การยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม

แบบเสนอโครงการ
การยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม

1. ชื่อโครงการ

การยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วมกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาน่านคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร 1) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาน่าน 2) วิทยาลัยเทคนิคลําพูน 3) คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฎกำแพงเพชร 4) ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรม ภาคที่ 1 กรมส่งส่งเสริมอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงใหม่ชุมชนบ้านเชียงราย ตำบลดู่ใต้ อำเภอภูเพียง จังหวัดน่านอาจารย์จิตราปั้นรูปมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาน่าน เลขที่ 59 หมู่ที่ 13 ต.ฝายแก้ว อ. ภูเพียง จ.น่านโทรศัพท์ (ที่ทำงาน) : 054-710259 ต่อ 1150 มือถือ 084-9093490 E – Mail : nayty_2521@hotmail.com1) อาจารย์ ดร.เอกชัย ดวงใจ (คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร)
2) อาจารย์ ดร.นงนุช เกตุ้ย(คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร)
3) อาจารย์ ดร.ฐาณิญา อิสสระ (คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์)
4) อาจารย์ณัฐวุฒิ ปั้นรูป (คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์)
5) อาจารย์วรรณิดาชินบุตร (คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์)
ุ6) อาจารย์วิรัน วิสุทธิธาดา (คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร)
ุ7) อาจารย์เจนจิรา ลานแก้ว (คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
8) อาจารย์จิระประสพธรรม (คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฎกำแพงเพชร)
9) อาจารย์สมนึก มังกะระ (วิทยาลัยเทคนิคลำพูน)
10) คุณประสิทธิ์อ่อนคง (ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรม ภาคที่ 1 กรมส่งส่งเสริมอุตสาหกรรม)
11) นางสาวประทุมพร ขันทะสอน (นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ สาขาการตลาด)
12) นางสาวประภาพรรณ อำมลา (นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ สาขาการตลาด)
13) นายฐาปนา พรมเมืองดี (นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ สาขาการตลาด)
14) นางสาวจารุภา แซ่ท้าว (นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร สาขาชีวเคมีทางการเกษตร)
15) นางสาวศรีสุดา จิรนันทนุกุล (นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร สาขาชีวเคมีทางการเกษตร)
16) นางสาวดณีรัตน์นันดี (นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร สาขาชีวเคมีทางการเกษตร)
17) นายณัฐพงษ์อิ่นคำ (นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีชีวภาพพื้นฐานทางการเกษตร)

