อาสาประชารัฐ “การพัฒนาการแปรรูปสิ่งทอและหัตถกรรมท้องถิ่น”

แบบเสนอโครงการ
อาสาประชารัฐ “การพัฒนาการแปรรูปสิ่งทอและหัตถกรรมท้องถิ่น”

1. ชื่อโครงการ

อาสาประชารัฐ “การพัฒนาการแปรรูปสิ่งทอและหัตถกรรมท้องถิ่น”กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์กลุ่มเกษตรกรปักผ้าและหัตถกรรมท้องถิ่น อำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ตำบลสมเด็จ อำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์อาจารย์อธิปัตย์ ฤทธิรณ091-016-79511329900104507 อาจารย์รัตนเรขามีพร้อม คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี 085-3549263 (อาจารย์)
3320900005256 นางมนัสชนก วรธงไชย คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี 094-5259958 (เจ้าหน้าที่)
1329900151190 นางสาวกุลวดีเรืองเกษม คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี 094-4685952 (เจ้าหน้าที่)
1329900907740 นายธีรภัทร อิ่มบุตร พืชศาสตร์สิ่งทอและการออกแบบ063-347-3575 (นักศึกษา)
1350100521067 นายเมธีสิทธิ์ สอดศรี พืชศาสตร์สิ่งทอและการออกแบบ 093-1654054 (นักศึกษา)
1320700298296 นายยุทธนา จันทร์สุวรรณ พืชศาสตร์สิ่งทอและการออกแบบ 095-6016804 (นักศึกษา)
1749800231848 นายธนาวุฒิ มณีทับ พืชศาสตร์สิ่งทอและการออกแบบ 064-4257404 (นักศึกษา)
1749900582944 นายปรีดา มาศรักษา เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 091-0167951 (นักศึกษา)
1329900795984 นายศุภอรรถ นันท์ธราธร เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 091-0167951 (นักศึกษา)
1329900741248 นายพงษ์ศักดิ์ ยอดเสาดี เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 091-0167951 (นักศึกษา)

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ สมเด็จ สมเด็จ

3. รายละเอียดชุมชน

พื้นที่เป้าหมายเกี่ยวกับเกษตรกรปักผ้า ทำดอกไม้ ด้วยหัตถกรรม อำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์มีความเชี่ยวชาญด้านการประดิษฐ์และมีสิ่งทอท้องถิ่นขาดการแปรรูปผลิตภัณฑ์ด้านสิ่งทอและประชาสัมพันธ์การตลาดออนไลน์ประสบปัญหาด้านทักษะที่จะพัฒนาและแปรรูปผลิตภัณฑ์สิ่งทอขาดการวางแผนในการประชาสัมพันธ์และขาดความรู้ด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์และการตลาดออนไลน์

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1. การพัฒนาสิ่งทอท้องถิ่นเพื่อให้ตรงตามความต้องการของตลาด
2. การแปรรูปผลิตภัณฑ์สิ่งทอท้องถิ่นเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์
3. การออกแบบโลโก้และบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์ชุมชน
4. การประชาสัมพันธ์การตลาดในระบบออนไลน์

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อปฏิรูปการเรียนรู้ให้บัณฑิตในศตวรรษที่ 21 สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้เพื่อส่งเสริมการพัฒนาสิ่งทอท้องถิ่นและการใช้เทคโนโลยี

ร้อยละของผลผลิตผลิตภัณฑ์ด้านสิ่งทอที่เพิ่มขึ้น

10.00 10.00
2 2.เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาชุมชนในมิติต่างๆ ด้านการพัฒนาและแปรรูปสิ่งทอท้องถิ่น โดยการนำความรู้ที่หลากหลายในสถาบันอุดมศึกษามาบูรณาการในการแก้ปัญหา

ร้อยละของผลผลิตที่แปรรูปด้านผลิตภัณฑ์สิ่งทอที่เพิ่มขึ้น

10.00 10.00
3 3.เพื่อส่งเสริมให้คนในชุมชนมีรายได้จากการพัฒนาและแปรรูปสิ่งทอท้องถิ่นเพิ่มมากขึ้นและนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ และสามารถพึ่งพาตนเองได้

ร้อยละของรายได้ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น

10.00 10.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
เกษตรกรปักผ้าและกลุ่มหัตถกรรมพื้นบ้าน อ.สมเด็จ 100

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาสิ่งทอท้องถิ่นเพื่อให้ตรงตามความต้องการของตลาด

