การยกระดับกลุ่มผู้ผลิตข้าวสู่มาตรฐานสินค้าเกษตรอินทรีย์อย่างครบวงจร

แบบเสนอโครงการ
การยกระดับกลุ่มผู้ผลิตข้าวสู่มาตรฐานสินค้าเกษตรอินทรีย์อย่างครบวงจร

1. ชื่อโครงการ

การยกระดับกลุ่มผู้ผลิตข้าวสู่มาตรฐานสินค้าเกษตรอินทรีย์อย่างครบวงจรมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามสำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามเทศบาลตำบลลำคลองบ้านสะอาดนาทม หมู่ที่ ๑ และบ้านสะอาดนาทม หมู่ที่ ๙ ตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์รองศาสตราจารย์ ดร.ประสพสุข ฤทธิเดช80 ถนนนครสวรรค์ ต.ตลาด อ.เมือง จ.มหาสารคาม081-574-5776, 043-721-445,096-636-8131ผศ.ดร.วสัน ปินะเต
อาจารย์สราวุฒิ ดาแก้ว
อาจารย์สายใจ เพ็งที

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ เมืองกาฬสินธุ์

3. รายละเอียดชุมชน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรยกระดับการบริหารจัดการกลุ่มที่ดีให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตข้าว

 

0.00
2 เพื่อส่งเสริมและปรับปรุงกระบวนการผลิตข้าวให้พร้อมเข้าสู่กระบวนการมาตรฐานสินค้าเกษตร GAP และสินค้าเกษตรอินทรีย์

 

0.00
3 เพื่อส่งเสริมการแปรรูปข้าวและเชื่อมประสานช่องทางการตลาดของผลิตภัณฑ์จากข้าว

 

0.00
4 เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการพัฒนากลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกข้าวสู่กระบวนการมาตรฐานสินค้าเกษตรอินทรีย์แบบครบวงจร กับเครือข่ายภายในและภายนอกชุมชน

 

0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
นักศึกษาเข้าร่วมโครงการ 13
เกษตรกรผู้ปลูกข้าว ตำบลลำคลอง 60

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมเตรียมการสำรวจพื้นที่วิสาหกิจชุมชนเกษตรกรผสมผสาน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมเตรียมการสำรวจพื้นที่วิสาหกิจชุมชนเกษตรกรผสมผสาน
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    ประชุมเตรียมการสำรวจพื้นที่กลุ่มเป้าหมายในจังหวัดกาฬสินธุ์จำนวน ๒ กลุ่ม
    คณะดำเนินโครงการและนักศึกษาลงพื้นที่สำรวจกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดกาฬสินธุ์ที่ปลูกข้าว
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    กลุ่มเกษตรกรวิสาหกิจชุมชน
    ๒ กลุ่ม
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    รวมค่าใช้จ่าย 0

    กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมส่งเสริมการรวมกลุ่มและการบริหารพื้นที่ด้วยภูมิสารสนเทศ

    ชื่อกิจกรรม
    กิจกรรมส่งเสริมการรวมกลุ่มและการบริหารพื้นที่ด้วยภูมิสารสนเทศ
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      การรวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพื่อผลิตข้าวให้ได้มาตรฐาน GAP และอินทรีย์พร้อมกับการดำเนินงานของกลุ่มด้วยการมีส่วนร่วมเพื่อให้กลุ่มดำเนินการได้ประสบผลสำเร็จจำนวน ๒ กลุ่ม
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      ถึง
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      วิสาหกิจชุมชนเกษตรผสมผสาน 2 กลุ่ม
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      เทศบาลตำบลลำคลอง
      นักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      รวมค่าใช้จ่าย 0

      กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมเตรียมพร้อมสู่มาตรฐานสินค้าเกษตรข้าว

      ชื่อกิจกรรม
      กิจกรรมเตรียมพร้อมสู่มาตรฐานสินค้าเกษตรข้าว
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        คณะดำเนินงานร่วมกับวิทยากรและนักศึกษา ถ่ายทอดองค์ความรู้การผลิตข้าวได้มาตรฐาน GAP และอินทรีย์จำนวน ๒ กลุ่ม
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        ถึง
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        กลุ่มเกษตรกรวิสาหกิจชุมชน
        ๒แหล่ง ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้กระบวนการผลิตข้าวได้รับการรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรอินทรีย์ครบวงจร และสินค้าเกษตร GAP
        จำนวน 30 คน
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        รวมค่าใช้จ่าย 0

        กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมเตรียมแปลงพื้นที่ปลูกข้าว

        ชื่อกิจกรรม
        กิจกรรมเตรียมแปลงพื้นที่ปลูกข้าว
        วัตถุประสงค์
          รายละเอียดกิจกรรม
          คณะดำเนินโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกับวิทยากรจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและนักศึกษาได้ถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่องกระบวนการผลิตข้าวตามกิจกรรมที่ระบุไว้
          ระยะเวลาดำเนินงาน
          ถึง
          ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
          เกษตรกรวิสาหกิจชุมชนที่เข้าร่วมโครงการได้รับรองมาตรฐานข้าว GAP และข้าวอินทรีย์ ๒ กลุ่ม กลุ่มละ ๑๕ คน
          มีนักศึกษาเข้าร่วม จำนวน ๑๓ คน จากมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ได้นำองค์ความรู้และนวัตกรรมร่วมกับคณะทีมทำงานเข้าไปพัฒนาเกษตรกรวิสาหกิจชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ
          ทรัพยากรอื่น ๆ
          ภาคีร่วมสนับสนุน
          วิทยากรจากภาคีเครือข่าย เช่น ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตร
          รายละเอียดงบประมาณ
          ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
          รวมค่าใช้จ่าย 0

          กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมเตรียมพันธุ์เพาะลูกข้าว

          ชื่อกิจกรรม
          กิจกรรมเตรียมพันธุ์เพาะลูกข้าว
          วัตถุประสงค์
            รายละเอียดกิจกรรม
            การคัดเมล็ดพันธุ์ข้าว การตรวจดิน การตรวจน้ำ การเพาะต้นกล้า การปลูกและดูแลรักษาและการจัดทำฐานข้อมูลเกษตรกรรายแปลงตามแบบฟอร์มของ GAP และอินทรีย์ของศูนย์พัฒนาการวิจัยการเกษตรจังหวัดมหาสารคามและจังหวัดกาฬสินธุ์
            คณะดำเนินโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกับวิทยากรจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและนักศึกษาได้ถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่องกระบวนการผลิตข้าวตามกิจกรรมที่ระบุไว้
            ระยะเวลาดำเนินงาน
            ถึง
            ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
            กลุ่มเกษตรกรวิสาหกิจชุมชน
            ๒แหล่ง ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้กระบวนการผลิตข้าวได้รับการรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรอินทรีย์ครบวงจร และสินค้าเกษตร GAP
            ทรัพยากรอื่น ๆ
            ภาคีร่วมสนับสนุน
            รายละเอียดงบประมาณ
            ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
            รวมค่าใช้จ่าย 0

            กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าว

            ชื่อกิจกรรม
            กิจกรรมแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าว
            วัตถุประสงค์
              รายละเอียดกิจกรรม
              การถ่ายทอดความรู้เรื่องการแปรรูปข้าว และการออกแบบบรรจุภัณฑ์ตามอัตลักษณ์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนโดยคณะดำเนินงานร่วมกับวิทยากรและนักศึกษา
              คณะผู้ดำเนินงานและวิทยากร ร่วมกับนักศึกษากับกลุ่มเกษตรกร ปฏิบัติการแปรรูปข้าว เป็นข้าวคั่วสมุนไพร ข้าวนึ่งงอก ข้าวฮางงอก และข้าวกล้อง พร้อมกับปฏิบัติการการออกแบบบรรจุภัณฑ์ตามอัตลักษณ์ของกลุ่มชุมชน
              ระยะเวลาดำเนินงาน
              ถึง
              ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
              กลุ่มเกษตรกรได้รับการถ่ายทอดความรู้การแปรรูปข้าวเป็นผลิตภัณฑ์สินค้า GAP และสินค้าอินทรีย์
              ทรัพยากรอื่น ๆ
              ภาคีร่วมสนับสนุน
              ภาคีเครือข่ายเกษตรกร
              วิทยากรตัวคูณจาก กลุ่มเกษตรกรจังหวัดมหาสารคาม
              นักศึกษา
              รายละเอียดงบประมาณ
              ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
              รวมค่าใช้จ่าย 0

              กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมประชุมและเชื่อมประสานช่องทางการตลาด

              ชื่อกิจกรรม
              กิจกรรมประชุมและเชื่อมประสานช่องทางการตลาด
              วัตถุประสงค์
                รายละเอียดกิจกรรม
                กลุ่มเกษตรกรวิสาหกิจชุมชน เชื่อมช่องทางการตลาด เพื่อจำหน่ายเมล็ดพันธุ์และผลิตภัณฑ์ข้าวกับหน่วยงานภายในและภายนอกกลุ่ม
                กลุ่มเกษตรกรวิสาหกิจชุมชน๒กลุ่ม
                กลุ่มนักศึกษา จำนวน ๑๓ คน ได้ฝึกการเชื่อมช่องทางการตลาดร่วมกับกลุ่มเกษตรกรวิสาหกิจชุมชน
                ระยะเวลาดำเนินงาน
                ถึง
                ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
                กลุ่มเกษตรกรวิสาหกิจชุมชน เชื่อมช่องทางการตลาด เพื่อจำหน่ายเมล็ดพันธุ์และผลิตภัณฑ์ข้าวกับหน่วยงานภายในและภายนอกกลุ่ม
                ตลาด๓ระดับ ตลาดชุมชน /ตลาดเครือข่าย /ตลาดภาครัฐ
                ทรัพยากรอื่น ๆ
                ภาคีร่วมสนับสนุน
                รายละเอียดงบประมาณ
                ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
                รวมค่าใช้จ่าย 0