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
น่าน เมืองน่าน ดู่ใต้

3. รายละเอียดชุมชน

ชุมชนบ้านเชียงราย ตั้งอยู่หมู่ 2 ตำบลดู่ใต้ อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน กำเนิดมาจากบ้านดู่ อยู่ทางคอนใต้ของอำเภอเมืองน่าน เริ่มจัดตั้งเป็นตำบลครั้งแรกในปลายรัชกาลที่ 5 ต่อมาในปี 2447ได้เปลี่ยนชื่อเป็นตำบลดู่ใต้ ปัจจุบันมีจำนวนบ้านมากกว่า 200 ครัวเรือน โดยชุมชนบ้านดู่ใต้ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมและเพื่อรองรับภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปจึงได้ทำการรวมตัวกันของสมาชิกในชุมชนมีการผลิตและจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของชุมชน ได้แก่ ผ้าพื้นเมืองของจังหวัดน่าน ในนามกลุ่มส่งเสริมอาชีพบ้านเชียงราย เริ่มก่อตั้งเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2556 ณ วัดบ้านเชียงราย ตำบลดู่ใต้ อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน โดยมีวัตถุประสงค์เริ่มแรกสำหรับการผลิตผ้าเพื่อจำหน่ายให้แก่สมาชิกชุมชนด้วยกันเอง แต่จากการส่งเสริมการสวมใส่ผ้าทอมือของส่วนราชการในพื้นที่จังหวัดน่าน ส่งผลให้มีความต้องการการสวมใส่ผ้าทอมือเพิ่มขึ้นมากมายอย่างต่อเนื่อง จากความต้องการดังกล่าวส่งผลให้ทางกลุ่มมีความจำเป็นต้องหาสถานที่เพื่อรองรับการขยายปริมาณการผลิตให้ทันต่อความต้องการของลูกค้า เป็นผลให้ปัจจุบันทางกลุ่มผ้าทอมือได้ย้ายสถานดำเนินการมายังใต้อาคารสองชั้น ชื่อว่า อาคารเฉลิมพระเกียรติ 61 พรรษา สมเด็จพระเทพฯ ณ บ้านเชียงราย ตำบลดู่ใต้ จังหวัดน่าน เช่นเดียวกับรูปแบบการบริหารจัดการกลุ่ม พบว่า ปัจจุบันทางวิสาหกิจชุมชนผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายทอมือ กลุ่มส่งเสริมอาชีพบ้านเชียงราย มีโครงสร้างการบริหารงาน มีสถานที่จัดจำหน่ายที่ชัดเจนในระดับหนึ่ง คือ ร้านภูฟ้าพัฒนาส่วนกลาง กรุงเทพฯ และโรงแรม รีสอร์ทในพื้นที่จังหวัดน่าน โดยประมาณการยอดจำหน่ายต่อเดือน พบว่า ไม่น้อยกว่า 20,000 บาทต่อเดือนการทอผ้าด้วยมือที่เป็นเอกลักษณ์1) เทคโนโลยีเครื่องกรอด้าย สำหรับการเตรียมด้ายในกระบวนการผลิตเพื่อการพึ่งพาตนเองและลดระยะเวลาการผลิต
2) โครงสร้างและลวดลายบนเนื้อผ้าทอ ในการเพิ่มมูลค่าทางการตลาดผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม
3) ต้นแบบบรรจุภัณฑ์ ตราสินค้า ป้ายฉลากร่วมสมัย ในการสร้างความมั่นใจในคุณภาพและคุณสมบัติผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม
4) สื่อทางการตลาดร่วมสมัย ในการสร้างการรับรู้และเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม
5) คุณสมบัติพิเศษในการเก็บรักษากลิ่นและเพิ่มความคงตัวของกลิ่นได้นานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการสร้างความแตกต่างทางการตลาดผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม
6) สีธรรมชาติและกระบวนการย้อมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในการขยายโอกาสทางการตลาดสู่ผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม
7) ให้นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน ได้เข้าไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาวิเคราะห์และประมวลผลปัญหาของชุมชน และให้ความช่วยเหลือ ในการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนแบบมีส่วนร่วม รวมถึงเป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือที่ดีระหว่างชุมชนท้องถิ่นและมหาวิทยาลัย
8) ให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถและมีทักษะในเชิงวิชาการและการปฏิบัติในการยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม ตั้งแต่ต้นทาง คือ กระบวนการผลิตวัตถุดิบ กลางทาง คือ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ และปลายน้ำ คือ ช่องทางการตลาด ให้กับชุมชน
9) ให้นักศึกษาและคณาจารย์ได้บูรณาการการเรียนการสอน และถ่ายทอดองค์ความรู้ร่วมกับชุมชน ในการยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม สำหรับการพึ่งพาตัวเองและจัดการตัวเองได้
การผลิตผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การพัฒนาองค์ความรู้ทางธุรกิจ รวมถึงองค์ความรู้ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมาประยุกต์ใช้ในการวางแผนและแก้ไขปัญหา ประกอบด้วย
1) เทคโนโลยีเครื่องกรอด้าย
2) โครงสร้างและลวดลายบนเนื้อผ้าทอ
3) ต้นแบบบรรจุภัณฑ์ ตราสินค้า ป้ายฉลากร่วมสมัย
4) สื่อทางการตลาดร่วมสมัย
5) คุณสมบัติพิเศษในการเก็บรักษากลิ่นและเพิ่มความคงตัวของกลิ่นได้นานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
6) สีธรรมชาติและกระบวนการย้อมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ทั้งนี้รายละเอียดองค์ความรู้หรือนวัตกรรมจากความหลากหลายสาขาวิชา ที่สามารถนำไปใช้หรือประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาและความต้องการของชุมชน
1) เทคโนโลยีเครื่องกรอด้าย สำหรับการเตรียมด้ายในกระบวนการผลิตเพื่อการพึ่งพาตนเองและลดระยะเวลาการผลิต
2) โครงสร้างและลวดลายบนเนื้อผ้าทอ ในการเพิ่มมูลค่าทางการตลาดผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม
3) ต้นแบบบรรจุภัณฑ์ ตราสินค้า ป้ายฉลากร่วมสมัย ในการสร้างความมั่นใจในคุณภาพ และคุณสมบัติผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม
4) สื่อทางการตลาดร่วมสมัย ในการสร้างการรับรู้และเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม
5) คุณสมบัติพิเศษในการเก็บรักษากลิ่นและเพิ่มความคงตัวของกลิ่นได้นานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการสร้างความแตกต่างทางการตลาดผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม
6) สีธรรมชาติและกระบวนการย้อมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในการขยายโอกาสทางการตลาดสู่ผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม
7) ให้นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน ได้เข้าไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาวิเคราะห์และประมวลผลปัญหาของชุมชน และให้ความช่วยเหลือ ในการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนแบบมีส่วนร่วม รวมถึงเป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือที่ดีระหว่างชุมชนท้องถิ่นและมหาวิทยาลัย
8) ให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถและมีทักษะในเชิงวิชาการและการปฏิบัติในการยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม ตั้งแต่ต้นทาง คือ กระบวนการผลิตวัตถุดิบ กลางทาง คือ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ และปลายน้ำ คือ ช่องทางการตลาด ให้กับชุมชน
9) ให้นักศึกษาและคณาจารย์ได้บูรณาการการเรียนการสอน และถ่ายทอดองค์ความรู้ร่วมกับชุมชน ในการยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม สำหรับการพึ่งพาตัวเองและจัดการตัวเองได้เป็นการแบ่งปันองค์ความรู้ทางธุรกิจ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ เพื่อให้ชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืน ด้วยการร่วมเรียน ร่วมรู้ และร่วมทำ

