พัฒนาผลิตภัณฑ์จากเสื่อกกและบูรณาการสู่การเรียนรู้ในชุมชน ตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
พัฒนาผลิตภัณฑ์จากเสื่อกกและบูรณาการสู่การเรียนรู้ในชุมชน ตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

พัฒนาผลิตภัณฑ์จากเสื่อกกและบูรณาการสู่การเรียนรู้ในชุมชน ตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามสาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามโรงเรียนบ้านหนองม่วง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พัชราภรณ์ พิมพ์จันทร์สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 80 ถนนนครสวรรค์ ตำบลตลาด อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคามPatcharaporn145@gmail.com โทร: 086-2197717ชื่อผู้ร่วมโครงการ
1. ดร.ณัฐพงษ์ พระลับรักษาอาจารย์ประจำคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
2. นางสาวอรุณรัตน์ อุทัยคูนักวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
นักศึกษา
1. รหัสนักศึกษา 613120010107 นางสาวธัญญ์ฐิตา วสุภัสสรารัตน์ เลขประจำตัวประชาชน 1409901189548 (หลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์) สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทียบโอนรายวิชา 2010403 โครงการวิจัยทางเคมี จำนวน 2(0-6-2) หน่วยกิต
2. รหัสนักศึกษา 613120010112 นางสาวมณฑาทิพย์ รสกระโทก เลขประจำตัวประชาชน 3100301193237 (หลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์) สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทียบโอนรายวิชา 2010403 โครงการวิจัยทางเคมี จำนวน 2(0-6-2) หน่วยกิต
3. รหัสนักศึกษา 613120010106 นางสาว อมรพรรณ พิมพา เลขประจำตัวประชาชน 1101801040475 (หลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์) สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทียบโอนรายวิชา 2010403 โครงการวิจัยทางเคมี จำนวน 2(0-6-2) หน่วยกิต
4. รหัสนักศึกษา 613120010103 นางสาวจุฑามาส บุตรเพชร เลขประจำตัวประชาชน 1469900454990 (หลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์) สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทียบโอนรายวิชา 2010403 โครงการวิจัยทางเคมี จำนวน 2(0-6-2) หน่วยกิต
5. รหัสนักศึกษา 613410050103นางสาวชลันทร โคตะวินนท์ เลขประจำตัวประชาชน 1400900291219 (หลักสูตรด้านสังคม)สาขาวิชาเคมี คณะครุศาสตร์ เทียบโอนรายวิชา 2010364 โครงการวิจัยทางเคมี จำนวนณ 2(0-4-2) หน่วยกิต
6. รหัสนักศึกษา 613410050119 นายธนพล พรหมคนซื่อ เลขประจำตัวประชาชน 1480500230972 (หลักสูตรด้านสังคม)สาขาวิชาเคมี คณะครุศาสตร์ เทียบโอนรายวิชา 2010364 โครงการวิจัยทางเคมี จำนวน 2(0-4-2) หน่วยกิต
7. รหัสนักศึกษา 613410050121 นายอภิราช พิลาลัย เลขประจำตัวประชาชน 1449900525871 (หลักสูตรด้านสังคม)สาขาวิชาเคมี คณะครุศาสตร์ เทียบโอนรายวิชา 2010364 โครงการวิจัยทางเคมี จำนวน 2(0-4-2) หน่วยกิต
8. รหัสนักศึกษา 613410050112 นางสาวศศิกานต์ น้อยคำภา เลขประจำตัวประชาชน 1460800119821 (หลักสูตรด้านสังคม) สาขาวิชาเคมีคณะครุศาสตร์ เทียบโอนรายวิชา 2010364 โครงการวิจัยทางเคมี จำนวน 2(0-4-2) หน่วยกิต
9. รหัสนักศึกษา 613170020105 นายจุลดิส อินทมาตย์ เลขประจำตัวประชาชน1129900364179 (หลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์) สาขาวิชาเทคโนโลยี มัลติมีเดียและแอนิเมชัน คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ เทียบโอนรายวิชา 7022102 การจัดการเนื้อหาดิจิทัล จำนวน 3(3-2-5) หน่วยกิต
10. รหัสนักศึกษา 613170020118 นายจักรกฤษณ์ สวงกุดเรือ เลขประจำตัวประชาชน 1450700256444 (หลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์) สาขาวิชาเทคโนโลยี มัลติมีเดียและแอนิเมชัน คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ เทียบโอนรายวิชา 7022102 การจัดการเนื้อหาดิจิทัล จำนวน 3(3-2-5) หน่วยกิต
11. รหัสนักศึกษา 603170020111 นายวรวุฒิ สีแดงก่ำ เลขประจำตัวประชาชน 1450900164594 (หลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์) สาขาวิชาเทคโนโลยี มัลติมีเดียและแอนิเมชัน คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ เทียบโอนรายวิชา 7022405 โครงงานทางด้านเทคโนโลยีมัลติเดียและแอนิเมชัน จำนวน 3(0-6-12) หน่วยกิต