ชื่อกิจกรรม
การพัฒนาสิ่งทอท้องถิ่นเพื่อให้ตรงตามความต้องการของตลาด
วัตถุประสงค์
  1. 1. เพื่อปฏิรูปการเรียนรู้ให้บัณฑิตในศตวรรษที่ 21 สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้เพื่อส่งเสริมการพัฒนาสิ่งทอท้องถิ่นและการใช้เทคโนโลยี
รายละเอียดกิจกรรม
สำรวจบริบทและความต้องการของกลุ่มเกษตรกรและประชาชนผู้สนใจ เข้าร่วมโครงการ กลุ่มเกษตรกรปักผ้าอำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ ผู้นำกลุ่มเกษตรกรและหัตถกรรมพื้นบ้าน นางสำลี วีรวงศ์ และนายอุดม บุญชูหล้าผู้ใหญ่บ้านตำบลสมเด็จ อำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
การพัฒนาสิ่งทอท้องถิ่นเพื่อให้ตรงตามความต้องการของตลาด
ทรัพยากรอื่น ๆ
มีการดำเนินการและใช้จ่ายเงินตามโครงการในปีงบประมาณ 2563
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

• ค่าตอบแทน • ค่าใช้สอย • ค่าวัสดุ

1 ครั้ง 100,000 1 100,000
รวมค่าใช้จ่าย 100,000

กิจกรรมที่ 2 - การแปรรูปผลิตภัณฑ์สิ่งทอท้องถิ่นเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ - การออกแบบโลโก้และบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์ชุมชน

ชื่อกิจกรรม
- การแปรรูปผลิตภัณฑ์สิ่งทอท้องถิ่นเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ - การออกแบบโลโก้และบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์ชุมชน
วัตถุประสงค์
  1. 2.เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาชุมชนในมิติต่างๆ ด้านการพัฒนาและแปรรูปสิ่งทอท้องถิ่น โดยการนำความรู้ที่หลากหลายในสถาบันอุดมศึกษามาบูรณาการในการแก้ปัญหา
รายละเอียดกิจกรรม
- การแปรรูปผลิตภัณฑ์สิ่งทอท้องถิ่นเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ - การออกแบบโลโก้และบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์ชุมชน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
มีการดำเนินการและใช้จ่ายเงินตามโครงการในปีงบประมาณ 2563
ทรัพยากรอื่น ๆ
มีการดำเนินการและใช้จ่ายเงินตามโครงการในปีงบประมาณ 2563
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

• ค่าตอบแทน • ค่าใช้สอย • ค่าวัสดุ

1 ครั้ง 200,000 1 200,000
รวมค่าใช้จ่าย 200,000

กิจกรรมที่ 3 - การประชาสัมพันธ์การตลาดในระบบออนไลน์

ชื่อกิจกรรม
- การประชาสัมพันธ์การตลาดในระบบออนไลน์
วัตถุประสงค์
  1. 3.เพื่อส่งเสริมให้คนในชุมชนมีรายได้จากการพัฒนาและแปรรูปสิ่งทอท้องถิ่นเพิ่มมากขึ้นและนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ และสามารถพึ่งพาตนเองได้
รายละเอียดกิจกรรม
นำผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการแปรรูปและออกแบบโลโก้ บรรจุภัณฑ์ มาประชาสัมพันธ์ผ่านตลาดออนไลน์ เพื่อให้เข้าถึงการตลาดปัจจุบัน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 31 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
การประชาสัมพันธ์การตลาดในระบบออนไลน์
ทรัพยากรอื่น ๆ
มีการดำเนินการและใช้จ่ายเงินตามโครงการในปีงบประมาณ 2563
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

• ค่าตอบแทน • ค่าใช้สอย • ค่าวัสดุ

1 ครั้ง 200,000 1 200,000
รวมค่าใช้จ่าย 200,000

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

อื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 500,000.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 100.00% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) กลุ่มเกษตรกรปักผ้าอำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ ได้ความรู้ในการออกแบบลายผ้าและสามารถพัฒนา แปรรูปผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนความรู้ของชุมชนและประสบการณ์จากการทำงานตรงตามสาขาวิชา
ผลลัพธ์ (Outcome) กลุ่มเกษตรกรปักผ้าอำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ สร้างผลิตภัณฑ์ผ้าทอและผลิตภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์ของชุมชนและตรงกับความต้องการของผู้บริโภค ให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์การทำงานตรงตามสาขาวิชา และองค์ความรู้ที่เรียนโดยมีชุมชนเป็นฐานการนำความรู้สู่การปฏิบัติ
รายวิชาในการเทียบโอน ดังนี้
1 วิชาโครงการสิ่งทอและการออกแบบจำนวน 6หน่วยกิต
2 วิชาศิลปะสิ่งทอ จำนวน 3 หน่วยกิต
3 นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อการจัดการเรียนรู้ จำนวน 3 หน่วยกิ
ผลกระทบ (Impact) กลุ่มเกษตรกรปักผ้าอำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ มีรายได้จากการขายผลิตภัณฑ์แปรรูปด้านสิ่งทอ โดยได้นำความรู้ด้านการออกแบบลายผ้า การออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบโลโก้ และการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อออนไลน์ ให้นักศึกษานำองค์ความรู้ที่เรียนโดยมีชุมชนเป็นฐานการนำความรู้สู่การปฏิบัติ ผ่านโครงงานที่ตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการเชิงพื้นที่ของชุมชน
นำเข้าสู่ระบบโดย jakkarin jakkarin เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 20:42 น.