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1) เพื่อยกระดับเทคโนโลยีเครื่องกรอด้าย สำหรับการเตรียมด้ายในกระบวนการผลิตเพื่อการพึ่งพาตนเองและลดระยะเวลาการผลิต ผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม

1) องค์ความรู้และเทคโนโลยีเครื่องกรอด้าย สำหรับการเตรียมด้ายในกระบวนการผลิตเพื่อการพึ่งพาตนเองและลดระยะเวลาการผลิต ผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม จำนวน 1 ชิ้นงาน

1.00 1.00
2 2) เพื่อยกระดับโครงสร้างและลวดลายบนเนื้อผ้าทอ ในการเพิ่มมูลค่าทางการตลาดผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม

2) องค์ความรู้และเกิดการปรับปรุงโครงสร้างและลวดลายบนเนื้อผ้าทอเพื่อเพิ่มมูลค่าทางการตลาดผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม จำนวน 1 ชิ้นงาน

1.00 1.00
3 3) เพื่อยกระดับบรรจุภัณฑ์ ตราสินค้า ป้ายฉลากร่วมสมัย ในการสร้างความมั่นใจในคุณภาพ และคุณสมบัติผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม

3) องค์ความรู้และต้นแบบบรรจุภัณฑ์ ตราสินค้า ป้ายฉลากร่วมสมัย เพื่อสร้างความมั่นใจ ในคุณภาพและคุณสมบัติผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม จำนวน 1 ชิ้นงาน

1.00 1.00
4 4) เพื่อยกระดับสื่อทางการตลาดร่วมสมัย ในการสร้างการรับรู้และเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม

4) องค์ความรู้และต้นแบบสื่อทางการตลาดร่วมสมัย เพื่อสร้างการรับรู้และเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม จำนวน 1 ชิ้นงาน

