โครงการเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจให้แก่ชุมชนเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ เทศบาลตำบลโนนน้ำเกลี้ยง อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
โครงการเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจให้แก่ชุมชนเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ เทศบาลตำบลโนนน้ำเกลี้ยง อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

โครงการเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจให้แก่ชุมชนเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ เทศบาลตำบลโนนน้ำเกลี้ยง อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามคณะวิทยาการจัดการเทศบาลตำบลโนนน้ำเกลี้ยง อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ชุมชนเทศบาลตำบลโนนน้ำเกลี้ยงดร.ธารีรัตน์ ขูลีลังคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เลขที่ 80 ถนนนครสวรรค์ ตำบลตลาด อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม 44000095-65964461. รศ.ดร.ภณิตา สุนทรไชย
2. ผศ.ดร.สุนทรียา ไชยปัญหา
3. ผศ.ดร.เกรียงไกร นามนัย
4. ดร.ปภาพิต ศรีสว่างวงศ์
5. ดร.ปิญาภรณ์ พงศ์ศาสตร์
6. ดร.กุลริศา คำสิงห์
7. ดร.รทวรรณ อภิโชติธนกุล
8. อาจารย์นริศรา คำสิงห์
9. อาจารย์ณิชาภา พิมลศิริ
10. อาจารย์วัลวลี ศีลพันธ์

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ สหัสขันธ์ โนนน้ำเกลี้ยง

3. รายละเอียดชุมชน

จังหวัดกาฬสินธุ์อำเภอสหัสขันธ์ตำบลโนนน้ำเกลี้ยงลักษณะ เทศบาลตำบลโนนน้ำเกลี้ยง แยกออกจากการปกครองของตำบลสหัสขันธ์ เมื่อปี พ.ศ. 2525 มีจำนวนหมู่บ้าน 8 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ 1 บ้านโนนน้ำเกลี้ยง หมู่ 2 บ้านห้วยเสือเต้น หมู่ 3 บ้านโคกไม้งาม หมู่ 4 บ้านโนนป่างิ้ว หมู่ 5 บ้านโคกสง่า หมู่ 6 บ้านโคกศาลาทอง หมู่ 7 บ้านโนนทอง หมู่ 8 บ้านป่ากล้วย พื้นที่มีเนื้อที่ทั้งหมด 24 ตร.กม. หรือประมาณ 17,581 ไร่ สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ราบสูง ดินเป็นดินปนทราย1. ด้านกลุ่มอาชีพ มีผู้ผลิตและขายผลิตภัณฑ์ที่ทำมาจากภูมิปัญญาท้องถิ่นจำนวนมาก แต่ผู้ผลิตและขายผลิตภัณฑ์สินค้าที่ทำมาจากภูมิปัญญาท้องถิ่น ยังขาดความรู้ในการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ให้มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย เป็นที่ต้องการของตลาด และขาดการเรียนรู้การบริหารจัดการด้านการตลาด ทั้งในลักษณะการรวมกลุ่มผู้ผลิต การรวมกลุ่มผู้จำหน่าย และราคาของสินค้า
2. ด้านผู้สูงอายุ ปัจจุบันผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลโนนน้ำเกลี้ยง อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ส่วนใหญ่ญาติและครอบครัวต้องดูแล และให้การช่วยเหลือทั้งในเรื่องกิจวัตรประจำวัน การเลี้ยงชีพ ทำให้ผู้ดูแลขาดรายได้ บางครอบครัวในช่วงเวลากลางวันก็ต้องปล่อยให้ผู้สูงอายุอยู่บ้านเพียงลำพังคนเดียว เพื่อออกไปทำงานรับจ้างหาเลี้ยงครอบครัว ซึ่งผู้สูงอายุบางคนยังมีความสามารถ ที่จะปฏิบัติงานได้และไม่อยากเป็นภาระของครอบครัว และของสังคม
1. ด้านกลุ่มอาชีพ ต้องการความรู้ในการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ให้มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย เป็นที่ต้องการของตลาด ขาดความรู้ด้านการบริหารจัดการ การบัญชีต้นทุนของกลุ่ม เศรษฐศาสตร์ครัวเรือน การเงิน การขายสินค้าออนไลน์ การโฆษณาประชาสัมพันธ์สินค้าผ่านสื่อต่างๆ ตลอดจนความรู้พื้นฐานในการรวมกลุ่ม เป็นต้น
2. ด้านผู้สูงอายุ ต้องการให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีรายได้ในระหว่างการว่างงานจากการดูแลผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุที่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงต้องการมีรายได้เพิ่มเพื่อไม่เป็นภาระของครอบครัวและสังคม

