศึกษา)
นางสาวอารยา ศรีประไหม สาขาวิชานวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่น (นักศึกษา)
นางสาวนพวรรณ พลเยี่ยม สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (นักศึกษา)
นายกุลธร สมร สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (นักศึกษา)
นางสาวณัฐพรศรีเครือดง สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (นักศึกษา)
นายพิชิตพงษ์สายวิชัย สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (นักศึกษา)

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ กุฉินารายณ์ กุดหว้า

3. รายละเอียดชุมชน

1. ประเด็นปัญหาหลักหรือความต้องการของชุมชนที่ชัดเจน โดยต้องระบุว่าเป็นปัญหา ความยากจน ปัญหาความเหลื่อมล้า หรือปัญหาคุณภาพชีวิต อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น
ในภาคอีสานที่ยังติดกับวาทกรรมว่าด้วยความโง่จนเจ็บ (ประจักษ์ก้องกีรติ,2552 ตำบลกุดหว้า ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่ภาคอีสานที่ต้องเผชิญกับความท้าทายในด้านต่าง ๆ ที่เปลี่ยนแปลงไปตามพลวัตรของสังคมซึ่งจะต้องสามารถปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมให้ได้ โดยที่ยังคงความมีเอกลักษณ์ของพื้นที่ รวมถึงต้องสนับสนุนกิจกรรมที่มีลักษณะบูรณาการทั้งในมิติของวัฒนธรรม ด้วยพื้นที่ของตำบลมีประชากรร้อยละ 95 เป็นกลุ่มผู้ไท ซึ่งมีอัตลักษณ์ที่สำคัญเฉพาะตน
กลุ่มผลิตภัณฑ์ผ้าเย็บมือของตำบลกุดหว้าที่ผ่านมาโครงการหรือกิจกรรมต่างๆ ที่ภาครัฐเข้ามาสนับสนุนกลุ่มผลิตภัณฑ์ผ้าเย็บมือ มักจะได้รับการสนับสนุนในลักษณะของการอบรมให้ความรู้แก่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มผลิตภัณฑ์ผ้าเย็บมือ และการสนับสนุนข้อมูลต่างๆ แต่ไม่ใช่การให้เงินงบประมาณสนับสนุนการดำเนินงาน เช่น เทศบาลตำบลกุดหว้า เป็นหน่วยงานที่มีส่วนในการเข้ามาส่งเสริมและสนับสนุนกลุ่มผลิตภัณฑ์ผ้าเย็บมือ โดยใช้การประชาสัมพันธ์รูปแบบต่างๆ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกาฬสินธุ์ ให้การสนับสนุนด้านการประกอบอาชีพ เพื่อเป็นแนวทางในการสร้างรายได้ในครัวเรือน อีกทั้งยังมีหน่วยงานที่เข้ามามีบทบาทในการพัฒนากลุ่มผลิตภัณฑ์ผ้าเย็บมือ ส่วนใหญ่จะสนับสนุนในรูปแบบการอบรมให้ความรู้การสนับสนุนงบประมาณในการจัดสร้างสิ่งต่างๆ จัดหาอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง การจัดการอบรม/พัฒนาฝีมือการหาช่องทางการจัดจำหน่ายแสดงสินค้า และจัดประกวดแข่งขัน อย่างไรก็ตามปัญหาสำคัญหลายประการของการดำเนินงานของกลุ่มผ้าเย็บมือ คือ ปัญหาด้านการพัฒนาการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ในกลุ่มผลิตภัณฑ์ผ้าเย็บมือ ที่กลุ่มผลิตภัณฑ์ผ้าเย็บมือสามารถดำเนินการและแก้ไขร่วมกันได้อย่างทันที เพียงแค่ขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆที่มีความรู้ ความสามารถในด้านนี้เข้ามาให้ความรู้ เกี่ยวกับวิธีการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ที่ถูกต้องแก่คนในชุมชน เพื่อเป็นประโยชน์ในการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์แก่ชุมชนต่อไป ชุมชนจึงได้ร่วมกันนำเสนอโครงการพัฒนาทักษาด้านการประชาสัมพันธ์สื่อโซเชียลมีเดีย (social media) เพื่อให้คนในกลุ่มผลิตภัณฑ์ผ้าเย็บมือได้เรียนรู้เรื่องดังกล่าวร่วมกัน ซึ่งจะเกิดประโยชน์สูงสุด นอกจากนี้ในกลุ่มของหมู่บ้านภูไท มีการทำผ้าเย็บมือมาช้านานแต่ขาดอัตลักษณ์ที่สำคัญที่เป็นลายเฉพาะ ไม่มีอนุสิทธิบัตรรับรอง เครื่องหมายการค้าที่ถูกต้อง รวมถึงปัญหาด้านสุขภาพของผู้ทำผ้าเย็บมือ ด้วยการย้อมผ้าที่ใช้สีสารเคมี ทำให้ในแต่ละปีมีผู้เจ็บป่วยจากการใช้สารเคมีจำนวนมาก ในปี 2561 จากกลุ่มทั้งหมด 3 กลุ่มในพื้นที่ มีผู้เจ็บป่วยด้วยอาการภูมิแพ้ผื่นคัน จำนวน 12 ราย (สัมภาษณ์จากกลุ่ม) ส่งผลกระทบให้ส่วนปัญหาด้านการขาดแคลนบุคลากรในการสืบทอด ทางกลุ่มผลิตภัณฑ์ผ้าเย็บมือรวมถึงอาจส่งผลกระทบต่อผู้สวมใส่ด้วย
ดังนั้น การพัฒนาอัตลักษณ์ของผ้าเย็บมือภูไท ของตำบลกุดหว้า ความที่จะได้รับการพัฒนาในประเด้นที่ยังเป็นปัญหาอยู่ทั้งเรื่อง การขาดอัตลักษณ์ การสื่อสาร การตลาด เครื่องหมายการค้า การตลาดออนไลน์ การจดอนุสิทธิบัตรให้กับกลุ่มเพื่อสร้างอัตลักษณ์ที่ชัดเจนของผ้าเย็บมือผู้ไท รวมถึงปัญหาสุขภาพ เพื่อสร้างต้นแบบผลิตภัณฑ์ผ้าเย็บมือตามอัตลักษณ์ผู้ไทเพื่อสุขภาพ ของตำบลกุดหว้า อำเภอกินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ต่อไป