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ เมืองกาฬสินธุ์ ชานเมือง

3. รายละเอียดชุมชน

ตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ ประกอบด้วย 7 หมู่บ้าน คือ หมู่ 1 บ้านหนองสองห้อง หมู่ 2 บ้านหาดทอง หมู่ 3 บ้านโนนตูม หมู่ 6 บ้านอัมพวัน หมู่ 7 บ้านป่ากล้วย หมู่ 9 บ้านหนองสอกลาง และ หมู่ 10 บ้านใหม่พัฒนา ตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ มีจำนวนหลังคาเรือน 1,104 หลังคาเรือน มีจำนวนประชากร 5,617 คน ในจำนวนนี้เป็นผู้สูงอายุ 601 คน ตำบลลำคลอง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของจังหวัดกาฬสินธุ์ พื้นที่เป็นที่ราบลุ่ม ทำนาปีละ 2 ครั้ง โดยได้รับน้ำจากเขื่อนโดยตรง อาชีพหลัก ทำนา อาชีพเสริม ทำสวน ทำไร่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การทำเกษตรมีพื้นที่ป่าเพียงเล็กน้อย ราษฎรเทศบาลตำบลลำคลองส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีพื้นที่การเกษตรร้อยละ 90 สามารถแยกประเภทได้ดังนี้
อาชีพทำนาเป็นอาชีพหลักของตำบล ส่วนใหญ่ทำนาปีประมาณ 90% ของพื้นที่ทั้งหมด
อาชีพทำไร่ พื้นที่ตำบลลำคลองเหมาะสมสำหรับทำไร่อ้อย ไร่มันสำปะหลัง
อาชีพทำสวน ส่วนใหญ่ทำสวนพริก สวนผัก
อาชีพเลี้ยงสัตว์ เลี้ยงกุ้ง เลี้ยงปลา เลี้ยงโค –กระบือ เลี้ยงหมู เลี้ยงไก่พื้นบ้าน
รายได้และรายจ่ายของครัวเรือน
รายได้ในภาคเกษตร รายได้เฉลี่ย 100,000 บาท / ครัวเรือน /ปี
รายได้นอกภาคเกษตร รายได้เฉลี่ย 100,145 บาท /ครัวเรือน /ปี
รายจ่ายในภาคเกษตร รายได้เฉลี่ย 30,515 บาท / ครัวเรือน / ปี
รายได้นอกภาคเกษตร รายได้เฉลี่ย 30,515 บาท / ครัวเรือน / ปี
พื้นที่ชนบทมีอาชีพทำไร่ ทำนา ไม่มีรายได้เสริม ประชาชนวัยทำงานจึงต้องเดินทางเข้าเมืองเพื่อหารายได้ต่างแดน ปู่ย่าตายาย ทำหน้าที่เลี้ยงหลานๆ ที่บ้าน ชุมชนส่วนใหญ่จึงเป็นสังคมผู้สูงอายุ รุ่นเด็กติดความสบาย และช่วงห่างของวัยทำให้สื่อสารกันลำบาก เด็กรุ่นใหม่ไม่มีความเข้าใจในภูมิปัญญาและวัฒนธรรม ชุมชนไม่มีแหล่งรายได้เสริมในชมชนมีการทอเสื่อกก เพื่อหารายได้เสริม แต่เป็นกลุ่มผู้สูงอายุ ทำให้ขาดการพัฒนาและการออกแบบผลิตภัณฑ์ให้ทันสมัยทั้งภูมิปัญญาการทอเสื่อยังไม่ถูกถ่ายทอดสู่รุ่นหลังจึงอาจจะสูญหายไป เนื่องจากเมื่อเด็กรุ่นหลังเติบโตขึ้นก็ต้องเข้าเมืองใหญ่เพื่อหารายได้ให้เพียงพอต่อการเลี้ยงชีพในฤดูที่ไม่ได้ทำนา ทำไร่ เพื่อเป็นการสร้างรายได้เสริมให้กับชุมชนรวมทั้งถ่ายทอดความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่คนรุ่นต่อไปจึงควรมี โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเสื่อกกและบูรณาการสู่การเรียนรู้ในชมชน ตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

