โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเพื่อรักษาพันธุกรรมและแปรรูปข้าวหอมมะลิแบบครบวงจร : กรณีศึกษาตำบลเหล่ากลาง อำเภอฆ้องชัย จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเพื่อรักษาพันธุกรรมและแปรรูปข้าวหอมมะลิแบบครบวงจร : กรณีศึกษาตำบลเหล่ากลาง อำเภอฆ้องชัย จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเพื่อรักษาพันธุกรรมและแปรรูปข้าวหอมมะลิแบบครบวงจร : กรณีศึกษาตำบลเหล่ากลาง อำเภอฆ้องชัย จังหวัดกาฬสินธุ์กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามศูนย์วิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามชุมชนตำบลเหล่ากลางอำเภอฆ้องชัยจังหวัดกาฬสินธุ์ผู้ช่วยศาสตราจารย์กรรณิการ์ทองดอนเปรียง80ถนนนครสวรรค์ตำบลตตลาดอำเภอเมืองจังหวัดมหาสารคาม 44000อีเมลล์kannikarbiology@gmail.comมือถือ0984433055ผศ.พันธิวาแก้วมาตย์คณะวิิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อ.ชมภู่เหนือศรีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผศ.พจน์ศิรินทร์ลิมปินันท์คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
อ.เกตน์สิรีจำปีหอมคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
อ.สิทธิโชคพรรค์พิทักษ์คณะเทคโนโลยีการเกษตร

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ ฆ้องชัย

3. รายละเอียดชุมชน

ตำบลเหล่ากลาง เดิมชื่อ ตำบลกุดฆ้องชัย อยู่ในเขตการปกครองของอำเภอกมลาไสย ต่อมาปี 2536ได้มีการร่วมกันผลักดันให้มีการจัดตั้งกิ่งอำเภอขึ้นใหม่ เนื่องจากอยู่ห่างไกล สภาพการคมนาคมไม่สะดวก จึงได้รับประกาศจากกระทรวงมหาดไทยให้แยกจากอำเภอกมลาไสย ตั้งเป็นกิ่งอำเภอฆ้องชัย เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2540 แต่ได้พิจารณาเห็นว่าตำบลกุดฆ้องชัย ไปซ้ำซ้อนกับชื่อหมู่บ้าน ตำบลใกล้เคียง และซ้ำซ้อนกับชื่อกิ่งอำเภอ จึงเปลี่ยนชื่อจากตำบลกุดฆ้องชัย เป็นชื่อตำบล “เหล่ากลาง” เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2544
ตำบลเหล่ากลาง ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของจังหวัดกาฬสินธุ์ ประมาณ 26 กิโลเมตร มีเขตติดต่อพื้นที่ใกล้เคียงดังต่อไปนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตเทศบาลตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์
ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขต เทศบาลฆ้องชัยพัฒนา อำเภอฆ้องชัย จังหวัดกาฬสินธุ์
ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตองค์การบริหารส่วนตำบลธัญญา อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์
ทิศใต้ ติดต่อกับเขตองค์การบริหารส่วนตำบลลำชี อำเภอฆ้องชัย จังหวัดกาฬสินธุ์



ตำบลเหล่ากลางมีหมู่บ้าน8หมู่บ้านได้แก่
หมู่ที่ 1 บ้านตูม
หมู่ที่ 2 บ้านตูม
หมู่ที่ 3 บ้านคุยโพธิ์ ง
หมู่ที่ 4 บ้านหัวนาคำ
หมู่ที่ 5 บ้านหัวโนนเปลือย
หมู่ที่ 6 บ้านกระเดา
หมู่ที่ 7 บ้านหัวหนอง
หมู่ที่ 8 บ้านโนนทัน
มีจำนวนครัวเรือน 1,286 ครัวเรือน จำนวนประชากรทั้งหมด 4,570 คน แยกเป็นชาย 2,303 คน หญิง 2,267 คน มีความหนาแน่นเฉลี่ยจำนวน 197.28 คน/ตารางกิโลเมตร อาชีพส่วนใหญ่ของชุมชนคือเกษตรกรรมทำนาและทำสวน
สินค้าทางการเกษตรที่ขึ้นชื่อของจังหวัดกาฬสินธุ์คือ“ข้าวหอมมะลิ”ซึ่งสามารถผลิตได้ทุกพื้นที่ของจังหวัดรวมทั้งตำบลเหล่ากลางซึ่งมีพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม อุดมสมบูรณ์ เหมาะสำหรับทำการเกษตร โดยมีพื้นที่ทำการเกษตรสามในสี่ของพื้นที่ทั้งหมด มีแหล่งน้ำธรรมชาติ กระจายอยู่ครบทั้ง 8 หมู่บ้าน จึงทำให้เกษตรกรในตำบลมีการปลูกข้าวเป็นอาชีพหลักประเด็นปัญหา(ของพื้นที่)แนวทางแก้ไข(ของมหาวิทยาลัยฯ)

