โครงการส่งเสริมการลดการใช้สารเคมีในพืชสวนเพื่อเกษตรที่ยั่งยืน

แบบเสนอโครงการ
โครงการส่งเสริมการลดการใช้สารเคมีในพืชสวนเพื่อเกษตรที่ยั่งยืน

1. ชื่อโครงการ

โครงการส่งเสริมการลดการใช้สารเคมีในพืชสวนเพื่อเกษตรที่ยั่งยืนมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีศูนย์วิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ดร. ภิรมย์ สุวรรณสมสาขาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม08927570961. ดร.ปนัดดา แทนสุโพธิ์
2. ผศ.ดร. ฌานุกรณ์ ทับทิมใส
3. นักศึกษาหลักสูตรเคมี
4. นักศึกษาหลักสูตรชีววิทยา
5.นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตร์บัณฑิต สาขาเคมี
6.นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตร์บัณฑิต สาขาวิทยาศาตร์
7. นักศึกษาหลักสูตรสิ่งแวดล้อม

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ เมืองกาฬสินธุ์ ลำพาน ชานเมือง

3. รายละเอียดชุมชน

ตำบลลำพานตั้งอยู่ในเขตพื้นที่อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ มีหมู่บ้าน จำนวน 16 หมู่บ้าน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของอำเภอเมืองกาฬสินธุ์ลักษณะพื้นที่เป็นที่ราบลุ่มเหมาะแก่การเพาะปลูก ทิศเหนือ ติดกับ ตำบลบึงวิชัย อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ ทิศใต้ ติดกับ ตำบลหลุบ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ ทิศตะวันออก ติดกับ เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ ทิศตะวันตก ติดกับ ตำบลดอนสมบูรณ์ และ ตำบลบัวบาน อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์ อาชีพหลัก ทำนา/ทำสวน/ทำไร่อาชีพเสริม หัตถกรรมในพื้นที่ตำบลลำพาน อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยส่วนใหญ่มีการทำการเกษตรหลัก คือ การทำนา ซึ่งนอกเหนือจากการทำนาแล้วมีเกษตรกรยังปลูกพืชผักอินทรีย์ พืชสวนเพิ่มรายได้อีกด้วย และมีการใช้สารเคมีในการกำจัดศัตรูพืช1. ปัญหาแมลงศัตรูพืช เช่น แมลง และโรคพืชต่างๆ ได้แก่ โรคราน้ำค้าง โรครากเน่า ที่ส่งผลต่อคุณภาพของผักอินทรีย์
2. ไม่สามารถควบคุมสภาวะแวดล้อมในการปลูกผักอินทรีย์ได้ โดยเฉพาะผักสลัดที่ค่อยข้างจะอ่อนไหวต่อสภาพแวดล้อม เช่น ในฤดูฝนแสงแดดน้อยทำให้ผักมีลักษณะต้นยืด ส่วนในฤดูร้อนผักเกิดใบไหม้และลวกแดด ส่งผลต่อลักษณะปรากฏที่ผู้บริโภคไม่ยอมรับขึ้น
3. ขาดความเชื่อมั่นจากผู้บริโภค เนื่องจากเกษตรกรยังไม่ได้รับมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ในการการันตีว่ามีการปลูกพืชผักแบบอินทรีย์จริง
4. ในระหว่างการเก็บเกี่ยวผัก ถ้าผักในแปลงมีจำนวนมากจะส่งผลต่อคุณภาพของผักที่รอการบรรจุ เกิดความเหี่ยวเฉา และเมื่อบรรจุในถุงพลาสติกผักมีอายุการเก็บรักษาไม่ได้นาน
1. ต้องการนวัตกรรมหรือองค์ความรู้มาแก้ปัญหาการกำจัดโรคพืชและศัตรูพืช ได้แก่ เพลี้ย แมลง และโรคพืชต่างๆ ได้แก่ โรคราน้ำค้าง โรครากเน่า
2. การควบคุมสภาวะแวดล้อมในการปลูกผักอินทรีย์ โดยเฉพาะผักสลัดที่ค่อยข้างจะอ่อนไหวต่อสภาพแวดล้อม ต้องการจะใช้เทคโนโลยีหรือนวัตกรรมเข้ามาช่วยแก้ปัญหาในการควบคุมอุณหภูมิ ความชื้นในแปลงผักโดยลดขั้นตอนการทำงานของแรงงานคนด้วย
3. ต้องการระบบการจัดการน้ำที่ดี และมีประสิทธิภาพ โดยการติดตั้งสปริงเกอร์ และมีแหล่งพักน้ำเพื่อให้เพียงพอในการใช้งาน
4. ต้องการเครื่องมือหรือเทคโนโลยีสำหรับทุ่นแรงในกระบวนการผลิตปุ๋ยอินทรีย์และระบบการล้าง ตัดแต่ง บรรจุผัก
5. ต้องการได้มาตรฐานในการรับรองผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์
6. ต้องการนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีมาใช้ในการเก็บรักษาหรือยืดอายุผักสดให้วางจำหน่ายได้นานขึ้น
7. ต้องการเพิ่มช่องทางจำหน่ายผักอินทรีย์ให้มากขึ้น