- การทอเสื่อกก
- การออกแบบผลิตภัณฑ์จากเสื่อกก
- กก และเส้นใยพืช
- การย้อมสีธรรมชาติ
- การสร้างสื่อออนไลน์
นวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงการ
ขับเคลื่อนกิจกรรมโดยการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้รู้ในท้องถิ่น ประชาชน อาจารย์ นักศึกษา ครู และนักเรียน และจัดทำวิดีทัศน์ให้ความรู้

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาชุมชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยการนำองค์ความรู้ที่หลากหลายในสถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และกิจกรรมโดยการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้รู้ในท้องถิ่น ประชาชน อาจารย์ นักศึกษา ครู นักเรียน มาบูรณาการในการแก้พัฒนาคุณภาพชีวิตให้เกิดความยั่งยืน

มีกิจกรรมการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้รู้ในท้องถิ่น ประชาชน อาจารย์ นักศึกษา ครู นักเรียน

1.00 1.00
2 เพื่อนำองค์ความรู้ เกี่ยวกับ การย้อมสีธรรมชาติ การทอเสื่อ การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเสื่อกก มาใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมให้ชุมชนผลิตเพื่อจำหน่ายได้

ผู้เข้าอบรม 70 คน

70.00 70.00
3 เพื่อส่งเสริมให้มีการจัดตั้งกลุ่มทำผลิตภัณฑ์จากเสื่อกก เพื่อให้เกิดอาชีพที่ยั่งยืน

เกิดการรวมกลุ่มอาชีพ อย่างน้อย 1 กลุ่ม

1.00 1.00
4 เพื่อสร้างแหล่งเรียนรู้สำหรับเยาวชนเกี่ยวกับ สีย้อมจากธรรมชาติ การทอเสื่อกก และการทำผลิตภัณฑ์จากเสื่อกก

เกิดแหล่งเรียนรู้ชุมชน 1 แห่ง

1.00 1.00
5 เพื่อให้นักศึกษาได้ประยุกต์องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานจริง มีความสามารถในการค้นคว้า คิด วิเคราะห์ ประมวลผล มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถออกแบบระบบงาน จนสามารถทำการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ได้ และสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคม และมีจิตสาธารณะ รวมทั้งมีความใฝ่รู้อันจะก่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต

นักศึกษามีผลงานร่วมกับชุมชน

6.00 6.00
6 เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำสื่อออนไลน์เพื่อประชาสัมพันธ์สินค้้าในท้องถิ่นเพื่อการสร้างรายได้อย่างยั่งยืน

ผู้เข้าอบรมสามารถสร้างสื่อประชาสัมพันธ์สินค้าออนไลน์ ได้ 60%

24.00 60.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 10
นักเรียนโรงเรียนบ้านหนองม่วง ตำบลลำคลอง อำเภอเมือง 40
บุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 3
ประชาชนในชุมชนตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธ 70

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การปลูกฝังจิตสำนึกรักภูมิปัญญาท้องถิ่น