1.00 1.00
5 5) เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านให้มีคุณสมบัติพิเศษในการเก็บรักษากลิ่นและเพิ่มความคงตัวของกลิ่นได้นานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในการสร้างความแตกต่างทางการตลาดสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม

5.1) ได้เทคนิค/วิธีการร่วมสมัยสำหรับเก็บรักษากลิ่นแก่เส้นด้ายผ้าเพื่อผลิตเนื้อผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม จำนวน 1 เทคนิค/วิธีการ

5.2) ได้ต้นแบบเนื้อผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านที่มีกลิ่นเฉพาะตัว จำนวน 2 ต้นแบบ

1.00 1.00
6 6) เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยสีธรรมชาติและกระบวนการย้อมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในการขยายโอกาสทางการตลาดสู่มาตรฐานสินค้า ระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม

6.1) ได้เทคนิค/วิธีการร่วมสมัยสำหรับการย้อมสีธรรมชาติกับเส้นด้ายผ้าเพื่อผลิตเนื้อผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม จำนวน 1 เทคนิค/วิธีการ
6.2)ได้เส้นด้ายผ้าต้นแบบซึ่งผ่านกระบวนการย้อมจากสีธรรมชาติ จำนวน 2 ต้นแบบ

1.00 1.00
7 7) เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน ได้เข้าไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาวิเคราะห์และประมวลผลปัญหาของชุมชน และให้ความช่วยเหลือ ในการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนแบบมีส่วนร่วม รวมถึงเป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือที่ดีระหว่างชุมชนท้องถิ่นและมหาวิทยาลัย

7) นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน จำนวน 7 คน จาก 4 สาขา ได้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาวิเคราะห์และประมวลผลปัญหาของชุมชน และให้ความช่วยเหลือ ในการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนแบบมีส่วนร่วม รวมถึงเป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือที่ดีระหว่างชุมชนท้องถิ่นและมหาวิทยาลัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

80.00 80.00
8 8) เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถและมีทักษะในเชิงวิชาการและการปฏิบัติในการยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตั้งแต่ต้นทาง คือ กระบวนการผลิตวัตถุดิบ กลางทาง คือ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ และปลายน้ำ คือ ช่องทางการตลาด ให้กับชุมชน ในการยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตั้งแต่ต้นทาง คือ กระบวนการผลิตวัตถุดิบ กลางทาง คือ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ และปลายน้ำ คือ ช่องทางการตลาด ให้กับชุมชน

8) นักศึกษามีความรู้ความสามารถและมีทักษะในเชิงวิชาการและการปฏิบัติ จำนวน 7 คน จาก 4 สาขา ในการยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตั้งแต่ต้นทาง คือ กระบวนการผลิตวัตถุดิบ กลางทาง คือ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ และปลายน้ำ คือ ช่องทางการตลาด ให้กับชุมชน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

80.00 80.00
9 9) เพื่อส่งเสริมการบูรณาการ การเรียนการสอน และถ่ายทอดองค์ความรู้ร่วมกับชุมชน ในการยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม สำหรับการพึ่งพาตัวเองและจัดการตัวเองได้

9) นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน จำนวน 7คน จาก 4 สาขา เข้าร่วมเป็นผู้ช่วยวิทยากร ในการถ่ายทอดองค์ความรู้ร่วมกับชุมชนในการยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม สำหรับการพึ่งพาตัวเองและจัดการตัวเองได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 8

80.00 80.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
คณะทำงาน 7
ชุมชนบ้านเชียงราย 50
ชุมชนบ้านเชียงรายอาจารย์ที่ปรึกษา 33
นักศึกษา 17

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 1. วางแผนการดำเนินการ (P)

ชื่อกิจกรรม
1. วางแผนการดำเนินการ (P)
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    -เขียนแบบเสนอโครงการบริการวิชาการ
    -ประชุมผู้รับผิดชอบโครงการ
    -นำข้อสรุปผลการประชุมเพื่อเสนอต่อที่ประชุมทีมงาน ที่ปรึกษา และคณะกรรมการ เพื่อร่วมและรับข้อเสนอแนะในด้านต่างๆ
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    31 ตุลาคม 2562 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    -มีโครงการและมีคณะ ทำงาน/มีผู้รับผิดชอบงานแต่ละด้านชัดเจน
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    รวมค่าใช้จ่าย 0