ข้าวหอมมะลิมีความหอมลดลง รักษาพันธุกรรม (ความหอมของข้าวหอมมะลิ)
โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเพื่อรักษาคุณสมบัติของต้นพันธุ์

ข้าวหอมมะลิมีการแข่งขันสูงในตลาด แปรรูปข้าวหอมมะลิเพื่อขยายไปยังกลุ่มลูกค้าใหม่

ช่องทางการตลาด1. สร้างอัตลักษณ์ให้ผลิตภัณฑ์โดยการออกแบบตราสัญลักษณ์และบรรจุภัณฑ์ ให้มีความน่าสนใจ
2. เพิ่มช่องทางการจำหน่ายสินค้า เป็น E-Commerce หรือ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือ การดำเนินธุรกิจโดยใช้ สื่ออิเล็กทรอนิกส์
ประเด็นปัญหา(ของพื้นที่)แนวทางแก้ไข(ของมหาวิทยาลัยฯ)

ข้าวหอมมะลิมีความหอมลดลง รักษาพันธุกรรม (ความหอมของข้าวหอมมะลิ)
โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเพื่อรักษาคุณสมบัติของต้นพันธุ์

ข้าวหอมมะลิมีการแข่งขันสูงในตลาด แปรรูปข้าวหอมมะลิเพื่อขยายไปยังกลุ่มลูกค้าใหม่

ช่องทางการตลาด1. สร้างอัตลักษณ์ให้ผลิตภัณฑ์โดยการออกแบบตราสัญลักษณ์และบรรจุภัณฑ์ ให้มีความน่าสนใจ
2. เพิ่มช่องทางการจำหน่ายสินค้า เป็น E-Commerce หรือ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือ การดำเนินธุรกิจโดยใช้ สื่ออิเล็กทรอนิกส์

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
เทคโนโลยีชีวภาพในการแปรรูปผลิตภัณฑ์(การแปรรูปข้าวหอมมะลิ)
เทคโนโลยีสารสนเทศเกี่ยวกับการออกแบบและการจำหน่ายสินค้าออนไลน์

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อนำองค์ความรู้จากห้องเรียนลงสู่พื้นที่โดยนักศึกษาเป็นผู้ปฏิบัติงานหลักร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษาและผู้นำชุมชน

จำนวนนักศึกษาที่ปฏิบัติงานจริง

0.00
2 เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อให้ชุมชน

1.  จำนวนผู้ได้เข้ารับการอบรม 2.  ระดับความพึงพอใจของผู้เข้ารับการอบรม

0.00
3 เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปข้าวหอมมะลิให้ชุมชน

1.  จำนวนผู้เข้ารับการอบรม 2.  จำนวนผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปจากข้าวหอมมะลิ

0.00
4 เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเพิ่มช่องทางการขายให้ชุมชน โดยวิธีการพาณิชย์อิเลคทรอนิกส์ (E-Commerce)

1.  จำนวนผลิตภัณฑ์ที่มีการสร้างอัตลักษณ์และบรรจุภัณฑ์ 2.  ช่องทางการจำหน่ายสินค้าแบบพาณิชย์อิเลคทรอนิกส์

0.00
5 เพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในชุมชนที่สามารถเรียนรู้ได้ทั้งนักศึกษา อาจารย์ นักเรียนในชุมชน และประชาชนในพื้นที่ ตามแนวทางการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21