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

เป็นการบูรณาการองค์ความรู้ ด้านการตลาด การจัดการ นิเทศศาสตร์ บัญชี เศรษฐศาสตร์ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ และการท่องเที่ยว ร่วมกับองค์ความรู้ด้านสาธารณสุข ด้านการศึกษา และวัฒนธรรม

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มรายได้ทางเศรษฐกิจให้กับผู้สูงอายุในชุมชน

ร้อยละของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมด้านกลุ่มอาชีพเพิ่มขึ้น

100.00 1.00
2 เพื่อสร้างความสนุกสนาน ผ่อนคลาย และพบปะแลกเปลี่ยนสังสรรค์ภายในกลุ่มผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมด้านนันทนาการเพิ่มขึ้น

100.00 1.00
3 เพื่อให้คำแนะนำสำหรับผู้สูงอายุให้สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม

ร้อยละของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมด้านสาธารณสุข

100.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมด้านการส่งเสริมกลุ่มอาชีพในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมด้านการส่งเสริมกลุ่มอาชีพในชุมชน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อเพิ่มรายได้ทางเศรษฐกิจให้กับผู้สูงอายุในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม
1. ช่วยเหลือ แนะนำการจัดกลุ่มอาชีพให้แก่ผู้สูงอายุที่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ มีร่างกายแข็งแรง รวมถึงผู้ดูแลผู้สูงอายุที่ต้องการรายได้เสริมในระหว่างการว่างจากภาระกิจ
2. สร้างกิจกรรมที่จะสามารถพัฒนากลุ่มอาชีพอื่นๆ ให้ครอบคลุม ด้านการตลาด การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การบัญชี การเงิน การขายสินค้าออนไลน์ การขนส่ง และการโฆษณาประชาสัมพันธ์สินค้า
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 31 กรกฎาคม 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Output) ผู้สูงอายุมีรายได้เพิ่มขึ้น
ผลลัพธ์ (Outcome) สัดส่วนของรายได้เฉลี่ยต่อหัวของผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น
ทรัพยากรอื่น ๆ
ผู้ร่วมจัดทำโครงการมีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ ด้านการจัดการ การบัญชี การเงิน เศรษฐศาสตร์ การตลาด คอมพิวเตอร์ธุรกิจ และการท่องเที่ยว สามารถให้คำปรึกษา แนะนำ ช่วยเหลือนักศึกษาให้สามารถดำเนินงานโครงการได้สำเร็จ
ภาคีร่วมสนับสนุน
1. เทศบาลตำบลโนนน้ำเกลี้ยง
2. พัฒนาชุมชนจังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยาการ (10 คน x 800 บาท x 5 ครั้ง)

10 คน 800 5 40,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหาร (100 คน x 200 บาท x 5 ครั้ง)

100 คน 200 5 100,000
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม (100 คน x 100 บาท x 5 ครั้ง)

100 คน 100 5 50,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าวัสดุสำนักงาน (1 ชุด x 50,000 บาท x 1 ครั้ง)

1 ชุด 50,000 1 50,000
รวมค่าใช้จ่าย 240,000

กิจกรรมที่ 2 โครงการนันทนาการสำหรับผู้สูงอายุ

ชื่อกิจกรรม
โครงการนันทนาการสำหรับผู้สูงอายุ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อสร้างความสนุกสนาน ผ่อนคลาย และพบปะแลกเปลี่ยนสังสรรค์ภายในกลุ่มผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม
1. จัดกิจกรรม โครงการ ในการให้ความสนุกสนาน ผ่อนคลาย งานรื่นเริงในชุมชนผู้สูงอายุ
2. จัดกิจกรรมศึกษาดูงานสำหรับกลุ่มผู้สูงอายุ กิจกรรมพบปะแลกเปลี่ยนกันระหว่างกลุ่มผู้สูงอายุต่างพื้นที่
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 31 กรกฎาคม 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Output) ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น
ผลลัพธ์ (Outcome) จำนวนกิจกรรมสังสรรค์ที่ผู้สูงอายุเข้าร่วม
ทรัพยากรอื่น ๆ
ผู้ร่วมจัดทำโครงการมีประสบการณ์ด้านการจัดกิจกรรมสำหรับผู้สูงอายุ สามารถสนับสนุนนักศึกษาให้สามารถจัดกิจกรรมได้อย่างเหมาะสม
ภาคีร่วมสนับสนุน
กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มโฮมสเตย์ ในเขตจังหวัดมหาสารคาม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร (10 คน x 800 บาท x 6 ชม. x 2 ครั้ง)

