ส่งเสริมการทำเกษตรด้วยระบบสมาร์ทฟาร์ม บ้านข้ามหลาม ตำบลกมลาไสย อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
ส่งเสริมการทำเกษตรด้วยระบบสมาร์ทฟาร์ม บ้านข้ามหลาม ตำบลกมลาไสย อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

ส่งเสริมการทำเกษตรด้วยระบบสมาร์ทฟาร์ม บ้านข้ามหลาม ตำบลกมลาไสย อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่นมหาวิทยาลัยกาฬสินธ์ุ สำนักงานเกษตรอำเภอกมลาไสยบ้านข้ามหลาม ตำบลกมลาไสย อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ดร.ปาริชาติ กินรีสาขาครุศาสตร์อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น089-8401070นางอังคณาเจริญมี วิศวะฯ
นายวิทยาชำนาญไพร วิศวะฯ
นส.ปัทมมเกสร์ ราชธานี แผนกวิจัยและพัฒนา
นายบรรลุเพียชิน ครุศาสตร์
ดร.ปัทมากร เนตยวิจิตร บริหารธุรกิจฯ
นายณภัทรพงศ์ บุญโสม ครุศาสตร์
นายณัฐกิตต์ กะฐินเทศ ครุศาสตร์
น.ส จรัญยา แก้วก้อย ครุศาสตร์
น.ส.ปาริฉัตร โนนทิง ครุศาสตร์
นายนัฐพล. มูลสี ครุศาสตร์
นายวิษณุ สารโภคา ครุศาสตร์
นาย ปิยนนท์ จำปาหาย วิศวะฯ
นาย ณัฐภัทร คำภูมี วิศวะฯ
นายสหภัทร พลวัฒน์ วิศวะฯ
นายธีระวัฒน์ เชื้อจำพร วิศวะฯ
นายวรวงศ์ บรรจงปรุ วิศวะฯ
นายโชคธิชัย กลางเมืองขวา วิศวะฯ
นายอมรเทพ จันทร์แสง วิศวะฯ
นายนพเก้า พลเสนา วิศวะฯ

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ กมลาไสย กมลาไสย
กาฬสินธุ์ กมลาไสย กมลาไสย ชานเมือง

3. รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลทั่วไปบ้านข้าวหลามหมู่ที่ 16ต.กมลาไสยอ.กมลาไสยจ.กาฬสินธุ์
1.ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน
บ้านข้าวหลามหมู่ที่ 16ต.กมลาไสยอ.กมลาไสยจ.กาฬสินธุ์ ประชากรมีอาชีพหลัก คือ การทำนา (นาปี,นาปรัง) อาชีพรอง คือ รับราชการ รับจ้างทั่วไปมีรายได้เฉลี่ย 121,234 บาท/คน/ปี และมีรายจ่าย 44,479 บาท/ คน/ปี ผู้ใหญ่บ้าน นายบุญจันทร์ พาโคกทม และยังเป็นชุมชนโอท๊อฟนวัตวิถี
2. สภาพทั่วไป
2.1 ลักษณะทั่วไป
-บ้านจันทร์ส่องหล้า ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของที่ว่าการอำเภอห้วยเม็กจังหวัดกาฬสินธุ์อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอห้วยเม็กจังหวัดกาฬสินธุ์ 2กิโลเมตรห่างจากจังหวัดกาฬสินธุ์55กิโลเมตร
2.2 อาณาเขตติดต่อ
ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตเทศบาลตำบลห้วยโพธิ์ อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์

ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตองค์การบริหารส่วนตำบลโนนศิลาเลิงอำเภอฆ้องชัย เทศบาลตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสยจังหวัดกาฬสินธุ์

ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหลักเมืองอำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์

ทิศใต้ ติดต่อกับเขตองค์การบริหารส่วนตำบลธัญญา, เทศบาลตำบลหนองแปนอำเภอกมลาไสยจังหวัดกาฬสินธุ์
การปกครอง และการบริหารการปกครอง
มีจำนวนครัวเรือนทั้งหมด 150 ครัวเรือน มีประชากรรวม 619 คน ชาย 299 คน และหญิง 320 คน
ลักษณะภูมิประเทศ
- องค์การบริหารส่วนตำบลกมลาไสย มีภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มที่มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะสำหรับการทำการเกษตรพื้นที่ทำการเกษตรเกือบทั้งหมดอยู่ในเขตชลประทานเขื่อนลำปาวและโครงการสูบน้ำด้วยพลังงานไฟฟ้าจากลำน้ำปาว องค์การบริหารส่วนตำบลกมลาไสย มี 3ฤดูกาล คือ

ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือน มีนาคม ถึงเดือน พฤษภาคม อากาศค่อนข้างร้อน

ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน ถึงเดือนตุลาคม มีฝนตกชุกเป็นบางช่วง

ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนกุมภาพันธ์ อากาศหนาวมาก

พื้นที่และการทำประโยชน์
มีพื้นที่ทั้งหมด ประมาณ ๑,๓๐๐๐ ตารางกิโลเมตร เป็นพื้นที่ราบบริเวณหมู่บ้านเป็นทุ่งนา มีระบบชลประทานทั่วถึงมีความเหมาะสมในการทำการเกษตร
การทำลายทรัพยากรในพื้นที่ การขยายพื้นที่ปลูกพืชเชิงเดี่ยวทางการเกษตร ใช้สารเคมี สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรม ผลผลิตตกต่ำ ปัญหาหนี้สิน, รายได้น้อย
สุขภาพเสื่อมโทรม ปัญหาสังคม
ต้องการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง และชุมชนให้ดีมีรายได้เพิ่มขึ้น ต้องการพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ในชุมชน มีการผลิตที่ดี เป็นระบบ การผลิตที่ปลอดภัย ตรงตามความต้องการของตลาด เกษตรปลอดภัย หรือกลุ่มวิสาหกิจที่สามารถสร้างรายได้หลายการเก็บเกี่ยว หรือให้กับกลุ่มอาชีพต่างๆ ในชุมชน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1.กระบวนการวิจัยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
2. การทำเกษตรปลอดสารพิษ และระบบสมาร์ทฟาร์ม 3. การถ่ายทอดเทคโนโลยีและองค์ความรู้ 4. ระบบบัญชี การจัดจำหน่าย และการจัดการ

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อวิเคราะห์บริบท ของชุมชนในประเด็น ปัญหาและความ ต้องการเชิงพื้นที่
  • แผนการพัฒนา ระบบการทำการเกษตร
  • รูปแบบและความต้องการของชุมชน
1.00 30.00
2 . เพื่อวิจัยและพัฒนานัตกรรมสมาร์ทฟาร์มสำหรับบ้านข้าวหลาม
  • แบบโรงเรือน
  • ระบบสมาร์ทฟาร์ม
    -นวัตกรรมการทำการเกษตร
2.00 2.00
3 เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสมาร์ท ฟาร์ม

ผู้ผ่านการอบรม และร่วมเป็นสมาชิก

3.00 30.00
4 4. เพื่อส่งเสริมการเป็นผู้ประกอบการ

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรสมาร์ทฟาร์ม

4.00 1.00
5 1. เพื่อวิเคราะห์บริบท ของชุมชนในประเด็น ปัญหาและความ ต้องการเชิงพื้นที่ 2. เพื่อวิจัยและพัฒนานัตกรรมสมาร์ทฟาร์มสำหรับบ้านข้าวหลาม 3.เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสมาร์ท ฟาร์ม 4. เพื่อส่งเสริมการเป็นผู้ประกอบการ
  • แผนการพัฒนา ระบบการทำการเกษตร
  • รูปแบบและความต้องการของชุมชน
    • แบบโรงเรือน
  • ระบบสมาร์ทฟาร์ม
    ผู้ผ่านการอบรม และร่วมเป็นสมาชิก กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรสมาร์ทฟาร์ม
0.00
6 1. เพื่อวิเคราะห์บริบท ของชุมชนในประเด็น ปัญหาและความ ต้องการเชิงพื้นที่ 2. เพื่อวิจัยและพัฒนานัตกรรมสมาร์ทฟาร์มสำหรับบ้านข้าวหลาม3.เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสมาร์ท ฟาร์ม4. เพื่อส่งเสริมการเป็นผู้ประกอบการ

แผนการพัฒนา ระบบการทำการเกษตร
- รูปแบบและความต้องการของชุมชน - แบบโรงเรือน
- ระบบสมาร์ทฟาร์ม
ผู้ผ่านการอบรม และร่วมเป็นสมาชิก กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรสมาร์ทฟาร์ม

500.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มสมาร์ทฟาร์มในพื้นที่ใกล้เคียง 50
บ้านข้าวหลามหมู่ที่ 16ต.กมลาไสยอ.กมลาไสย 30

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 เตรียมความพร้อมกระบวนการวิจัยแบบมีส่วนร่วมในชุมชนให้กับอาจารย์ที่ปรึกษา และนักศึกษา