ชื่อกิจกรรม
การปลูกฝังจิตสำนึกรักภูมิปัญญาท้องถิ่น
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาชุมชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยการนำองค์ความรู้ที่หลากหลายในสถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และกิจกรรมโดยการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้รู้ในท้องถิ่น ประชาชน อาจารย์ นักศึกษา ครู นักเรียน มาบูรณาการในการแก้พัฒนาคุณภาพชีวิตให้เกิดความยั่งยืน
รายละเอียดกิจกรรม
1. ชี้แจงรายละเอียดการดำเนินโครงการ
2. ประชุมปลูกฝังจิตสำนึกรักภูมิปัญญาท้องถิ่นให้กับนักเรียนในชุมชน
3. แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับภูมปัญญาการทอเสื่อกก ในชุมชน
4. ขออาสาสมัครร่วมกิจกรรมการทำผลิตภัณฑ์จากเสื่อกกที่เป็นชาวบ้านและนักเรียน
ระยะเวลาดำเนินงาน
16 มีนาคม 2563 ถึง 20 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. นักเรียน นักศึกษาเห็นคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น และมีความเข้าใจการทอเสื่อกก
2. ได้แลกเปลี่ยนระหว่างผู้สูงวัยกับเยาวนเพื่อสร้างความสัมพันธุ์ที่ดีระหว่างวัย
3. ได้อาสาสมัครเข้าร่วมกิจกรรมในการทำผลิตภัณฑ์จากกก และเป็นทีมสร้างแหล่งเรียนรู้
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
เทศบาลตำบลลำคลอง และโรงเรียนบ้านหนองม่วง นำนักทีมนักวิชาการ และนักเรียนเข้าร่วม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร ( 3 คน x 600 บาท x 6 ซม x 1 วัน)

3 คน 3,600 1 10,800
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนผู้ช่วยวิทยากร 3คน x 300

3 คน 300 1 900
ค่าอาหาร 70 คน 100 1 7,000
ค่าอาหาร 70 คน 50 1 3,500
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 2 เที่ยว 560 5 5,600
ค่าถ่ายเอกสาร 70 ชุด 150 1 10,500
ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 1,000 1 1,000
ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 1,000 1 1,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 1 ชุด 10,000 1 10,000
รวมค่าใช้จ่าย 50,300

กิจกรรมที่ 2 อบรมการทำผลิตภัณฑ์จากเสื่อกกและจัดตั้งกลุ่มทำผลิตภัณฑ์จากเสื่อกก

ชื่อกิจกรรม
อบรมการทำผลิตภัณฑ์จากเสื่อกกและจัดตั้งกลุ่มทำผลิตภัณฑ์จากเสื่อกก
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อนำองค์ความรู้ เกี่ยวกับ การย้อมสีธรรมชาติ การทอเสื่อ การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเสื่อกก มาใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมให้ชุมชนผลิตเพื่อจำหน่ายได้
  2. เพื่อส่งเสริมให้มีการจัดตั้งกลุ่มทำผลิตภัณฑ์จากเสื่อกก เพื่อให้เกิดอาชีพที่ยั่งยืน
  3. เพื่อให้นักศึกษาได้ประยุกต์องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานจริง มีความสามารถในการค้นคว้า คิด วิเคราะห์ ประมวลผล มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถออกแบบระบบงาน จนสามารถทำการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ได้ และสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคม และมีจิตสาธารณะ รวมทั้งมีความใฝ่รู้อันจะก่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
รายละเอียดกิจกรรม
จัดอบรมการทำผลิตภัณฑ์จากเสื่อกกให้กับกลุ่มชาวบ้านที่สนใจโดยวิทยากรเครือข่ายกลุ่มเสื่อกกบ้านแพง จังหวัดมหาสารคาม
ระยะเวลาดำเนินงาน
21 มีนาคม 2563 ถึง 22 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต
1. ชาวบ้าน 70 คน เข้าร่วมอบรมทำผลิตภัณฑ์จากเสื่อกก
2. นักศึกษา ได้เรียนรู้กระบวนการทำผลิตภัณฑ์เสื่อกกและเรียนรู้การเก็บข้อมูลเพื่อนำไปสู่การออกแบบการวิจัย

ผลลัพธ์
1. ชาวบ้านสามารถทำผลิตภัณฑ์จากเสื่อกกได้
2. จัดตั้งกลุ่มทำผลิตภัณฑ์จากเสื่อกกที่มีความรู้สามารถทำผลิตภัณฑ์จากเสื่อกก
3. นักศึกษาได้เรียนรู้วิธีการเก็บข้อมูลการวิจัย การวางแผน และการทำงานร่วมกัน ใช้ความรู้จากรายวิชาระเบียบวิธีวิจัย
ทรัพยากรอื่น ๆ
จักรไฟฟ้า
ภาคีร่วมสนับสนุน
เทศบาลตำบลลำคลอง
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน 3,600 4 43,200
ค่าตอบแทนการประสานงาน 3 คน 300 4 3,600
ค่าอาหาร 70 คน 150 4 42,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 2 คน 560 4 4,480
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

