แบบเสนอโครงการ
ทดสอบ

1. ชื่อโครงการ

ทดสอบมหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขนคณะเทคโนโลยีสารสนเทศคณะวิศวกรรมศาสตร์คณะบัญชีวิทยาลัยการบินและคมนาคมกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) สมาคมผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมไทย กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย พัฒนาการชุมชนจังหวัดกาฬสินธุ์ พัฒนาการชุมชนอำเภอคำม่วงตำบลนาบอน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์2410/2 ถนน พหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 109002410/2 ถนน พหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ คำม่วง นาบอน

3. รายละเอียดชุมชน

ตำบลนาบอน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์
ตำบลนาบอน มีที่ตั้งอยู่ใกล้กับเทือกเขาภูพาน อย่างห่างจากอำเภอคำม่วงไปทางทิศตะวันออก ประมาณ ๗ กิโลเมตรอยู่ห่างจากจังหวัดกาฬสินธุ์ ประมาณ ๘๕ กิโลเมตรลักษณะภูมิประเทศ เป็นที่ราบสูงเชิงเขามีลำห้วยปอล้ำห้วยสมอทบ และลำห้วยแก้งไหลผ่าน มีเนื้อที่ทั้งหมด๙๗ตารางกิโลเมตร สภาพดินเป็นดินร่วนปนทรายมีพื้นที่เป็นป่าเขามีภูเขาอยู่รอบพื้นที่บริเวณทางทิศเหนือ และทิศตะวันออกของตำบล จำนวน๗ลูกมีเนื้อที่ประมาณ๑๕,๐๐๐ ไร่ ประกอบด้วย ภูพรานยอด ภูปอ ภูผักหวาน ภูโป่ง ภูหินปูน ภูตุ่น และ ภูถ้ำพระซึ่งเป็นป่า
ที่ยังมีสภาพที่อุดมสมบูรณ์มีอาหารป่าให้ชาวบ้านสามารถนำมาเป็นอาหารเลี้ยงครอบครัว และสร้างรายได้ให้กับชุมชนหมุนเวียนตลอดปี เช่น หน่อไม้ผักหวาน ดอกกระเจียวเห็ด และหอยหอม เป็นต้น ด้านทิศตะวันออกของตำบลมีแนวเขตติดต่อกับอุทยานแห่งชาติภูพาน
ทิศเหนือจดตำบลดินจี่
ทิศใต้จดตำบลโพนตำบลเนินยาง
ทิศตะวันออกจดตำบลดินจี่อำเภอคำม่วง และตำบลแซงบาดาล อำเภอสมเด็จ
ทิศตะวันตกจดตำบลโพนตำบลทุ่งคลอง
มีหมู่บ้านในเขตปกครอง จำนวน11หมู่บ้านประกอบด้วย
หมู่ 1บ้านนาบอนนายอ่อนสาภูแดนไกรผู้ใหญ่บ้าน
หมู่ 2บ้านนาบอนนายผาศักดิ์คำออนผู้ใหญ่บ้าน
หมู่ 3บ้านสะพานหิน นายสมบัติ อรรถประจงผู้ใหญ่บ้าน
หมู่ 4บ้านคำสมบูรณ์นายอมร จำปาราผู้ใหญ่บ้าน
หมู่ 5บ้านคำเมยนายชูวิทย์ สุรันนาผู้ใหญ่บ้าน
หมู่ 6บ้านหัวนาคำนายวิชัย ภูล้ำผาผู้ใหญ่บ้าน
หมู่ 7บ้านโนนศรีสวัสดิ์ส.ต.สุปัน สุรัญณาผู้ใหญ่บ้าน
หมู่ 8บ้านทุ่งมนนายสมบูรณ์สุพรรณธนา ผู้ใหญ่บ้าน
หมู่ 9 บ้านบะเอียดนายสุระพล คาดีวีผู้ใหญ่บ้าน
หมู่ 10บ้านนาอุดมนายจรัญ โคตรรักษาผู้ใหญ่บ้าน
หมู่ 11บ้านนาเจริญนายบุญจัน จันทวิสากำนันตำบลนาบอน