ชื่อกิจกรรม
เตรียมความพร้อมกระบวนการวิจัยแบบมีส่วนร่วมในชุมชนให้กับอาจารย์ที่ปรึกษา และนักศึกษา
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อวิเคราะห์บริบท ของชุมชนในประเด็น ปัญหาและความ ต้องการเชิงพื้นที่
รายละเอียดกิจกรรม
-จัดประชุม ทีมอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ และนักศึกษา เพื่อแจ้งวัตถุประสงค์ และวิธีดำเนินงานโครงการ พร้อมทั้ง อบรมให้ความรู้แก่นักศึกษาในด้านการประกอบและติดตั้งอุปกรณ์ด้านโรงเรือนและระบบสมาร์ทฟาร์ม, การวิจัยชุมชน
-ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ โครงการให้กับกลุ่มเป้าหมายในชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Output)
-ได้ความรู้ในการทำวิจัยแบบมีส่วนร่วมในชุมชน
-การบรูณาการความรู้สู่การสร้างนวัตกรรม และระบบสมาร์ทฟาร์ม
-การเรียนรู้ในวิถีชุมชนและเศรษฐกิจพอเพียงในบริบทของพื้นที่และการนำนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์

ผลลัพธ์ (Outcome)
-นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้
องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานได้จริง
-มีสำนึกในความเป็นธรรมและ
มีจิตสาธารณะ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
สำนักงานเกษตรอำเภอกมาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าวิทยากร 3 คนๆละ 4,800 บาท=14,400(หน.โครงการ,ที่ปรึกษา,ตัวแทนคณะฯหน.หน่วยงาน)

3 คน 4,800 1 14,400
อื่น ๆ

.ค่าเบี้ยเลี้ยง จนท. 240 x 4 คน = 960บาท

4 คน 240 1 960
อื่น ๆ

ผู้ช่วยวิทยากร อาจารย์ที่ปรึกษา 300x8ชม.x2คน=4,800 บาท

2 คน 300 8 4,800
อื่น ๆ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

45 คน 50 2 4,500
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าถ่ายเอกสาร

20 คน 50 1 1,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน

20 คน 100 2 4,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม

50 คน 100 1 5,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

10 คน 160 1 1,600
ค่าถ่ายเอกสาร 30 ชุด 50 1 1,500
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 1 ครั้ง 2,500 2 5,000
รวมค่าใช้จ่าย 42,760

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของชุมชนที่เข้าร่วม ให้ความรู้ ความเข้าใจในด้านสมาร์ทฟาร์มเบื้องต้น

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของชุมชนที่เข้าร่วม ให้ความรู้ ความเข้าใจในด้านสมาร์ทฟาร์มเบื้องต้น
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อวิเคราะห์บริบท ของชุมชนในประเด็น ปัญหาและความ ต้องการเชิงพื้นที่
รายละเอียดกิจกรรม
-กระบวนการกลุ่ม และวิเคราะห์สภาพ จัดทำแผนการพัฒนาระบบการทำการเกษตร
-กระบวนการมีส่วนร่วมในการ กำหนดรูปแบบและความต้องการของชุมชน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Output)
องค์ความรู้ของมหาวิทยาลัยและหน่วยงาน มีการบูรณาการในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชน
ผลลัพธ์ (Outcome)
นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้
องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานได้จริง
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
สำนักงานเกษตรอำเภอกมาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน 4,800 2 28,800
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงเจ้าหน้าที่ ผู้ประสานงาน

3 คน 240 2 1,440
ค่าอาหาร 50 คน 100 2 10,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

10 คน 160 2 3,200
ค่าถ่ายเอกสาร 30 ชุด 50 1 1,500
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 2 ครั้ง 2,500 1 5,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

50 คน 50 2 5,000
อื่น ๆ 2 คน 2,400 2 9,600
รวมค่าใช้จ่าย 64,540

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมพัฒนา นวัตกรรมในการ พัฒนาศักยภาพของ ชุมชนบ้านข้าวหลาม

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมพัฒนา นวัตกรรมในการ พัฒนาศักยภาพของ ชุมชนบ้านข้าวหลาม
วัตถุประสงค์
  1. . เพื่อวิจัยและพัฒนานัตกรรมสมาร์ทฟาร์มสำหรับบ้านข้าวหลาม
รายละเอียดกิจกรรม
การออกแบบและสร้างโรงเรือนต้นแบบระบบสมาร์ทฟาร์ม 2 ฟาร์ม ที่ประกอบด้วย
- โรงเรือนระบบปิด
- มุ้งตาข่ายกันแมลง
- ระบบควบคุมการจ่ายน้ำตามโปรแกรมเวลา และควบคุมด้วยตนเองผ่าน App. บนสมาร์ทโฟน
- ระบบจ่ายน้ำ
-ระบบสะสมข้อมูลและแจ้งเตือน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Output)
-จังหวัดกาฬินธุ์มีต้นแบบการทำสมาร์ทฟาร์ม
-เกษตรกรบ้านข้ามหลาม มีระบบสมาร์ทฟาร์มในการทำการเกษตร
ผลลัพธ์ (Outcome)
.องค์ความรู้ของมหาวิทยาลัยและหน่วยงาน มีการบูรณาการในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

10 คน 160 40 64,000
อื่น ๆ 3 คน 240 20 14,400
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 2 ชิ้น 38,000 1 76,000
ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน 4,800 10 144,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 5 เที่ยว 3,600 1 18,000
รวมค่าใช้จ่าย 316,400