2. รายละเอียดพื้นฐานของชุมชนที่เข้าร่วมโครงงาน
ข้อมูลตำบลกุดหว้า อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
ประวัติความเป็นมาบ้านกุดหว้าเป็นหมู่บ้านชนเผ่าภูไท ซึ่งมีแบบธรรมเนียมประเพณีเป็นของตัวอง ซึ่งบรรพบุรุษของชาวเผ่าผู้ไทยบ้านกุดหว้าได้อพยพมาจากเมืองมุก เมืองวัง ซึ่งตั้งอยู่ที่สาธารณะประชาธิปไตยประชาชนลาวในปัจจุบันเมื่อปี พ.ศ.2387 ได้ย้ายถิ่นมาตั้งบ้านเรือนในเขตพื้นที่อำเภอเขาวงในปัจจุบันต่อมาปี พ.ศ.2399 ได้มีประชากรส่วนหนึ่งอพยพมาตั้งถิ่นฐานที่บ้านกุดหว้าในปัจจุบัน
เขตพื้นที่ ตำบลกุดหว้า เป็นตำบลในเขตการปกครองของอำเภอกุฉินารายณ์ ประกอบไปด้วย 12 หมู่บ้าน ได้แก่
หมู่ 1 บ้านกุดหว้าหมู่ 7 บ้านนาไคร้
หมู่ 2 บ้านกุดหว้าหมู่ 8 บ้านกุดหว้า
หมู่ 3 บ้านวังมนหมู่ 9 บ้านกุดหว้า
หมู่ 4 บ้านขุมขี้ยางหมู่ 10 บ้านห้วยแดง
หมู่ 5 บ้านโคกโก่งหมู่ 11 บ้านกุดหว้า
หมู่ 6 บ้านห้วยแดงหมู่ 12 บ้านขุมขี้ยาง
ตำบลกุดหว้า ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอกุฉินารายณ์ ห่างจากตัวอำเภอประมาณ 10 กิโลเมตร

4.1ภาพแสดงอาณาเขตของตำบลกุดหว้า อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
ทิศเหนือติดกับ ต.หนองห้างอ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์
ทิศใต้ติดกับ ต.จุมจังอ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์
ทิศตะวันออกติดกับ ต.กุดหว้าอ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์
ทิศตะวันตกติดกับ ต.บัวขาว และ จุมจังอ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์
อาชีพ อาชีพหลักคือการทำนา อาชีพเสริมคืออาชีพหัตถกรรม
สาธารณูปโภคจำนวนครัวเรือนที่มีไฟฟ้าใช้ในเขต อบต. 1,688 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 100.00 ของจำนวนหลังคาเรือน
กลุ่มกิจกรรมต่างๆในหมู่บ้านประกอบด้วย กลุ่มผ้าเย็บมือ กลุ่มจักสานไม้ไผ่กลุ่มเลี้ยงกระบือกองทุนหมู่บ้านสวัสดิการชุมชนกลุ่มทอผ้ากลุ่มจักรสานพลาสติกเป็นต้น
งานประเพณีและวัฒนธรรมที่สำคัญได้แก่
1. ประเพณีบุญบั้งไฟตะไลล้าน จัดพิธีบวงสรวงที่วัดกกต้องกุดหว้า อ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์ ทุกอาทิตย์ที่3ของเดือนพฤษภาคมของทุกปี
2. ประเพณีบุญพวงมาลัยไม้ไผ่ จัดพิธีทางศาสนามาลัยไม้ไผ่บุญข้าวประดับดิน ที่วัดกกต้อง อ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์
การเดินทางเดินทางเข้าสู่ตำบลโดยใช้เส้นทาง สายกุฉินารายณ์ – มุกดาหาร
ข้อมูลกลุ่มผ้าเย็บมือ
สมาชิกกลุ่มผลิตภัณฑ์ผ้าเย็บมือ ตำบลกุดหว้า อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ที่อยู่ในเขตพื้นที่ของเทศบาลตำบลกุดหว้า และองค์การบริหารส่วนตำบลกุดหว้า มีทั้งหมด 3 กลุ่มด้วยกัน คือ 1) กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรรวงทอง2) กลุ่มพัฒนาอาชีพสตรีบ้านกุดหว้า 3) กลุ่มสตรีบ้านโคกโก่งโดยจุดเริ่มต้นกลุ่มผ้าเย็บมือเริ่มจากการที่คนในชุมชนมีการทอผ้า เย็บผ้าเป็นทุนเดิม ซึ่งถือเป็นอาชีพเสริมของชุมชนของครอบครัว นอกเหนือจากการทำนาหลังจากนั้นองค์กรภาครัฐที่เกี่ยวข้อง และองค์กรปกครองส่วนท้องในพื้นที่จึงมาส่งเสริมและสนับสนุนให้รวมกลุ่มทำเป็นวิสาหกิจชุมชนขึ้นมา
1) กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรรวงทอง
เริ่มก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.2523 เกิดการรวมกลุ่มจากการชักชวนของผู้นำ โดยมีเกิดจากการ
ส่งเสริมของหน่วยงานภาครัฐ ส่วนภูมิภาค คือ สำนักงานเกษตรอำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นผู้สนับสนุนในเรื่องของงบประมาณและทุนตั้งต้น โดยในระยะแรกๆ เป็นการขายผลิตภัณฑ์แปรรูป อาทิเช่น ข้าวเกรียบ ข้าวแต๋น และสินค้าทางการเกษตร แต่เนื่องจากเป็นสินค้าที่มีช่วงอายุ ทางกลุ่มจึงมีการประชุมปรับเปลี่ยนเป็นการผลิตและจำหน่ายผ้าพื้นเมืองเสื้อเย็บมือ ปัจจุบันมีจำนวนสมาชิก60 คน ประธานกลุ่ม (ปัจจุบัน)ได้แก่ นางสุด อุทโท