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

ความรู้เกี่ยวกับการใช้เชื้อจุลินทรีย์ทรีย์ และทำน้ำหมักชีวภาพไล่แมลง และเพิ่มฮอร์โมนพืช ในการป้องกันโรค แมลง และเพิ่มผลผลิตในสวนผักเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพผลผลิตที่ปลอดภัย

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อนำองค์ความรู้จากห้องเรียนและงานวิจัยลงสู่ชุมชน

นักศึกษา นักวิจัย และชมชุนนำไปใช้ได้จริง

80.00 80.00
2 เพื่อปรับปรุงคุณภาพของน้ำหมัก และสามารถนำน้ำหมักที่มีฮอร์โมนพืชไปใช้ในพืชสวนและพัฒนาคุณภาพพืชผักที่มีความต้องการของตลาดและต้านทานโรค ลดการใช้สารเคมี

จำนวนชุมชนที่สามารถใช้ได้จริง

0.00
3 เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชนให้กับนักศึกษา อาจารย์ บุคลากร และเจ้าหน้าที่

จำนวนแหล่งเรียนรู้

0.00
4 เพื่อยกระดับมาตรฐานการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ

ได้กวิธีในการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ที่มีคุณภาพ

0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
นักศึกษา 20
อาจารย์ 10
เกษตรกรในชุมชน 20

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การให้ความรู้เกี่ยวกับสารเคมี และปลุกจิตสำนึกลดการใช้สารเคมี

ชื่อกิจกรรม
การให้ความรู้เกี่ยวกับสารเคมี และปลุกจิตสำนึกลดการใช้สารเคมี
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    ๑. อันตรายจากการใช้สารเคมี และวิธีการลดการใช้สารเคมีทดแทนให้กับนักเรียนในชุมชน
    ๒. ชาวบ้านและนักเรียนร่วมเสนอวัสดุในท้องถิ่นที่ทดแทนการใช้สารเคมี
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 มีนาคม 2563 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ๑. ชาวบ้านและผู้นำชมชนเห็นคุณค่าการลดการใช้สารเคมี
    ๒. ชาวบ้านได้ทราบวัสดุทดแทนสารเคมี
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน 4,000 1 12,000
    ค่าตอบแทนการประสานงาน 5 คน 500 1 2,500
    ค่าอาหาร 100 คน 100 1 10,000
    ค่าอาหาร 100 คน 50 1 5,000
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 5 เที่ยว 600 2 6,000
    ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 1,000 1 1,000
    ค่าวัสดุสำนักงาน 1 คน 2,000 1 2,000
    รวมค่าใช้จ่าย 38,500