วัสดตัดเย็บประกอบการอบรม

1 ชุด 10,000 1 10,000
ค่าถ่ายเอกสาร 70 ชุด 150 1 10,500
ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 1,000 4 4,000
ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 1,000 1 1,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 1 ชุด 10,000 1 10,000
อื่น ๆ

วัสดุอิเล็กทรอนิกส์เก็บข้อมูล/ถ่ายทำ

1 คน 5,000 1 5,000
รวมค่าใช้จ่าย 133,780

กิจกรรมที่ 3 ถ่ายทอดความรู้การทำผลิตภัณฑ์จากเสื่อกกจากกลุ่มทำผลิตภัณฑ์สู่เยาวชน

ชื่อกิจกรรม
ถ่ายทอดความรู้การทำผลิตภัณฑ์จากเสื่อกกจากกลุ่มทำผลิตภัณฑ์สู่เยาวชน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาชุมชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยการนำองค์ความรู้ที่หลากหลายในสถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และกิจกรรมโดยการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้รู้ในท้องถิ่น ประชาชน อาจารย์ นักศึกษา ครู นักเรียน มาบูรณาการในการแก้พัฒนาคุณภาพชีวิตให้เกิดความยั่งยืน
  2. เพื่อนำองค์ความรู้ เกี่ยวกับ การย้อมสีธรรมชาติ การทอเสื่อ การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเสื่อกก มาใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมให้ชุมชนผลิตเพื่อจำหน่ายได้
  3. เพื่อให้นักศึกษาได้ประยุกต์องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานจริง มีความสามารถในการค้นคว้า คิด วิเคราะห์ ประมวลผล มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถออกแบบระบบงาน จนสามารถทำการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ได้ และสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคม และมีจิตสาธารณะ รวมทั้งมีความใฝ่รู้อันจะก่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
รายละเอียดกิจกรรม
คัดเลือกผู้ผ่านการอบรมทำผลิตภัณฑ์จากเสื่อกกที่สามารถให้ความรู้ต่อได้ และจัดอบรมถ่ายทอดความรู้การทำผลิตภัณฑ์จากเสื่อกกให้กับนักเรียนโรงเรียนบ้านหนองม่วง จำนวน 40 คน
ระยะเวลาดำเนินงาน
3 เมษายน 2563 ถึง 6 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต
1. ตัวแทนกลุ่มผลิตภัณฑ์จากเสื่อกกถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับนักเรียน
2. นักเรียน 40 คน เข้าอบรมการทำผลิตภัณฑ์จากเสื่อกก
3. นักศึกษาเก็บข้อมูลจัดทำสื่อประกอบการเรียนรู้ ใช้ความรู้จากรายวิชาการจัดการเนื้อหาดิจิทัล

ผลลัพธ์
1. ได้ตัวแทนกลุ่มผลิตภัณฑ์จากเสื่อกกที่สามารถถ่ายทอดสู่เยาวชนได้
2. นักเรียน เยาวชนรุ่นใหม่สามารถทำผลิตภัณฑ์จากเสื่อกกได้
3. ได้ข้อมูลสร้างสื่อวิดิทัศน์ประกอบการเรียนรู้
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
โรงเรียนบ้านหนองม่วง
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 3,600 4 28,800
ค่าตอบแทนการประสานงาน 3 คน 300 4 3,600
ค่าอาหาร 40 คน 100 4 16,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 2 เที่ยว 560 4 4,480
ค่าตอบแทนวิทยากร

วัสดุตัดเย็บประกอบการอบรม

1 ชุด 10,000 1 10,000
ค่าถ่ายเอกสาร 40 คน 150 1 6,000
ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 1,000 4 4,000
ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 1,000 1 1,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 1 ชุด 11,000 1 11,000
อื่น ๆ