2) กลุ่มพัฒนาอาชีพสตรีบ้านกุดหว้า
เริ่มก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.2542 เกิดการรวมกลุ่มจากการชักชวนของผู้นำท้องถิ่นและ เกิดจากกระบวนการจัดทำแผนแม่บทชุมชน โดยมีการส่งเสริมของหน่วยงานภาครัฐ ส่วนภูมิภาค คือ สำนักงานพัฒนาชุมชน อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นผู้สนับสนุนในเรื่องของงบประมาณและทุนตั้งต้น โดยผลิตและจำหน่ายผ้าพื้นเมืองเสื้อเย็บมือ ปัจจุบันมีจำนวนสมาชิก83 คน ประธานกลุ่ม (ปัจจุบัน)ได้แก่ นางสาวนารถนารีนารถโคตร
3) กลุ่มสตรีบ้านโคกโก่ง
เริ่มก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.2541 เกิดการรวมกลุ่มจากการชักชวนของผู้นำท้องถิ่น โดยมีการ
ส่งเสริมของหน่วยงานภาครัฐ ส่วนภูมิภาค คือ สหกรณ์อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นผู้สนับสนุนในเรื่องของงบประมาณและทุนตั้งต้น โดยผลิตและจำหน่ายผ้าพื้นเมืองเสื้อเย็บมือ ปัจจุบันมีจำนวนสมาชิก55 คน ประธานกลุ่ม (ปัจจุบัน)ได้แก่ นางไกรสีหนองสูง
มีสมาชิกกลุ่มผลิตภัณฑ์ผ้าเย็บมือ ตำบลกุดหว้า อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ที่อยู่ในเขตพื้นที่ของเทศบาลตำบลกุดหว้า และองค์การบริหารส่วนตำบลกุดหว้า มีทั้งหมด 3 กลุ่มด้วยกัน คือ 1) กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรรวงทอง2) กลุ่มพัฒนาอาชีพสตรีบ้านกุดหว้า 3) กลุ่มสตรีบ้านโคกโก่งโดยจุดเริ่มต้นกลุ่มผ้าเย็บมือเริ่มจากการที่คนในชุมชนมีการทอผ้า เย็บผ้าเป็นทุนเดิม ซึ่งถือเป็นอาชีพเสริมของชุมชนของครอบครัว นอกเหนือจากการทำนาหลังจากนั้นองค์กรภาครัฐที่เกี่ยวข้อง และองค์กรปกครองส่วนท้องในพื้นที่จึงมาส่งเสริมและสนับสนุนให้รวมกลุ่มทำเป็นวิสาหกิจชุมชนขึ้นมาขาดการพัฒนากลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่เป็นรูปธรรม และยังขาดการจัดการทีเป็นระบบซึ่งจะช่วยแก้ปัญหาในเรื่องของความยากจน เพิ่มรายได้ เป็นอาชีพเสริมให้กับคนในชุมชนท้องถิ่นชุมชนตำบลกุดหว้า อ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์ ต้องการองค์ความรู้จากการดำเนินโครงงาน จะส่งผลให้ชุมชนเกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ในชุมชน ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีเงินสำหรับใช้ในชีวิตประจำวันตลอดจนการมีเงินสำหรับเก็บออมไว้ยามจำเป็น นอกจากนี้ผู้สูงอายุในชุมชน ยังมีความรู้ในด้านการดูแลสุขภาพจากคู่มือสุขภาพชุมชน เกิดการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน
การดำเนินโครงการพัฒนาต้นแบบหมู่บ้านผ้าทอพื้นเมืองตามอัตลักษณ์ผู้ไทเพื่อสุขภาพ
ในครั้งนี้ มีการบูรณาการองค์ความรู้ในศาสตร์ที่หลากหลาย ประกอบด้วย อาจารย์ในสาขาวิชาดังต่อไปนี้
1) สาขารัฐประศาสนศาสตร์ รับผิดชอบ กิจกรรมด้านการวางแผน
2) สาขาสาธารณสุขศาสตร์ รับผิดชอบ กิจกรรมด้านสุขภาพ
3) สาขาวิชานวัตกรรมเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น รับผิดชอบ กิจกรรมด้านหลักสูตรการย้อมสี
4) สาขาวิชานิติศาสตร์ รับผิดชอบ กิจกรรมด้านจัดทำอนุสิทธิบัตร
5) สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม รับผิดชอบ กิจกรรมด้านสุขภาพ อนามัยสิ่งแวดล้อม

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 วัตถุประสงค์โครงการ 1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์ตัวเองในการปฏิบัติงานจริง รองรับการเป็นบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 2. เพื่อพัฒนาหมู่บ้านต้นแบบที่มีขีดความสามารถในการผลิตผ้าเย็บมือโดยใช้วัสดุธรรมชาติในการย้อม 3. เพื่อส่งเสริมการสร้างอาชีพในชุมชนและสร้างรายได้แก่ชุมชนจากภูมิปัญญาท้องถิ่น 4. เพื่อพัฒนาผ้าเย็บมือของกลุ่มผู้ไทให้ได้รับการจัดอนุสิทธิบัตรลายผู้ไทของแต่ละกลุ่ม

ชุมชนตำบลกุดหว้า อ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์ ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้จากการดำเนินโครงงานครั้งนี้ จะส่งผลให้ชุมชนเกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ในชุมชน ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีเงินสำหรับใช้ในชีวิตประจำวันตลอดจนการมีเงินสำหรับเก็บออมไว้ยามจำเป็น นอกจากนี้ผู้สูงอายุในชุมชน ยังมีความรู้ในด้านการดูแลสุขภาพจากคู่มือสุขภาพชุมชน เกิดการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง ลดปัญหาความยากจน และสร้างรายได้จากการส่งเสริมอาชีพ ร้อยละ 7 เป้าหมาย ระยะเวลา 1 ปี

7.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
1. กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรรวงทอง 60
2. กลุ่มพัฒนาอาชีพสตรีบ้านกุดหว้า 83
3. กลุ่มสตรีบ้านโคกโก่ง 55

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการย้อมผ้าด้วยสีธรรมชาติ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมการย้อมผ้าด้วยสีธรรมชาติ
วัตถุประสงค์
  1. วัตถุประสงค์โครงการ 1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์ตัวเองในการปฏิบัติงานจริง รองรับการเป็นบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 2. เพื่อพัฒนาหมู่บ้านต้นแบบที่มีขีดความสามารถในการผลิตผ้าเย็บมือโดยใช้วัสดุธรรมชาติในการย้อม 3. เพื่อส่งเสริมการสร้างอาชีพในชุมชนและสร้างรายได้แก่ชุมชนจากภูมิปัญญาท้องถิ่น 4. เพื่อพัฒนาผ้าเย็บมือของกลุ่มผู้ไทให้ได้รับการจัดอนุสิทธิบัตรลายผู้ไทของแต่ละกลุ่ม
รายละเอียดกิจกรรม
ดำเนินการจัดประชุมคณะทำงาน ประกอบด้วยอาจารย์ผู้รับผิดชอบในทุกกิจกรรม และนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงงาน เพื่อชี้แจงถึงรายละเอียดโครงงานภาพรวมและกิจกรรมหลักที่จะดำเนินงาน อันประกอบด้วย 7 กิจกรรมหลัก ได้แก่
1) สำรวจข้อมูล คัดเลือกและทำทะเบียนผู้ร่วมโครงการ
การจัดอบรมเพื่อถ่ายทอดเทคนิคการย้อมธรรมชาติ
2) ศึกษากระบวนการผลิตผ้าเย็บมือเพื่อสุขภาพแบบครบวงจร
3) อบรมเชิงปฏิบัติการการผลิตสีย้อมผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติ
4) จัดทำคู่มือต้นแบบผลิตภัณฑ์ผ้าเย็บมือตามอัตลักษณ์ผู้ไทเพื่อสุขภาพ
5) การถ่ายทอดการจดอนุสิทธิบัตรและการดำเนินการยื่นเพื่อการจดอนุสิทธิบัตร
6) ส่งเสริมการตลาดออนไลน์และการตลาดสากล
7) การประเมิลผลโครงงาน
ดำเนินโครงงานตามกิจกรรมหลัก คือ
กิจกรรมที่ 1. สำรวจข้อมูล คัดเลือกและทำทะเบียนผู้ร่วมโครงการการจัดอบรมเพื่อถ่ายทอดเทคนิคการย้อมธรรมชาติ
ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย
- สำรวจสภาพปัจจุบัน ปัญหาอุปสรรค และความต้องการ
- ระดมความคิดเห็นร่วมกับผู้สูงอายุและคนในชุมชน
- การวิเคราะห์ SWOT ของชุมชน
-การคัดเลือกผู้ร่วมโครงการ
ฯลฯ
กิจกรรมที่ 2. ศึกษากระบวนการผลิตผ้าเย็บมือเพื่อสุขภาพแบบครบวงจร ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย
- การเลือกผ้าผ้าย
- กาสกัดสีธรรมชาติ
-การย้อม
-เทคนิคที่ควรรู้
- ถ่ายทอดองค์ความรู้ใหม่ที่ได้
ฯลฯ
กิจกรรมที่ 3. อบรมเชิงปฏิบัติการการผลิตสีย้อมผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติ
ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย
- การเลือกผ้าผ้าย
- กาสกัดสีธรรมชาติ
-การย้อม
-เทคนิคที่ควรรู้
- ถ่ายทอดองค์ความรู้ใหม่ที่ได้