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมถ่ายทอดเทคโนโลยีสมาร์ทฟาร์ม

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมถ่ายทอดเทคโนโลยีสมาร์ทฟาร์ม
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสมาร์ท ฟาร์ม
รายละเอียดกิจกรรม
-ให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการใช้เทคโนโลยีสมาร์ทฟาร์ม และนวัตกรรมที่สร้างขึ้น เพื่อให้ผู้ใช้มีความเข้าใจและสามารถควบคุมการทำงานของระบบสมาร์ทฟาร์มได้
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Output)
-เพิ่มวิสาหกิจชุมชน เกษตรปลอดภัยด้วยนระบบสมาร์ทฟาร์ม
-สร้างอาชีพ เพิ่มรายได้ให้กับประชาชนในพื้นที่
ผลลัพธ์ (Outcome)
เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าเกษตรปลอดภัย และการนำใช้ประโยชน์จากทรัพยากรท้องถิ่นที่มีอยู่ในชุมชน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
สำนักงานเกษตรอำเภอกมลาไสย
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 4,800 1 9,600
อื่น ๆ

ค่าวิทยากรผู้ช่วย

2 คน 2,400 1 4,800
อื่น ๆ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

20 คน 50 3 3,000
ค่าอาหาร 20 คน 100 3 6,000
ค่าถ่ายเอกสาร 50 ชุด 20 1 1,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 3 ครั้ง 2,500 1 7,500
รวมค่าใช้จ่าย 31,900

กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมพัฒนาต่อยอดส่งเสริมการเป็นผู้ประกอบการ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมพัฒนาต่อยอดส่งเสริมการเป็นผู้ประกอบการ
วัตถุประสงค์
  1. 4. เพื่อส่งเสริมการเป็นผู้ประกอบการ
รายละเอียดกิจกรรม
- ให้ความรู้ด้านการวางแผนการตลาด ของเกษตรกรและกลุ่มวิสาหกิจ ระบบบัญชี การจัดจำหน่าย และการบริหารจัดการ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Output)
มีแหล่งผลิตสินค้าเกษตปลอดสารพิษให้กับประชาชน
ผลลัพธ์ (Outcome)
ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นและสามารถพึ่งพาตนเองและรู้การใช้ประโยชน์จากความรู้และทรัพยากรท้องถิ่นของตนเอง
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน 4,800 1 4,800
ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน 4,800 1 4,800
อื่น ๆ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

50 คน 50 3 7,500
ค่าอาหาร 50 คน 100 3 15,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 1 คน 2,500 3 7,500
ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน 4,800 1 4,800
รวมค่าใช้จ่าย 44,400

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 211,200.00 93,000.00 76,000.00 119,800.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 42.24% 18.60% 15.20% 23.96% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) -จังหวัดกาฬินธุ์มีต้นแบบการทำสมาร์ทฟาร์ม
-เกษตรกรบ้านข้ามหลาม มีระบบสมาร์ทฟาร์มในการทำการเกษตร
-เพิ่มวิสาหกิจชุมชน เกษตรปลอดภัยด้วยนระบบสมาร์ทฟาร์ม
-สร้างอาชีพ เพิ่มรายได้ให้กับประชาชนในพื้นที่
-มีแหล่งผลิตสินค้าเกษตปลอดสารพิษให้กับประชาชน
-ได้ความรู้ในการทำวิจัยแบบมีส่วนร่วมในชุมชน
-การบรูณาการความรู้สู่การสร้างนวัตกรรม และระบบสมาร์ทฟาร์ม
-การเรียนรู้ในวิถีชุมชนและเศรษฐกิจพอเพียงในบริบทของพื้นที่และการนำนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
ผลลัพธ์ (Outcome) 1.องค์ความรู้ของมหาวิทยาลัยและหน่วยงาน มีการบูรณาการในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชน
2.เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าเกษตรปลอดภัย และการนำใช้ประโยชน์จากทรัพยากรท้องถิ่นที่มีอยู่ในชุมชน
3.ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นและสามารถพึ่งพาตนเองและรู้การใช้ประโยชน์จากความรู้และทรัพยากรท้องถิ่นของตนเอง
-นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้
องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานได้จริง
-มีสำนึกในความเป็นธรรมและ
มีจิตสาธารณะ
ผลกระทบ (Impact) องค์ความรู้ใหม่จากการวิจัยในชุมชนและ นวัตกรรมสังคมที่เกิดขึ้นมีคุณค่า และส่งผลต่อรูปแบบการพัฒนาชุมชนในอนาคต -สามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคมที่หลากหลายวัฒนธรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่มีความเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ
นำเข้าสู่ระบบโดย pattamakes pattamakes เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 20:24 น.