วัสดุอิเล็กทรอนิกส์เก็บข้อมูล/ถ่ายทำ

1 ชุด 5,000 1 5,000
ค่าอาหาร 40 คน 50 4 8,000
รวมค่าใช้จ่าย 97,880

กิจกรรมที่ 4 พัฒนาการย้อมสีกกด้วยสีย้อมธรรมชาติ

ชื่อกิจกรรม
พัฒนาการย้อมสีกกด้วยสีย้อมธรรมชาติ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาชุมชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยการนำองค์ความรู้ที่หลากหลายในสถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และกิจกรรมโดยการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้รู้ในท้องถิ่น ประชาชน อาจารย์ นักศึกษา ครู นักเรียน มาบูรณาการในการแก้พัฒนาคุณภาพชีวิตให้เกิดความยั่งยืน
  2. เพื่อนำองค์ความรู้ เกี่ยวกับ การย้อมสีธรรมชาติ การทอเสื่อ การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเสื่อกก มาใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมให้ชุมชนผลิตเพื่อจำหน่ายได้
  3. เพื่อให้นักศึกษาได้ประยุกต์องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานจริง มีความสามารถในการค้นคว้า คิด วิเคราะห์ ประมวลผล มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถออกแบบระบบงาน จนสามารถทำการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ได้ และสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคม และมีจิตสาธารณะ รวมทั้งมีความใฝ่รู้อันจะก่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
รายละเอียดกิจกรรม
1. ศึกษาวิธีการย้อมสีกกด้วยสีธรรมชาติ
2. ศึกษาสารเติม (มอร์แดน) ที่ช่วยในการติดสี
3. ศึกษาความคงทนต่อการซักล้างและแสงแดด
4. ถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชมชนและนักเรียน
ระยะเวลาดำเนินงาน
8 เมษายน 2563 ถึง 1 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต
1. นักศึกษาได้ทำวิจัยเกี่ยวกับสีย้อม และนำองค์ความรู้ไปถ่ายทอดส่ชมชน ใช้องค์ความรู้จากรายวิชาเคมีอนินทรีย์
2. ชาวบ้าน และนักศึกษา 40 คน ได้รับการอบรมเรื่องการย้อมสีธรรมชาติ
ผลลัพธ์
1. นักศึกษาได้องค์ความรู้วิธีการย้อมและสภาวะการย้อมสีธรรมชาติที่ทำให้สีคงทน เทียบโอนรายวิชาโครงการวิจัยทางเคมี
2. ชุมชนสามารถย้อมสีกกด้วยวัสดุธรรมชาติยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 3,600 1 7,200
ค่าตอบแทนการประสานงาน 3 คน 300 1 900
ค่าอาหาร 40 คน 100 1 4,000
ค่าอาหาร 40 คน 50 1 2,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 2 เที่ยว 560 1 1,120
ค่าถ่ายเอกสาร 40 ชุด 150 1 6,000
ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 1,000 1 1,000
ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 1,000 1 1,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 1 ชุด 19,680 1 19,680
อื่น ๆ

ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ และค่าวิเคราะห์

1 ครั้ง 50,000 1 50,000
อื่น ๆ

วัสดุอิเล็กทรอนิกส์เก็บข้อมูล/ถ่ายทำ

1 ชุด 5,000 1 5,000
รวมค่าใช้จ่าย 97,900

กิจกรรมที่ 5 ประกวดเสื่อกก ที่ย้อมด้วยสีย้อมธรรมชาติ และจัดอบรมการสร้างสื่อประชาสัมพันธ์สินค้าชุมชนออนไลน์