ฯลฯ
กิจกรรมที่ 4. จัดทำคู่มือต้นแบบผลิตภัณฑ์ผ้าเย็บมือตาม อัตลักษณ์ผู้ไทเพื่อสุขภาพ ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย
- การรวมรวมข้อมูลจากทุกกิจกรรมในโครงการ
- การจัดลำดับเนื้อหาข้อมูล วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล
- จัดทำหลักสูตรการย้อมผ้าจากธรรมชาติ
- การนำหลักสูตรไปใช้โดยการทดลองสอนกับกลุ่มที่สนใจและเข้าร่วม
- การประเมินหลักสูตรฯ
- การตีพิมพ์เผยแพร่หลักสูตรฯ
กิจกรรมที่ 5. การถ่ายทอดการจดอนุสิทธิบัตรและการดำเนินการยื่นเพื่อการจดอนุสิทธิบัตร
- ความรู้เกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญาสำหรับกลุ่ม
- การอบรมความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการจดอนุสิทธิบัตร
- การคุ้มครอง
- สิทธิชื่อทางการค้า
- การดำเนินการเสนอเอกสารเพื่อยื่นขอจดอนุสิทธิบัตร

กิจกรรมที่ 6 ส่งเสริมการตลาดออนไลน์และการตลาดสากล
ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย
- การสำรวจตลาดในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์และใกล้เคียง
- การจำแนกประเภทธุรกิจที่เป็นกลุ่มเป้าหมายทางการตลาด เช่น ร้านสังฆภัณฑ์ ร้านอาหาร
- การวางแผนทางการตลาดร่วมกับชุมชน
- การออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมการขาย
- การส่งเสริมการตลาดออนไลน์
ฯลฯ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 1 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลลัพท์จากการดำเนินโครงงาน (output)
1) อาจารย์และนักศึกษาได้เรียนรู้ร่วมกับชุมชน ได้นำองค์ความรู้ในศาสตร์สาขาของตนเองเข้าไปช่วยแก้ปัญหาชุมชน ตลอดจนหนุนเสริมให้ชุมชนเกิดการยกระดับคุณภาพชีวิตสู่การมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ตอบสนองการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
2) เกิดต้นแบบหมู่บ้านผ้าทอพื้นเมืองตามอัตลักษณ์ผู้ไทเพื่อสุขภาพ
3) ผลิตภัณฑ์ผ้าเย็บมือได้รับการจดทะเบียนอนุสิทธิบัตรทุกกลุ่มที่เข้าร่วม

6.3 ผลกระทบ (impact)
ด้านสังคม
1) คนในชุมชนมีกิจกรรมที่ทำร่วมกัน และมีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น เนื่องจาการตัดผ้าเย็บมือแบบไม่มีสารตกค้าง