    กิจกรรมที่ 2 อบรมการทำน้ำหมักชีวภาพ

    ชื่อกิจกรรม
    อบรมการทำน้ำหมักชีวภาพ
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      จัดอบรมการทำน้ำหมักชีวภาพให้กับกลุ่มชาวบ้านที่สนใจโดยวิทยากรจากมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      1 มีนาคม 2563 ถึง
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      1. ชาวบ้าน 100 คน เข้าร่วมอบรมทำน้ำหมักชีวภาพ
      2. นักเรียนนักศึกษา ได้เรียนรู้การทำน้ำหมักชีวภาพ และสามารถนำไปต่อยอดได้
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน 3,600 5 54,000
      ค่าตอบแทนการประสานงาน 3 คน 500 5 7,500
      ค่าอาหาร 100 คน 100 5 50,000
      ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 1,000 5 5,000
      ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 2,500 5 12,500
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 1 ชุด 2,000 5 10,000
      ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 1 เที่ยว 1,000 5 5,000
      ค่าถ่ายเอกสาร 100 ชุด 300 2 60,000
      รวมค่าใช้จ่าย 204,000

      กิจกรรมที่ 3 ทดสอบประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพ และถ่ายทอดองค์ความรู้

      ชื่อกิจกรรม
      ทดสอบประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพ และถ่ายทอดองค์ความรู้
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        1. เกษตรกรนำน้ำหมักที่ได้ไปทดสอบกับพืชผัก
        2. นักศึกษา อาจารย์ ร่วมกันประเมิน
        3. เกษตรกรและอาจารย์ร่วมกันปรับปรุง
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        1 พ.ค. 2563 ถึง
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        นักศึกษา อาจารย์ เกษตรกร ได้น้ำหมักที่เหมาะสม พร้อมทั้งวิธีใช้
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน 4,000 5 60,000
        ค่าตอบแทนการประสานงาน 3 คน 500 5 7,500
        ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 1,000 5 5,000
        ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 1,000 5 5,000
        ค่าตอบแทนวิทยากร 100 คน 100 5 50,000
        ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม 50 คน 500 1 25,000
        รวมค่าใช้จ่าย 152,500

        กิจกรรมที่ 4 สร้างแหล่งเรียนรู้ในชุมชนในการลดการใช้สารเคมี

        ชื่อกิจกรรม
        สร้างแหล่งเรียนรู้ในชุมชนในการลดการใช้สารเคมี
        วัตถุประสงค์
          รายละเอียดกิจกรรม
          1. ทำสื่อด้านสารเคมี และความปลอดภัย
          2. วิธีการทำน้ำหมักที่มีฮอร์โมนพืช
          3. จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ในแต่ละหมู่บ้าน
          ระยะเวลาดำเนินงาน
          1 กรกฎาคม 2563 ถึง
          ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
          1. ชาวบ้านร่วมกันจัดตั้งแหล่งเรียนรู้
          2. นักศึกษา อาจารย์ จัดทำเอกสาร แหละวิดีทัศให้กับชาวบ้าน
          ทรัพยากรอื่น ๆ
          ภาคีร่วมสนับสนุน
          รายละเอียดงบประมาณ
          ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
          ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน 4,000 1 12,000
          ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ

          ค่าจ้างในการจัดทำเอกสารเผยแพร่ และวิดีโอ

          1 คน 10,000 1 10,000
          ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 1 เที่ยว 1,000 5 5,000
          รวมค่าใช้จ่าย 27,000

          รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 422,000.00 บาท

          ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
          ค่าใช้จ่าย (บาท) 240,500.00 157,000.00 24,500.00 422,000.00
          เปอร์เซ็นต์ (%) 56.99% 37.20% 5.81% 100.00%

          11. งบประมาณ

          422,000.00บาท

          12. การติดตามประเมินผล

          ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
          ผลผลิต (Output) ชุมชนได้จำนวนผลผลิตตามความต้องการของตลาด ได้องค์ความรู้จากการเข้าร่วมโครงการ
          ผลลัพธ์ (Outcome) ชุมชนสามารถใช้น้ำหมักเพิ่มศักยภาพการผลิต และมีรายได้เพิ่มขึ้น นักศึกษานำองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชุมชนของตนเอง และสามารถแก้ปัญหาได้
          ผลกระทบ (Impact) ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ เป็นวิชาเรียนในห้องเรียน นับหน่วยกิตได้
          นำเข้าสู่ระบบโดย piromsuwannasom piromsuwannasom เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 20:20 น.