                กิจกรรมที่ 8 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เครือข่ายการดำเนินโครงการ

                ชื่อกิจกรรม
                กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เครือข่ายการดำเนินโครงการ
                วัตถุประสงค์
                  รายละเอียดกิจกรรม
                  แบ่งกลุ่มเกษตรกรในชุมชน ๒ กลุ่ม จัดการความรู้ร่วมกันกับคณะผู้ดำเนินงานและภาคีเครือข่าย เล่าเรื่องถึงผลการดำเนินงาน ตั้งแต่ต้นทาง กลางทาง และปลายทางที่ได้ดำเนินโครงการ
                  ระยะเวลาดำเนินงาน
                  ถึง
                  ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
                  กลุ่มเกษตรกรได้จัดการความรู้ร่วมกับภาคีเครือข่ายเรื่องการยกระดับการผลิตข้าวสู่มาตรฐานเกษตรอินทรีย์อย่างครบวงจรและมีวิทยากรแม่ไก่การปลูกข้าว

                  กลุ่มเกษตรกรได้จัดการความรู้ร่วมกับภาคีเครือข่ายเรื่องการยกระดับการผลิตข้าวสู่มาตรฐานเกษตรอินทรีย์อย่างครบวงจรและมีวิทยากรแม่ไก่การปลูกข้าว
                  กลุ่มนักศึกษาได้เข้าร่วมการดำเนินโครงการกับคณะทีมทำงานอย่างต่อเนื่อง

                  สรุปผลการดำเนินงานโครงการ
                  จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์
                  จัดทำวิดีทัศน์
                  จัดทำหลักสูตรท้องถิ่นโดยนักศึกษา
                  มอบเกียรติบัตรให้เกษตรกรต้นแบบผู้ปลูกข้าว
                  ทรัพยากรอื่น ๆ
                  ภาคีร่วมสนับสนุน
                  รายละเอียดงบประมาณ
                  ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
                  รวมค่าใช้จ่าย 0

                  รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 584.00 บาท

                  รวมเงิน
                  ค่าใช้จ่าย (บาท) 0.00
                  เปอร์เซ็นต์ (%) 100.00%

                  11. งบประมาณ

                  586,700.00บาท

                  12. การติดตามประเมินผล

                  ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
                  ผลผลิต (Output) ๑. กลุ่มเกษตรกรวิสาหกิจชุมชน
                  ๒แหล่ง ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้กระบวนการผลิตข้าวได้รับการรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรอินทรีย์ครบวงจร และสินค้าเกษตร GAP
                  ๒.กลุ่มเกษตรกรได้รับการถ่ายทอดความรู้การแปรรูปข้าวเป็นผลิตภัณฑ์สินค้า GAP และสินค้าอินทรีย์
                  ๓.กลุ่มเกษตรกรวิสาหกิจชุมชน เชื่อมช่องทางการตลาด เพื่อจำหน่ายเมล็ดพันธุ์และผลิตภัณฑ์ข้าวกับหน่วยงานภายในและภายนอกกลุ่ม
                  ๔.การลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ของกลุ่มเกษตรกรวิสาหกิจชุมชน ในหนึ่งฤดูกาลผลิต
                  ๕.กลุ่มเกษตรกรได้จัดการความรู้ร่วมกับภาคีเครือข่ายเรื่องการยกระดับการผลิตข้าวสู่มาตรฐานเกษตรอินทรีย์อย่างครบวงจรและมีวิทยากรแม่ไก่การปลูกข้าว
                  ได้นำองค์ความรู้และนวัตกรรมร่วมกับคณะทีมทำงานเข้าไปพัฒนาเกษตรกรวิสาหกิจชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ
                  ได้ร่วมปฏิบัติกิจกรรมการแปรรูปข้าว กับกลุ่มเกษตรกรวิสาหกิจชุมชน
                  ได้ฝึกการเชื่อมช่องทางการตลาดร่วมกับกลุ่มเกษตรกรวิสาหกิจชุมชน
                  ได้ฝึกปฏิบัติการการทำบัญชีครัวเรือน ร่วมกับกลุ่มเกษตรกรวิสาหกิจชุมชน
                  ได้จัดการความรู้ร่วมกับกลุ่มเกษตรกรวิสาหกิจชุมชนและคณะทีมทำงาน
                  ผลลัพธ์ (Outcome) ๑. กลุ่มเกษตรกรวิสาหกิจชุมชนได้รับองค์ความรู้การผลิตข้ามได้มาตรฐานสินค้าเกษตร GAP และเกษตรอินทรีย์
                  ๒.กลุ่มเกษตรกรได้รับการถ่ายทอดความรู้การแปรรูปข้าวเป็นผลิตภัณฑ์สินค้า GAP และสินค้าอินทรีย์
                  ๓.กลุ่มเกษตรกรวิสาหกิจชุมชน เชื่อมช่องทางการตลาด เพื่อจำหน่ายเมล็ดพันธุ์และผลิตภัณฑ์ข้าวกับหน่วยงานภายในและภายนอกกลุ่ม
                  ๔. การลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ของกลุ่มเกษตรกรวิสาหกิจชุมชน ในหนึ่งฤดูกาลผลิต
                  ๕.กลุ่มเกษตรกรได้จัดการความรู้ร่วมกับภาคีเครือข่ายเรื่องการยกระดับการผลิตข้าวสู่มาตรฐานเกษตรอินทรีย์อย่างครบวงจรและมีวิทยากรแม่ไก่การปลูกข้าว