ด้านเศรษฐกิจ
1) เกิดการสร้างอาชีพแก่ผู้สูงอายุและคนในชุมชน
2) เกิดผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาท้องถิ่นที่หลากหลาย เพื่อเพิ่มช่องทางการตลาดที่แตกต่างแก่ผู้บริโภค
ด้านสิ่งแวดล้อม
1) การทอผ้าที่ใช้วัสดุธรรมชาติในการย้อม ส่งผลให้สภาพแวดล้อมในชุมชนดีขึ้น ไม่มีสารพิษตกค้าง
ทรัพยากรอื่น ๆ
งบประมาณตลอดโครงการ จำนวน 500,000 บาท ดังรายละเอียดต่อไปนี้
ประเภทงบรายจ่าย/รายการ รายละเอียด (ตัวคูณ) งบประมาณ (บาท)
งบดำเนินงาน : 500,000
1. ค่าตอบแทน 137,400
2. ค่าใช้สอย 294,740
3. ค่าวัสดุ 67,860
งบประมาณรายกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1. สำรวจข้อมูล คัดเลือกและทำทะเบียนผู้ร่วมโครงการการจัดอบรมเพื่อถ่ายทอดเทคนิคการย้อมธรรมชาติ 107,110
1. ค่าตอบแทน 45,000
- ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน * 5 ช.ม. * 600 บาท * 5 ครั้ง 45,000
2. ค่าใช้สอย 60,750
- ค่าอาหารกลางวัน 40 คน * 7 วัน * 125 บาท 35,000
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 คน * 7 วัน * 25 บาท * 2 ครั้ง 14,000
- ค่านำมันเชื้อเพลิงรถยนต์ส่วนบุคคล 1 คัน * 100 กม. * 4 บาท * 10 ครั้ง 4,000
- ป้ายไวนิลกิจกรรม 1 ป้าย * 2000 บาท 2,000
- จัดทำเอกสารประกอบกิจกรรม 50 ชุด * 5 แผ่น * 1 บาท * 3 ครั้ง 750
- จัดทำเล่มแผนฯฉบับสมบูรณ์ 10 เล่ม * 500 บาท 5,000
3. ค่าวัสดุ 1,360
- กระดาษA4 5 รีม * 120 บาท 600
- กระดาษชาร์ท 20 แผ่น * 20 บาท 400
- ปากกา 2 กล่อง * 180 บาท 360
กิจกรรมที่ 2. ศึกษากระบวนการผลิตผ้าเย็บมือเพื่อสุขภาพแบบครบวงจร 97,550
1. ค่าตอบแทน 16,800
- ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน * 7 ช.ม. * 600 บาท * 2 ครั้ง 16,800
2. ค่าใช้สอย 34,750
- ค่าอาหารกลางวัน 40 คน * 4 วัน * 125 บาท 20,000
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 คน * 4 วัน * 25 บาท * 2 ครั้ง 8,000
- ป้ายไวนิลกิจกรรม 1 ป้าย * 2000 บาท 2,000
- ค่านำมันเชื้อเพลิงรถยนต์ส่วนบุคคล 1 คัน * 100 กม. * 4 บาท * 10 ครั้ง 4,000
- จัดทำเอกสารประกอบกิจกรรม 50 ชุด * 5 แผ่น * 1 บาท * 3 ครั้ง 750
3. ค่าวัสดุ 46,000
- ค่าไหมพรม 300 ม้วน * 80 บาท 24,000
- ดอกไม้พลาสติก 100 ห่อ * 100 บาท 10,000
- ไข่มุกพลาสติก 100 ห่อ * 100 บาท 10,000
- ค่าไม้ไผ่/ตะเกียบ ทำฐานธุง 200 ชิ้น * 1 บาท 2,000
กิจกรรมที่ 3. อบรมเชิงปฏิบัติการการผลิตสีย้อมผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติ 66,145
1. ค่าตอบแทน 16,800
- ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน * 7 ช.ม. * 600 บาท * 2 ครั้ง 16,800
2. ค่าใช้สอย 43,745
- ค่าอาหารกลางวัน 40 คน * 4 วัน * 125 บาท 20,000
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 คน * 4 วัน * 25 บาท * 2 ครั้ง 8,000
- ค่านำมันเชื้อเพลิงรถยนต์ส่วนบุคคล 1 คัน * 100 กม. * 4 บาท * 10 ครั้ง 4,000
- จัดทำเอกสารประกอบกิจกรรม 50 ชุด * 5 แผ่น * 1 บาท * 3 ครั้ง 750
- ป้ายไวนิลกิจกรรม 1 ป้าย * 2000 บาท 2,000
- จัดทำเล่มคู่มือฯฉบับสมบูรณ์ 10 เล่ม * 500 บาท 5,000
- จ้างพิมพ์คู่มือฯและจัดรูปเล่ม 3995 บาท 3,995
3. ค่าวัสดุ 5,600
- หมึกเครื่องปริ้น 2 ตลับ * 2500 บาท 5,000
- กระดาษA4 5 รีม * 120 บาท 600
กิจกรรมที่ 4. จัดทำคู่มือต้นแบบผลิตภัณฑ์ผ้าเย็บมือตามอัตลักษณ์ผู้ไทเพื่อสุขภาพ 66,145
1. ค่าตอบแทน 16,800
- ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน * 7 ช.ม. * 600 บาท * 2 ครั้ง 16,800
2. ค่าใช้สอย 43,745
- ค่าอาหารกลางวัน 40 คน * 4 วัน * 125 บาท 20,000
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 คน * 4 วัน * 25 บาท * 2 ครั้ง 8,000
- ค่านำมันเชื้อเพลิงรถยนต์ส่วนบุคคล 1 คัน * 100 กม. * 4 บาท * 10 ครั้ง 4,000
- จัดทำเอกสารประกอบกิจกรรม 50 ชุด * 5 แผ่น * 1 บาท * 3 ครั้ง 750
- ป้ายไวนิลกิจกรรม 1 ป้าย * 2000 บาท 2,000
- จัดทำเล่มหลักสูตรฯฉบับสมบูรณ์ 10 เล่ม * 500 บาท 5,000
- จ้างพิมพ์เล่มหลักสูตรและจัดรูปเล่ม 3995 บาท 3,995
3. ค่าวัสดุ 5,600
- หมึกเครื่องปริ้น 2 ตลับ * 2500 บาท 5,000
- กระดาษA4 5 รีม * 120 บาท 600
กิจกรรมที่ 5. ส่งเสริมการตลาดออนไลน์และการตลาดสากล 88,050
1. ค่าตอบแทน 25,200
- ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน * 7 ช.ม. * 600 บาท * 2 ครั้ง 25,200
2. ค่าใช้สอย 59,750
- ค่าอาหารกลางวัน 40 คน * 4 วัน * 125 บาท 20,000
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 คน * 4 วัน * 25 บาท * 2 ครั้ง 8,000
- ค่านำมันเชื้อเพลิงรถยนต์ส่วนบุคคล 1 คัน * 100 กม. * 4 บาท * 10 ครั้ง 4,000
- จัดทำเอกสารประกอบกิจกรรม 50 ชุด * 5 แผ่น * 1 บาท * 3 ครั้ง 750
- ป้ายไวนิลกิจกรรม 1 ป้าย * 2000 บาท 2,000
- จัดพิมพ์สื่อประชาสัมพันธ์โบร์ชัวร์ 1000 แผ่น * 10 บาท 10,000
- ค่าโฆษณาขายสินค้าผ่านเพจเฟสบุ๊ค 30 วัน * 500 บาท 15,000
3. ค่าวัสดุ 3,100
- หมึกเครื่องปริ้น 1 ตลับ * 2500 บาท 2,500
- กระดาษA4 5 รีม * 120 บาท 600
กิจกรรมที่ 6. การถ่ายทอดการจดอนุสิทธิบัตรและการดำเนินการยื่นเพื่อการจดอนุสิทธิบัตร 54,900
1. ค่าตอบแทน 16,800
- ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน * 7 ช.ม. * 600 บาท * 2 ครั้ง 16,800
2. ค่าใช้สอย 35,000
- ค่าอาหารกลางวัน 40 คน * 4 วัน * 125 บาท 20,000
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 คน * 4 วัน * 25 บาท * 2 ครั้ง 8,000
- ค่านำมันเชื้อเพลิงรถยนต์ส่วนบุคคล 1 คัน * 100 กม. * 4 บาท * 10 ครั้ง 4,000
- จัดทำเอกสารประกอบกิจกรรม 50 ชุด * 5 แผ่น * 1 บาท * 3 ครั้ง 1,000
- ป้ายไวนิลกิจกรรม 1 ป้าย * 2000 บาท 2,000
3. ค่าวัสดุ 3,100
- หมึกเครื่องปริ้น 1 ตลับ * 2500 บาท 2,500
- กระดาษA4 5 รีม * 120 บาท 600
กิจกรรมที่ 7. การประเมินผลและสรุปผลโครงงาน 20,100
1. ค่าตอบแทน -
2. ค่าใช้สอย 17,000
- จัดทำรายงานความก้าวหน้าโครงงาน 10 เล่ม * 300 บาท 3,000
- จัดทำเล่มสรุปผลการดำเนินโครงงานฉบับสมบูรณ์ 10 เล่ม * 500 บาท 5,000
- ค่าอาหารกลางวัน (รายงานผลโครงงานของนักศึกษา) 20 คน * 2 วัน * 125 บาท 5,000
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (รายงานผลโครงงานของนักศึกษา) 20 คน * 2 วัน * 25 บาท * 2 ครั้ง 2,000
- ป้ายไวนิลกิจกรรม 1 ป้าย * 2000 บาท 2,000
3. ค่าวัสดุ 3,100
- หมึกเครื่องปริ้น 1 ตลับ * 2500 บาท 2,500
- กระดาษA4 5 รีม * 120 บาท 600
รวมทั้งสิ้น ห้าแสนบาทถ้วน 500,000
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