10 คน 800 2 16,000
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม (100 คน x 100 บาท x 2 ครั้ง)

100 คน 100 2 20,000
ค่าเช่ารถ

ค่าอาหาร (4 เที่ยว x 20,000 บาท x 1 ครั้ง)

4 เที่ยว 20,000 1 80,000
รวมค่าใช้จ่าย 116,000

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้คำแนะนำสำหรับผู้สูงอายุให้สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม
รายละเอียดกิจกรรม
1. จัดกิจกรรมดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ให้คำแนะนำเกี่ยวกับเกี่ยวกับโรคความดัน เบาหวาน เป็นต้น โดยบุคลากรทางด้านสาธารณสุข
2. จัดกิจกรรมให้คำแนะนำ ดูแล จัดการสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 31 กรกฎาคม 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Output) ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ผลลัพธ์ (Outcome) จำนวนกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพที่ผู้สูงอายุเข้าร่วม
ทรัพยากรอื่น ๆ
นักศึกษาสาขาวิชาสาธารณสุข มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม สามารถให้คำปรึกษาและแนะนำในการจัดกิจกรรมได้เป็นอย่างดี
ภาคีร่วมสนับสนุน
นักศึกษาสาขาวิชาสาธารณสุข มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม สามารถให้คำปรึกษาและแนะนำนักศึกษาผู้จัดทำกิจกรรมให้สามารถดำเนินการจัดกิจกรรมได้เป็นอย่างดี
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยาการ (10 คน x 800 บาท x 2 ครั้ง)

10 คน 800 2 16,000
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมกิจกรรม (100 คน x 50 บาท x 2 ครั้ง)

100 คน 100 2 20,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ (20 ชุด x 2,700 บาท x 2 ครั้ง)

20 ชุด 2,700 2 108,000
รวมค่าใช้จ่าย 144,000

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 162,000.00 108,000.00 180,000.00 50,000.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 32.40% 21.60% 36.00% 10.00% 100.00%

11. งบประมาณ

500.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) 1. ชุมชนมีกลุ่มอาชีพสำหรับผู้สูงอายุ สามารถสร้างรายได้ให้แก่ผู้สูงอายุ
2. ชุมชนมีกิจกรรมเพื่อสร้างสุขภาพจิตที่ดีให้กับผู้สูงอายุ
3. ชุมชนมีกิจกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ
นักศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในการเรียนให้สามารถนำไปปฏิบัติงานได้จริงภายในชุมชน
ผลลัพธ์ (Outcome) 1. ชุมชนมีจำนวนกลุ่มอาชีพที่มีผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มขึ้น
2. สัดส่วนรายได้เฉลี่ยต่อหัวของผู้สูงอายุภายในชุมชนที่เพิ่มขึ้น
3. ชุมชนมีจำนวนกิจกรรมนันทนาการสำหรับผู้สูงอายุภายเพิ่มขึ้น
4. ชุมชนมีจำนวนกิจกรรมด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้น
นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการสามารถเทียบโอนหน่วยกิตในบางรายวิชาได้ และเมื่อจบโครงการนักศึกษาจะสามารถนำประสบการณ์ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้กับการทำงานในสถานประกอบการ หรือการประกอบอาชีพธุรกิจส่วนตัวได้เป็นอย่างดี
ผลกระทบ (Impact) 1. ชุมชนสามารถยกระดับเศรษฐกิจของผู้สูงอายุภายในชุมชนให้เพิ่มขึ้น
2. ชุมชนสามารถสนับสนุนให้มีกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุภายในชุมชนให้ดีขึ้น
3. ชุมชนมีแนวทางที่จะยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้ดีขึ้น
นักศึกษาจะได้เรียนรู้ทฤษฎีควบคู่ไปกับการปฏิบัติงานจริง เป็นการเพิ่มทักษะ ความรู้ ความเชี่ยวชาญ ให้กับนักศึกษาเพื่อให้เกิดพร้อมที่จะออกไปทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
นำเข้าสู่ระบบโดย Thareerat.k Thareerat.k เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 21:09 น.