                  ๑. กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ปลูกข้าวในจังหวัดกาฬสินธุ์ ได้พัฒนาคุณภาพชีวิต
                  ด้านเศรษฐกิจ ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ และ
                  ด้านสังคม ได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ การปลูกข้าวเพื่อบริโภคและจำหน่าย ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถขยายผลไปสู่ประชาชนที่สนใจได้
                  กลุ่มนักศึกษาได้เข้าร่วมการดำเนินโครงการกับคณะทีมทำงานอย่างต่อเนื่อง
                  กลุ่มนักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ได้ฝึกประสบการณ์การเรียนรู้โดยการปฏิบัติจริง ในด้านการส่งเสริมอาชีพการทำเกษตรกรรม คือการปลูกข้าวแบบอินทรีย์ ได้มาตรฐานสินค้าเกษตรนำไปปฏิบัติในการประยุกต์ใช้เพื่อการดำรงชีวิต
                  ผลกระทบ (Impact) ต้นทาง
                  กลุ่มเกษตรกรวิสาหกิจชุมชนเกษตรผสมผสาน๒ กลุ่ม ได้รับความรู้กระบวนการผลิตข้าวสู่มาตรฐานสินค้าเกษตรอินทรีย์และเกษตร GAP จำนวน ๓๐ คน ใน ๒ กลุ่ม คิดเป็นร้อยละ ๕๐ของสมาชิกทั้งหมด ๖๐ คน
                  เกษตรกรทั้ง ๓๐ คน เป็นครูต้นแบบที่จะขยายผลความรู้การผลิตข้าวเพื่อยกระดับสมาชิกในกลุ่มและประชาชนที่มีความสนใจได้ผลิตข้าวเข้าสู่มาตรฐานเกษตร GAP และเกษตรอินทรีย์ประมาณ ๑๐ คน
                  กลางทาง
                  กลุ่มเกษตรกรวิสาหกิจชุมชนเกษตรผสมผสาน๒กลุ่มได้องค์ความรู้เรื่องการแปรรูปผลิตภัณฑ์ข้าว มีผลิตภัณฑ์อย่างน้อย ๔ ชนิด ที่เป็นสินค้ามาตรฐานได้รับการรับรองเข้าสู่ตลาด ๓ ระดับ คือ ระดับชุมชน ระดับเครือข่าย ระดับภาครัฐ ส่งผลให้เกิดรายได้ต่อเกษตรกรในแต่ละครัวเรือนประมาณ ๕๐,๐๐๐ บาท ต่อฤดูกาลผลิต
                  ปลายทาง
                  กลุ่มเกษตรกรวิสาหกิจชุมชนเกษตรผสมผสาน๒กลุ่มได้พัฒนาคุณภาพชีวิตด้านการเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวเพื่อการบริโภคและการจำหน่าย เกิดผลต่อด้านด้านเศรษฐกิจและด้านสังคมได้รับการพัฒนาไปสู่ความมั่นคงมั่งคั่งและยั่งยืนสามารถขยายเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดกาฬสินธุ์เรื่องการปลูกข้าวสู่การทำเกษตรอินทรีย์แบบครบวงจร ในโอกาสต่อไป
                  นำเข้าสู่ระบบโดย asc.rmu.63 asc.rmu.63 เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 20:39 น.