งบประมาณตลอดโครงการ จำนวน 500,000 บาท ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ประเภทงบรายจ่าย/รายการ รายละเอียด (ตัวคูณ) งบประมาณ (บาท) งบดำเนินงาน : 500,000 1. ค่าตอบแทน 137,400 2. ค่าใช้สอย 294,740 3. ค่าวัสดุ 67,860 งบประมาณรายกิจกรรม กิจกรรมที่ 1. สำรวจข้อมูล คัดเลือกและทำทะเบียนผู้ร่วมโครงการการจัดอบรมเพื่อถ่ายทอดเทคนิคการย้อมธรรมชาติ 107,110 1. ค่าตอบแทน 45,000 - ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน * 5 ช.ม. * 600 บาท * 5 ครั้ง 45,000 2. ค่าใช้สอย 60,750 - ค่าอาหารกลางวัน 40 คน * 7 วัน * 125 บาท 35,000 - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 คน * 7 วัน * 25 บาท * 2 ครั้ง 14,000 - ค่านำมันเชื้อเพลิงรถยนต์ส่วนบุคคล 1 คัน * 100 กม. * 4 บาท * 10 ครั้ง 4,000 - ป้ายไวนิลกิจกรรม 1 ป้าย * 2000 บาท 2,000 - จัดทำเอกสารประกอบกิจกรรม 50 ชุด * 5 แผ่น * 1 บาท * 3 ครั้ง 750 - จัดทำเล่มแผนฯฉบับสมบูรณ์ 10 เล่ม * 500 บาท 5,000 3. ค่าวัสดุ 1,360 - กระดาษA4 5 รีม * 120 บาท 600 - กระดาษชาร์ท 20 แผ่น * 20 บาท 400 - ปากกา 2 กล่อง * 180 บาท 360 กิจกรรมที่ 2. ศึกษากระบวนการผลิตผ้าเย็บมือเพื่อสุขภาพแบบครบวงจร 97,550 1. ค่าตอบแทน 16,800 - ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน * 7 ช.ม. * 600 บาท * 2 ครั้ง 16,800 2. ค่าใช้สอย 34,750 - ค่าอาหารกลางวัน 40 คน * 4 วัน * 125 บาท 20,000 - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 คน * 4 วัน * 25 บาท * 2 ครั้ง 8,000 - ป้ายไวนิลกิจกรรม 1 ป้าย * 2000 บาท 2,000 - ค่านำมันเชื้อเพลิงรถยนต์ส่วนบุคคล 1 คัน * 100 กม. * 4 บาท * 10 ครั้ง 4,000 - จัดทำเอกสารประกอบกิจกรรม 50 ชุด * 5 แผ่น * 1 บาท * 3 ครั้ง 750 3. ค่าวัสดุ 46,000 - ค่าไหมพรม 300 ม้วน * 80 บาท 24,000 - ดอกไม้พลาสติก 100 ห่อ * 100 บาท 10,000 - ไข่มุกพลาสติก 100 ห่อ * 100 บาท 10,000 - ค่าไม้ไผ่/ตะเกียบ ทำฐานธุง 200 ชิ้น * 1 บาท 2,000 กิจกรรมที่ 3. อบรมเชิงปฏิบัติการการผลิตสีย้อมผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติ 66,145 1. ค่าตอบแทน 16,800 - ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน * 7 ช.ม. * 600 บาท * 2 ครั้ง 16,800 2. ค่าใช้สอย 43,745 - ค่าอาหารกลางวัน 40 คน * 4 วัน * 125 บาท 20,000 - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 คน * 4 วัน * 25 บาท * 2 ครั้ง 8,000 - ค่านำมันเชื้อเพลิงรถยนต์ส่วนบุคคล 1 คัน * 100 กม. * 4 บาท * 10 ครั้ง 4,000 - จัดทำเอกสารประกอบกิจกรรม 50 ชุด * 5 แผ่น * 1 บาท * 3 ครั้ง 750 - ป้ายไวนิลกิจกรรม 1 ป้าย * 2000 บาท 2,000 - จัดทำเล่มคู่มือฯฉบับสมบูรณ์ 10 เล่ม * 500 บาท 5,000 - จ้างพิมพ์คู่มือฯและจัดรูปเล่ม 3995 บาท 3,995 3. ค่าวัสดุ 5,600 - หมึกเครื่องปริ้น 2 ตลับ * 2500 บาท 5,000 - กระดาษA4 5 รีม * 120 บาท 600 กิจกรรมที่ 4. จัดทำคู่มือต้นแบบผลิตภัณฑ์ผ้าเย็บมือตามอัตลักษณ์ผู้ไทเพื่อสุขภาพ 66,145 1. ค่าตอบแทน 16,800 - ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน * 7 ช.ม. * 600 บาท * 2 ครั้ง 16,800 2. ค่าใช้สอย 43,745 - ค่าอาหารกลางวัน 40 คน * 4 วัน * 125 บาท 20,000 - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 คน * 4 วัน * 25 บาท * 2 ครั้ง 8,000 - ค่านำมันเชื้อเพลิงรถยนต์ส่วนบุคคล 1 คัน * 100 กม. * 4 บาท * 10 ครั้ง 4,000 - จัดทำเอกสารประกอบกิจกรรม 50 ชุด * 5 แผ่น * 1 บาท * 3 ครั้ง 750 - ป้ายไวนิลกิจกรรม 1 ป้าย * 2000 บาท 2,000 - จัดทำเล่มหลักสูตรฯฉบับสมบูรณ์ 10 เล่ม * 500 บาท 5,000 - จ้างพิมพ์เล่มหลักสูตรและจัดรูปเล่ม 3995 บาท 3,995 3. ค่าวัสดุ 5,600 - หมึกเครื่องปริ้น 2 ตลับ * 2500 บาท 5,000 - กระดาษA4 5 รีม * 120 บาท 600 กิจกรรมที่ 5. ส่งเสริมการตลาดออนไลน์และการตลาดสากล 88,050 1. ค่าตอบแทน 25,200 - ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน * 7 ช.ม. * 600 บาท * 2 ครั้ง 25,200 2. ค่าใช้สอย 59,750 - ค่าอาหารกลางวัน 40 คน * 4 วัน * 125 บาท 20,000 - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 คน * 4 วัน * 25 บาท * 2 ครั้ง 8,000 - ค่านำมันเชื้อเพลิงรถยนต์ส่วนบุคคล 1 คัน * 100 กม. * 4 บาท * 10 ครั้ง 4,000 - จัดทำเอกสารประกอบกิจกรรม 50 ชุด * 5 แผ่น * 1 บาท * 3 ครั้ง 750 - ป้ายไวนิลกิจกรรม 1 ป้าย * 2000 บาท 2,000 - จัดพิมพ์สื่อประชาสัมพันธ์โบร์ชัวร์ 1000 แผ่น * 10 บาท 10,000 - ค่าโฆษณาขายสินค้าผ่านเพจเฟสบุ๊ค 30 วัน * 500 บาท 15,000 3. ค่าวัสดุ 3,100 - หมึกเครื่องปริ้น 1 ตลับ * 2500 บาท 2,500 - กระดาษA4 5 รีม * 120 บาท 600 กิจกรรมที่ 6. การถ่ายทอดการจดอนุสิทธิบัตรและการดำเนินการยื่นเพื่อการจดอนุสิทธิบัตร 54,900 1. ค่าตอบแทน 16,800 - ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน * 7 ช.ม. * 600 บาท * 2 ครั้ง 16,800 2. ค่าใช้สอย 35,000 - ค่าอาหารกลางวัน 40 คน * 4 วัน * 125 บาท 20,000 - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 คน * 4 วัน * 25 บาท * 2 ครั้ง 8,000 - ค่านำมันเชื้อเพลิงรถยนต์ส่วนบุคคล 1 คัน * 100 กม. * 4 บาท * 10 ครั้ง 4,000 - จัดทำเอกสารประกอบกิจกรรม 50 ชุด * 5 แผ่น * 1 บาท * 3 ครั้ง 1,000 - ป้ายไวนิลกิจกรรม 1 ป้าย * 2000 บาท 2,000 3. ค่าวัสดุ 3,100 - หมึกเครื่องปริ้น 1 ตลับ * 2500 บาท 2,500 - กระดาษA4 5 รีม * 120 บาท 600 กิจกรรมที่ 7. การประเมินผลและสรุปผลโครงงาน 20,100 1. ค่าตอบแทน - 2. ค่าใช้สอย 17,000 - จัดทำรายงานความก้าวหน้าโครงงาน 10 เล่ม * 300 บาท 3,000 - จัดทำเล่มสรุปผลการดำเนินโครงงานฉบับสมบูรณ์ 10 เล่ม * 500 บาท 5,000 - ค่าอาหารกลางวัน (รายงานผลโครงงานของนักศึกษา) 20 คน * 2 วัน * 125 บาท 5,000 - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (รายงานผลโครงงานของนักศึกษา) 20 คน * 2 วัน * 25 บาท * 2 ครั้ง 2,000 - ป้ายไวนิลกิจกรรม 1 ป้าย * 2000 บาท 2,000 3. ค่าวัสดุ 3,100 - หมึกเครื่องปริ้น 1 ตลับ * 2500 บาท 2,500 - กระดาษA4 5 รีม * 120 บาท 600 รวมทั้งสิ้น ห้าแสนบาทถ้วน 500,000