กลุ่มอาชีพ
- กลุ่มวิสาหกิจชุมชนทอผ้าไหมมัดหมี่บ้านนาบอน หมู่ 2 ได้แก่ ผ้าไหมมัดหมี่ ผ้าไหมแพรวา ผ้าทอ
พื้นบ้านอื่นๆ
- กลุ่มแปรรูปสมุนไพรบ้านนาบอน หมู่ 2ได้แก่ ขิงผงกระชายผง มะตูมผงลูกยอผง
- กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรฟื้นฟูเศรษฐกิจบ้านนาเจริญหมู่ 11ได้แก่ เทียนหอมสมุนไพรแซมพู ครีมนวด
พิมเสน
- กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรทอผ้าไหมแพรวาบ้านโนนศรีสวัสดิ์
- กลุ่มวิสาหกิจเพาะเห็ดบ้านคำเมยหมู่ 5
- กลุ่มสตรีทอผ้าไหมมัดหมี่บ้านนาบอน หมู่ 1
- กลุ่มเตาอั่งโล่บ้านนาบอน หมู่ 2 และบ้านคำสมบูรณ์ หมู่ 4
- กลุ่มผักปลอดสารบ้านสะพานหิน หมู่ 3
- กลุ่มจักสานบ้านสะพานหิน หมู่ 3
- กลุ่มทอผ้าพื้นเมืองบ้านสะพานหิน หมู่ 3
- กลุ่มแปรรูปกระเป๋าและเนตคลุมผมบ้านสะพานหิน หมู่ 3
ประเด็นปัญหาหลัก
1. ความยั่งยืนของกระบวนการพัฒนาและส่งเสริมชุมชนเพื่อเป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้
2. มีความเหลื่อมล้ำของคุณภาพชีวิตประชาชนทั้งในด้านอาชีพ ด้านรายได้ และการเข้าถึงการพัฒนาองค์ความรู้
3. ขาดองค์ความรู้ด้านนวัตกรรมและงบประมาณในการพัฒนาห่วงโซ่ธุรกิจ ด้านมาตรฐานผลิตภัณฑ์ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ และบรรจุภัณฑ์
ประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้อง
1. ไม่มีงบประมาณในการปรับปรุงและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี
2. การใช้สารเคมีในภาคการเกษตร การทำเกษตรเชิงเดี่ยว
3. ไม่มีนักท่องเที่ยวเข้าไปเที่ยวในพื้นที่
4. ไม่มีสื่อและงบประมาณในการประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยว
5. ขาดการสร้างกลในการพัฒนาและส่งเสริมนวัตกรรมห่วงโซ่ธุรกิจผ้าไหมแพรวา
6. ขาดการนำระบบบัญชีที่ดีเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินธุรกิจ

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การจัดการการเรียนการสอนเพื่อปรับเปลี่ยนและหรือเพิ่มสมรรถนะความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่ตอบโจทย์เฉพาะสถานประกอบการในชุมชน ดำเนินการบูรณาการใช้ Team Teaching Method โดยทีมคณาจารย์จากมหาวิทยาลัยศรีปทุมร่วมกับผู้ทรงคุณวุฒิและภาคอุตสาหกรรมที่ทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงจะมีการประชุมร่วมกันเพื่อกำหนด Learning Outcome และออกแบบการเรียนการสอนโดยเน้นใช้ (Community-based Learning Program: CBL) ผ่านโครงงานที่ตอบสนอง ต่อปัญหาและความต้องการเชิงพื้นที่ของชุมชน (Area-based) ดังนี้
- การเรียนการสอนเน้นการลงมือปฏิบัติ เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากพื้นที่จริง
- การเรียนการสอนเน้นกิจกรรมกลุ่ม Group Discussion และ Work Shop โดยใช้โจทย์ปัญหาจริงจากชุมชน
- การเรียนการสอนเน้นผลลัพธ์เป็นชิ้นงาน (Project Based) ที่สามารถนำไปแก้ปัญหาในชุมชนได้จริง (Problem Based)
- การประเมินและวัดผล (Learning Outcome) จะดำเนินการร่วมกันระหว่างทีมคณาจารย์และผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกจากภาคอุตสาหกรรม
- การศึกษาภาคปฏิบัติร่วมกับกรมการพัฒนาชุมชนและชุมชนตัวอย่างที่พร้อมขับเคลื่อนสู่อุตสาหกรรม 4.0
- การบูรณาการองค์ความรู้เพื่อออกแบบนวัตกรรมทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการบัญชีด้านวิศวกรรม และ ด้านเทคโนโลยีการบิน เข้าด้วยกันเพื่อสร้างนวัตกรรมสู่ชุมชน

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 0.00 บาท

รวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 0.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 100.00%

11. งบประมาณ

0.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output)
ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลกระทบ (Impact)
นำเข้าสู่ระบบโดย kriangkrai.sa01 kriangkrai.sa01 เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 20:31 น.