เกิดแหล่งเรียนรู้ในชุมชน

0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
นักศึกษา 10
ประชาชน 100
ผู้นำชุมชน 10
อาจารย์ 6

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 รายละเอียดตามไฟล์แนบ

ชื่อกิจกรรม
รายละเอียดตามไฟล์แนบ
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    การเตรียมความพร้อมชุมชนแห่งการเรียนรู้
    1.1จัดประชุมผู้เข้าร่วมโครงการ ครั้งที่ 1 (ทีมนำ)
    ระหว่างคณะทำงาน (อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการและนักศึกษา )
    1.2จัดประชุมผู้เข้าร่วมโครงการ ครั้งที่ 2 (ทีมนำ)
    ระหว่างมหาวิทยาลัยและผู้นำชุมชน
    1.3 จัดประชุมผู้เข้าร่วมโครงการ ครั้งที่ 3(ทีมทำ)
    ระหว่างผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด
    การศึกษาสายพันธุ์ของข้าวหอมมะลิ
    2.1สำรวจสายพันธุ์ข้าวที่ใช้ปลูกในพื้นที่
    ตำบลเหล่ากลางอำเภอฆ้องชัยจ.กาฬสินธุ์
    2.2วิเคราะห์ข้อมูลพันธุ์ข้าวหอมมะลิที่ใช้ปลูก
    ในตำบลเหล่ากลาง อำเภอฆ้องชัยจ.กาฬสินธุ์
    การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
    การอบรมปฏิบัติการการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
    การแปรรูปข้าวหอมมะลิ
    การอบรมปฏิบัติการการแปรรูปข้าวหอมมะลิ
    การทำบรรจุภัณฑ์และตราสัญลักษณ์เพื่อเพิ่มมูลค่า
    อบรมปฏิบัติการการทำบรรจุภัณฑ์และตราสัญลักษณ์เพื่อเพิ่มมูลค่า
    ช่องทางการขายแบบพาณิชย์อิเลคทรอนิกส์
    อบรมปฏิบัติการกฎหมายและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
    การจัดทำเว็บไซต์เพื่อจำหน่ายสินค้าออนไลน์
    การติดตามและประเมินผล
    การติดตามประเมินผล 10ครั้ง
    การรายงานผล
    การจัดทำรายงานโครงการฉบับสมบูรณ์
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    เกิดประโยชน์ต่อนักศึกษาอาจารย์และชุมชน
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    อื่น ๆ

    รายละเอียดตามเอกสารแนบ

    1 ชุด 500,000 1 500,000
    รวมค่าใช้จ่าย 500,000

    รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

    อื่น ๆรวมเงิน
    ค่าใช้จ่าย (บาท) 500,000.00 500,000.00
    เปอร์เซ็นต์ (%) 100.00% 100.00%

    11. งบประมาณ

    500.00บาท

    12. การติดตามประเมินผล

    ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
    ผลผลิต (Output) 1. เกิดทักษะที่สามารถนำไปพัฒนาอาชีพได้
    2. ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับองค์ความรู้ของมหาวิทยาลัย
    1. สามารถนำองค์ความรู้จากห้องเรียนไปประยุกต์และถ่ายทอดความรู้สู่ชมชน
    2. สร้างจิตสำนึกในการรับใช้สังคม
    3. ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับองค์ความรู้ในชุมชน
    ผลลัพธ์ (Outcome) 1. มีฐานข้อมูลพันธุ์ข้าวที่ปลูกในท้องถิ่นที่เป็นปัจจุบัน
    2. ชุมชนมีความเข้มแข็งสามารถบริหารจัดการและพึ่งตนเองได้
    3. มีรายได้เพิ่มขึ้น
    1. ฝึกประสบการณ์ตรงในแก้ปัญหาของพื้นที่
    2. เกิดเครือข่ายและแหล่งเรียนรู้ในชุมชน
    ผลกระทบ (Impact) เกิดชุมชนบริหารจัดการและ
    พึ่งตนเอง
    1. สร้างคนดีสู่สังคม
    2. สามารถเทียบโอนรายวิชาเป็นการลดรายวิชาเรียนในห้องเรียน
    นำเข้าสู่ระบบโดย kannikar kannikar เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 20:55 น.