1 คน 0 1 0
ค่าตอบแทนวิทยากร

3 คน * 5 ช.ม. * 600 บาท * 5 ครั้ง

3 คน 3,000 5 45,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

2 คน * 7 ช.ม. * 600 บาท * 2 ครั้ง

2 คน 4,200 2 16,800
ค่าตอบแทนวิทยากร

2 คน * 7 ช.ม. * 600 บาท * 2 ครั้ง

2 คน 4,200 2 16,800
ค่าตอบแทนวิทยากร

2 คน * 7 ช.ม. * 600 บาท * 2 ครั้ง

2 คน 4,200 2 16,800
ค่าตอบแทนวิทยากร

3 คน * 7 ช.ม. * 600 บาท * 2 ครั้ง

3 คน 4,200 2 25,200
ค่าตอบแทนวิทยากร

2 คน * 7 ช.ม. * 600 บาท * 2 ครั้ง

2 คน 4,200 2 16,800
ค่าอาหาร

- ค่าอาหารกลางวัน 40 คน * 7 วัน * 125 บาท 35,000 - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 คน * 7 วัน * 25 บาท * 2 ครั้ง 14,000

40 คน 175 7 49,000
ค่าอาหาร

- ค่าอาหารกลางวัน 40 คน * 4 วัน * 125 บาท 20,000 - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 คน * 4 วัน * 25 บาท * 2 ครั้ง 8,000

40 คน 175 4 28,000
ค่าอาหาร

- ค่าอาหารกลางวัน 40 คน * 4 วัน * 125 บาท 20,000 - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 คน * 4 วัน * 25 บาท * 2 ครั้ง 8,000

40 คน 175 4 28,000
ค่าอาหาร

- ค่าอาหารกลางวัน 40 คน * 4 วัน * 125 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 คน * 4 วัน * 25 บาท * 2 ครั้ง

40 คน 175 4 28,000
ค่าอาหาร

- ค่าอาหารกลางวัน 40 คน * 4 วัน * 125 บาท 20,000 - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 คน * 4 วัน * 25 บาท * 2 ครั้ง 8,000

40 คน 175 4 28,000
ค่าอาหาร

- ค่าอาหารกลางวัน 40 คน * 4 วัน * 125 บาท 20,000 - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 คน * 4 วัน * 25 บาท * 2 ครั้ง 8,000

40 คน 175 4 28,000
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

1 คัน * 100 กม. * 4 บาท * 10 ครั้ง 1 คัน * 100 กม. * 4 บาท * 10 ครั้ง 1 คัน * 100 กม. * 4 บาท * 10 ครั้ง 1 คัน * 100 กม. * 4 บาท * 10 ครั้ง 1 คัน * 100 กม. * 4 บาท * 10 ครั้ง 1 คัน * 100 กม. * 4 บาท * 10 ครั้ง

1 ครั้ง 2,400 10 24,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

6 ป้าย * 2000 บาท

1 ครั้ง 2,000 7 14,000
ค่าถ่ายเอกสาร 1 คน 58,490 1 58,490
ค่าอาหาร

20 คน * 2 วัน * 125 บาท 20 คน * 2 วัน * 25 บาท * 2 ครั้ง

20 คน 175 2 7,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 1 ชุด 70,110 1 70,110
รวมค่าใช้จ่าย 500,000