ชื่อกิจกรรม
ประกวดเสื่อกก ที่ย้อมด้วยสีย้อมธรรมชาติ และจัดอบรมการสร้างสื่อประชาสัมพันธ์สินค้าชุมชนออนไลน์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาชุมชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยการนำองค์ความรู้ที่หลากหลายในสถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และกิจกรรมโดยการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้รู้ในท้องถิ่น ประชาชน อาจารย์ นักศึกษา ครู นักเรียน มาบูรณาการในการแก้พัฒนาคุณภาพชีวิตให้เกิดความยั่งยืน
  2. เพื่อนำองค์ความรู้ เกี่ยวกับ การย้อมสีธรรมชาติ การทอเสื่อ การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเสื่อกก มาใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมให้ชุมชนผลิตเพื่อจำหน่ายได้
  3. เพื่อส่งเสริมให้มีการจัดตั้งกลุ่มทำผลิตภัณฑ์จากเสื่อกก เพื่อให้เกิดอาชีพที่ยั่งยืน
  4. เพื่อให้นักศึกษาได้ประยุกต์องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานจริง มีความสามารถในการค้นคว้า คิด วิเคราะห์ ประมวลผล มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถออกแบบระบบงาน จนสามารถทำการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ได้ และสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคม และมีจิตสาธารณะ รวมทั้งมีความใฝ่รู้อันจะก่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
  5. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำสื่อออนไลน์เพื่อประชาสัมพันธ์สินค้้าในท้องถิ่นเพื่อการสร้างรายได้อย่างยั่งยืน
รายละเอียดกิจกรรม
จัดกิจกรรมประกวดเสื่อกกจากสีย้อมธรรมชาติ ให้รางวัลความประณีต สวยงาม และจัดอบรมการสร้างสื่อประชาสัมพันธ์สินค้าชุมชนออนไลน์เพื่อส่งเสริมการตลาดสำหรับผลิตภัณฑ์ชุมชนแบบยั่งยืน ให้ชุมชนขับเคลื่อนได้ด้วยตนเอง
ระยะเวลาดำเนินงาน
9 พ.ค. 2563 ถึง 17 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต
1. ชุมชนได้ทดลองสร้างสรรค์ผลงาน
2. นักศึกษาได้เข้าร่วมทำกิจกรรมนำองค์ความรู้หลักการเรื่องสีมาให้ประโยชน์
3. นักศึกษาได้นำความรู้เกี่ยวกับการสร้างสื่อประชาสัมพันธ์ออนไลน์มาถ่ายทอดให้เป็นประโยชน์ต่อชุมชน ใช้ความรู้จากรายวิชาการจัดการเนื้อหาดิจิทัล
4. ชาวบ้าน และนักเรียน 40 คน ได้เข้าอบรมการสร้างสื่อประชาสัมพันธ์สินค้าชุมชนออนไลน์
ผลลัพธ์
1. นักศึกษาได้เรียนรู้จากสถานการณ์จริง เทียบโอนรายวิชาการจัดการเนื้อหาดิจิทัล
2. สร้างตลาดสำหรับขยายสินค้าในชุมชนให้ยั่งยืน
3. ได้สื่อประชาสัมพันธ์สินค้าชุมชนออนไลน์
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, เทศบาลตำบลลำคลอง, โรงเรียนบ้านหนองม่วง
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 3,600 1 7,200
ค่าตอบแทนการประสานงาน 3 คน 300 4 3,600
ค่าอาหาร 40 คน 100 1 4,000
ค่าอาหาร 40 คน 50 1 2,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 2 เที่ยว 560 1 1,120
ค่าถ่ายเอกสาร 40 ชุด 150 1 6,000
ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 1,000 1 1,000
ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 1,000 1 1,000
อื่น ๆ

วัสดุอิเล็กทรอนิกส์เก็บข้อมูล/ถ่ายทำ

1 ชุด 5,000 1 5,000
รางวัลเพื่อการยกย่อง 3 คน 10,000 1 30,000
รวมค่าใช้จ่าย 60,920

กิจกรรมที่ 6 สร้างแหล่งเรียนรู้ในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
สร้างแหล่งเรียนรู้ในชุมชน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อสร้างแหล่งเรียนรู้สำหรับเยาวชนเกี่ยวกับ สีย้อมจากธรรมชาติ การทอเสื่อกก และการทำผลิตภัณฑ์จากเสื่อกก
  2. เพื่อให้นักศึกษาได้ประยุกต์องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานจริง มีความสามารถในการค้นคว้า คิด วิเคราะห์ ประมวลผล มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถออกแบบระบบงาน จนสามารถทำการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ได้ และสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคม และมีจิตสาธารณะ รวมทั้งมีความใฝ่รู้อันจะก่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
รายละเอียดกิจกรรม
ผลิตสื่อวิดิทัศน์ให้ความรู้เรื่อง
1. กก
2. การย้อมสีกกด้วยสีย้อมธรรมชาติ
3. การทอเสื่อกก
4. การทำผลิตภัณฑ์จากเสื่อกก
5. จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ชุมชน
ระยะเวลาดำเนินงาน
15 มีนาคม 2563 ถึง 1 มิถุนายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต
1. ชาวบ้านร่วมกันจัดตั้งแหล่งเรียนรู้ โดยมีสื่อวิดิทัศน์เป็นสื่อช่วยให้ข้อมูล
2. นักศึกษาได้ฝึกการสร้างสื่อวิดิทัศน์ เทียบโอนรายวิชา โครงงานทางด้านเทคโนโลยีมัลติเดียและแอนิเมชัน
ผลลัพธ์
จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ชุมชน
ทรัพยากรอื่น ๆ
กล้องวิดิทัศน์ อุปกรณ์บันทึกภาพ เก็บข้อมูล
ภาคีร่วมสนับสนุน
กล้องวิดิทัศน์ อุปกรณ์บันทึกภาพ เก็บข้อมูล
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 3,600 1 7,200
ค่าตอบแทนการประสานงาน 3 คน 300 1 900
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 2 เที่ยว 560 1 1,120
ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ

จัดทำสื่อวิดิทัศน์แหล่งเรียนรู้

1 คน 50,000 1 50,000
รวมค่าใช้จ่าย 59,220

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 177,900.00 186,420.00 65,680.00 70,000.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 35.58% 37.28% 13.14% 14.00% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) 1. ได้แลกเปลี่ยนระหว่างผู้สูงวัยกับเยาวนเพื่อสร้างความสัมพันธุ์ที่ดีระหว่างวัย
2. ชาวบ้านและนักเรียนได้รับการอบรมการทำผลิตภัณฑ์จากเสื่อกก
3. ชาวบ้าน และนักศึกษาได้รับความรู้เรื่องการย้อมสีธรรมชาติ
1. นักศึกษา ได้เรียนรู้กระบวนการทำผลิตภัณฑ์เสื่อกกและเรียนรู้การเก็บข้อมูลเพื่อนำไปสู่การออกแบบการวิจัย เทียบโอนรายวิชา 2010403 โครงการวิจัยทางเคมี จำนวน 2(0-6-2) หน่วยกิต
2. นักศึกษาเก็บข้อมูลจัดทำสื่อประกอบการเรียนรู้ ใช้กระบวนการจากรายวิชา เตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ เทียบโอนรายวิชา 7022102 การจัดการเนื้อหาดิจิทัล จำนวณ 3(3-2-5) หน่วยกิต
3. นักศึกษาได้ทำวิจัยเกี่ยวกับสีย้อม และนำองค์ความรู้ไปถ่ายทอดสู่ชมชน ใช้ความรู้จากรายวิชาเคมีอนินทรีย์ 1 และ เทียบโอนรายวิชา 2010403 โครงการวิจัยทางเคมี จำนวน 2(0-6-2) หน่วยกิต
ผลลัพธ์ (Outcome) 1. ชาวบ้านสามารถทำผลิตภัณฑ์จากเสื่อกกได้
2. จัดตั้งกลุ่มทำผลิตภัณฑ์จากเสื่อกกที่มีความรู้สามารถทำผลิตภัณฑ์จากเสื่อกก
3. ได้ตัวแทนกลุ่มผลิตภัณฑ์จากเสื่อกกที่สามารถถ่ายทอดสู่เยาวชนได้
4. ชุมชนสามารถย้อมสีกกด้วยวัสดุธรรมชาติยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน
1. นักศึกษาได้เรียนรู้วิธีการเก็บข้อมูลการวิจัย การวางแผน และการทำงานร่วมกัน
2. ได้ใช้ความรู้ในการปฏิบัติจริง
3. ได้ข้อมูลสร้างสื่อวิดิทัศน์ประกอบการเรียนรู้ เทียบโอนรายวิชา 7022405 โครงงานทางด้านเทคโนโลยีมัลติเดียและแอนิเมชัน จำนวน 3(0-6-12) หน่วยกิต
ผลกระทบ (Impact) 1.จัดตั้งกลุ่มทำผลิตภัณฑ์จากเสื่อกก
2. จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ชุมชน
1. ได้ผลงานประกอบโครงงานวิจัย เทียบโอนรายวิชา 2010403 โครงการวิจัยทางเคมี จำนวน 2(0-6-2) หน่วยกิต และเทียบโอนรายวิชา 7022405 โครงงานทางด้านเทคโนโลยีมัลติเดียและแอนิเมชัน จำนวน 3(0-6-12) หน่วยกิต
นำเข้าสู่ระบบโดย Patcharaporn Patcharaporn เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 21:03 น.