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 137,400.00 14,000.00 278,490.00 70,110.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 27.48% 2.80% 55.70% 14.02% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) 1 ผลผลิตจากการดำเนินโครงงาน
กลุ่มผ้าเย็บมือผู้ไท ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการทอผ้าจากวัสดุธรรมชาติ และสร้างอัตลักษณ์ผ้าเย็บมือเพื่อสุขภาพ ของกลุ่มภูไทยใน ตำบลกุดหว้า อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์

2 ผลลัพท์จากการดำเนินโครงงาน
1) อาจารย์และนักศึกษาได้เรียนรู้ร่วมกับชุมชน ได้นำองค์ความรู้ในศาสตร์สาขาของตนเองเข้าไปช่วยแก้ปัญหาชุมชน ตลอดจนหนุนเสริมให้ชุมชนเกิดการยกระดับคุณภาพชีวิตสู่การมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ตอบสนองการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
2) เกิดต้นแบบหมู่บ้านผ้าทอพื้นเมืองตามอัตลักษณ์ผู้ไทเพื่อสุขภาพ
3) ผลิตภัณฑ์ผ้าเย็บมือได้รับการจดทะเบียนอนุสิทธิบัตรทุกกลุ่มที่เข้าร่วม
ผลลัพท์ต่อนักศึกษา
1. นักศึกษาได้เรียนรู้ร่วมกับชุมชน เกิดความรู้ความเข้าใจ และประสบการณ์จากการใช้ชีวิตจริงในชุมชน สามารถได้นำองค์ความรู้ที่ได้รับจากประสบการณ์ตรงไปต่อยอดในการส่งเสริม/พัฒนาชุมชนบ้านเกิดของตนเองได้รวมถึงการนำไปต่อยอดเป็นผู้ประกอบการในห่วงโซ่ธุรกิจที่เกี่ยวข้องได้ในศาสตร์สาขาของตนเองเข้าไปช่วยแก้ปัญหาชุมชน ตลอดจนหนุนเสริมให้ชุมชนเกิดการยกระดับคุณภาพชีวิตสู่การมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ตอบสนองการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
2. สามารถเทียบโอนรายวิชา
2.1 รหัสวิชา 2503105 วิจัยเชิงปฎิบัติการแบบมีส่วนร่วม จำนวน 4 หน่วยกิต
2.2 รหัสวิชา การบริหารรัฐวิสาหกิจไทย จำนวน 3 หน่วยกิต
2.3 รหัสวิชา LA-012-430 กฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญาและวิธีพิจารณาในศาลทรัพย์สินทางปัญญา จำนวน 2 หน่วยกิต
2.4 รหัสวิชา 4063413 เทคโนโลยีทางอนามัยสิ่งแวดล้อม จำนวน 3 หน่วยกิต
ผลลัพธ์ (Outcome) ชุมชนตำบลกุดหว้า อ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์ ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้จากการดำเนินโครงงานครั้งนี้ จะส่งผลให้ชุมชนเกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ในชุมชน ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีเงินสำหรับใช้ในชีวิตประจำวันตลอดจนการมีเงินสำหรับเก็บออมไว้ยามจำเป็น นอกจากนี้ผู้สูงอายุในชุมชน ยังมีความรู้ในด้านการดูแลสุขภาพจากคู่มือสุขภาพชุมชน เกิดการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง สามารถได้นำองค์ความรู้ที่ได้รับจากประสบการณ์ตรงไปต่อยอดในการส่งเสริม/พัฒนาชุมชนบ้านเกิดของตนเองได้รวมถึงการนำไปต่อยอดเป็นผู้ประกอบการในห่วงโซ่ธุรกิจที่เกี่ยวข้องได้ในศาสตร์สาขาของตนเองเข้าไปช่วยแก้ปัญหาชุมชน ตลอดจนหนุนเสริมให้ชุมชนเกิดการยกระดับคุณภาพชีวิตสู่การมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ตอบสนองการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
2. สามารถเทียบโอนรายวิชา
2.1 รหัสวิชา 2503105 วิจัยเชิงปฎิบัติการแบบมีส่วนร่วม จำนวน 4 หน่วยกิต
2.2 รหัสวิชา การบริหารรัฐวิสาหกิจไทย จำนวน 3 หน่วยกิต
2.3 รหัสวิชา LA-012-430 กฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญาและวิธีพิจารณาในศาลทรัพย์สินทางปัญญา จำนวน 2 หน่วยกิต
2.4 รหัสวิชา 4063413 เทคโนโลยีทางอนามัยสิ่งแวดล้อม จำนวน 3 หน่วยกิต
ผลกระทบ (Impact) ด้านสังคม
1) คนในชุมชนมีกิจกรรมที่ทำร่วมกัน และมีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น เนื่องจาการตัดผ้าเย็บมือแบบไม่มีสารตกค้าง

ด้านเศรษฐกิจ
1) เกิดการสร้างอาชีพแก่ผู้สูงอายุและคนในชุมชน
2) เกิดผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาท้องถิ่นที่หลากหลาย เพื่อเพิ่มช่องทางการตลาดที่แตกต่างแก่ผู้บริโภค
ด้านสิ่งแวดล้อม
1) การทอผ้าที่ใช้วัสดุธรรมชาติในการย้อม ส่งผลให้สภาพแวดล้อมในชุมชนดีขึ้น ไม่มีสารพิษตกค้าง
สามารถได้นำองค์ความรู้ที่ได้รับจากประสบการณ์ตรงไปต่อยอดในการส่งเสริม/พัฒนาชุมชนบ้านเกิดของตนเองได้รวมถึงการนำไปต่อยอดเป็นผู้ประกอบการในห่วงโซ่ธุรกิจที่เกี่ยวข้องได้ในศาสตร์สาขาของตนเองเข้าไปช่วยแก้ปัญหาชุมชน ตลอดจนหนุนเสริมให้ชุมชนเกิดการยกระดับคุณภาพชีวิตสู่การมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ตอบสนองการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
2. สามารถเทียบโอนรายวิชา
2.1 รหัสวิชา 2503105 วิจัยเชิงปฎิบัติการแบบมีส่วนร่วม จำนวน 4 หน่วยกิต
2.2 รหัสวิชา การบริหารรัฐวิสาหกิจไทย จำนวน 3 หน่วยกิต
2.3 รหัสวิชา LA-012-430 กฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญาและวิธีพิจารณาในศาลทรัพย์สินทางปัญญา จำนวน 2 หน่วยกิต
2.4 รหัสวิชา 4063413 เทคโนโลยีทางอนามัยสิ่งแวดล้อม จำนวน 3 หน่วยกิต
นำเข้าสู่ระบบโดย kerkkai.no kerkkai.no เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 21:16 น.