    กิจกรรมที่ 2 การอบรมเชิงปฏิบัติ_การยกระดับเทคโนโลยีเครื่องกรอด้าย สำหรับเตรียมด้ายในกระบวนการผลิต และการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยกลยุทธ์การตลาดสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม

    ชื่อกิจกรรม
    การอบรมเชิงปฏิบัติ_การยกระดับเทคโนโลยีเครื่องกรอด้าย สำหรับเตรียมด้ายในกระบวนการผลิต และการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยกลยุทธ์การตลาดสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม
    วัตถุประสงค์
    1. 1) เพื่อยกระดับเทคโนโลยีเครื่องกรอด้าย สำหรับการเตรียมด้ายในกระบวนการผลิตเพื่อการพึ่งพาตนเองและลดระยะเวลาการผลิต ผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม
    2. 2) เพื่อยกระดับโครงสร้างและลวดลายบนเนื้อผ้าทอ ในการเพิ่มมูลค่าทางการตลาดผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม
    3. 3) เพื่อยกระดับบรรจุภัณฑ์ ตราสินค้า ป้ายฉลากร่วมสมัย ในการสร้างความมั่นใจในคุณภาพ และคุณสมบัติผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม
    4. 4) เพื่อยกระดับสื่อทางการตลาดร่วมสมัย ในการสร้างการรับรู้และเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม
    5. 7) เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน ได้เข้าไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาวิเคราะห์และประมวลผลปัญหาของชุมชน และให้ความช่วยเหลือ ในการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนแบบมีส่วนร่วม รวมถึงเป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือที่ดีระหว่างชุมชนท้องถิ่นและมหาวิทยาลัย
    6. 8) เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถและมีทักษะในเชิงวิชาการและการปฏิบัติในการยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตั้งแต่ต้นทาง คือ กระบวนการผลิตวัตถุดิบ กลางทาง คือ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ และปลายน้ำ คือ ช่องทางการตลาด ให้กับชุมชน ในการยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตั้งแต่ต้นทาง คือ กระบวนการผลิตวัตถุดิบ กลางทาง คือ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ และปลายน้ำ คือ ช่องทางการตลาด ให้กับชุมชน
    7. 9) เพื่อส่งเสริมการบูรณาการ การเรียนการสอน และถ่ายทอดองค์ความรู้ร่วมกับชุมชน ในการยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม สำหรับการพึ่งพาตัวเองและจัดการตัวเองได้
    รายละเอียดกิจกรรม
    -สำรวจความพร้อมด้านทรัพยากรที่เกี่ยวข้องของชุมชนกลุ่มเป้าหมาย
    -จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
    -ดำเนินการจัดชื้อวัสดุและอุปกรณ์ในโครงการ
    -จัดเวทีชุมชน เข้าพบผู้นำชุมชน ชี้แจ้งวัตถุประสงค์ วางแผนร่วมกัน กระจายงานให้ชัดเจน

    กิจกรรมย่อยที่ 1 : การยกระดับเทคโนโลยีเครื่องกรอด้าย สำหรับการเตรียมด้ายในกระบวนการผลิตเพื่อการพึ่งพาตนเองและลดระยะเวลาการผลิตผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือ

    กิจกรรมย่อยที่ 2 : การยกระดับโครงสร้างและลวดลายบนเนื้อผ้าทอเพื่อเพิ่มมูลค่าทางการตลาดผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม

    กิจกรรมย่อยที่ 3 : การยกระดับบรรจุภัณฑ์ ตราสินค้า ป้ายฉลากร่วมสมัย เพื่อสร้างความมั่นใจในคุณภาพและคุณสมบัติผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม

    กิจกรรมย่อยที่ 4: การยกระดับสื่อทางการตลาดร่วมสมัย เพื่อสร้างการรับรู้และเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 มกราคม 2563 ถึง 31 กรกฎาคม 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ผลผลิต (Output) :
    1) องค์ความรู้และเทคโนโลยีเครื่องกรอด้าย สำหรับการเตรียมด้ายในกระบวนการผลิตเพื่อการพึ่งพาตนเองและลดระยะเวลาการผลิต ผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม จำนวน 1 ชิ้นงาน
    2) องค์ความรู้และเกิดการปรับปรุงโครงสร้างและลวดลายบนเนื้อผ้าทอเพื่อเพิ่มมูลค่าทางการตลาดผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม จำนวน 1 ชิ้นงาน
    3) องค์ความรู้และต้นแบบบรรจุภัณฑ์ ตราสินค้า ป้ายฉลากร่วมสมัย เพื่อสร้างความมั่นใจในคุณภาพและคุณสมบัติผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม จำนวน 1 ชิ้นงาน
    4) องค์ความรู้และต้นแบบสื่อทางการตลาดร่วมสมัย เพื่อสร้างการรับรู้และเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วมจำนวน 1 ชิ้นงาน
    5) นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน จำนวน 7 คน จาก 4 สาขาได้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาวิเคราะห์และประมวลผลปัญหาของชุมชน และให้ความช่วยเหลือ ในการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนแบบมีส่วนร่วม รวมถึงเป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือที่ดีระหว่างชุมชนท้องถิ่นและมหาวิทยาลัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
    6) นักศึกษามีความรู้ความสามารถและมีทักษะในเชิงวิชาการและการปฏิบัติ จำนวน 7 คน จาก 4 สาขาในการยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตั้งแต่ต้นทาง คือ กระบวนการผลิตวัตถุดิบ กลางทาง คือ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ และปลายน้ำ คือ ช่องทางการตลาด ให้กับชุมชน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
    7) นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน จำนวน 7 คน จาก 4 สาขาเข้าร่วมเป็นผู้ช่วยวิทยากร ในการถ่ายทอดองค์ความรู้ร่วมกับชุมชนในการยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม สำหรับการพึ่งพาตัวเองและจัดการตัวเองได้

    ผลลัพธ์ (Outcome) :
    1) กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและสามารถใช้เครื่องกรอด้าย เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมประสิทธิภาพห่วงโซ่การผลิตผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยมได้
    2) กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและสามารถปรับปรุงโครงสร้างและลวดลายบนเนื้อผ้า ส่งผลให้อนาคตเกิดความหลากหลายในด้านลวดลายร่วมสมัยบนเนื้อผ้า ร่วมทั้งมีการพัฒนาและยกคุณภาพร่วมสมัยของผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านได้
    3) กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและสามารถพัฒนาต้นแบบบรรจุภัณฑ์ต้นแบบตราสินค้า ต้นแบบแผ่นป้ายฉลากร่วมสมัยของผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านได้
    4) กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและสามารถจำหน่ายสินค้าผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านระดับพรีเมี่ยมผ่านช่องทางการจัดจำหน่ายด้วยสื่อทางการตลาดได้
    5) นักศึกษาได้เรียนรู้และเข้าใจถึงสภาพปัญหาชีวิตของชุมชนกลุ่มเป้าหมายโดยที่นักศึกษาได้มี การร่วมกันระดมความคิดและนำเอาความรู้ที่ได้รับจากชั้นเรียนมาแก้ไขปัญหาชุมชนได้อย่างตรงจุด
    6) นักศึกษาสามารถนำเอาประสบการณ์จากการการปฏิบัติงานจริงมาต่อยอดและปรับใช้กับชุมชนบ้านเกิดของนักศึกษาเองได
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร 1 ครั้ง 3,600 14 50,400
    ค่าตอบแทนการประสานงาน 7 คน 150 120 126,000
    ค่าที่พักตามจริง 1 คน 32,000 1 32,000
    ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ 1 ครั้ง 8,000 1 8,000
    ค่าอาหาร 50 คน 130 12 78,000
    ค่าถ่ายเอกสาร

    -ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการประชุมและอบรม (50 ชุด* 50 บาท = 2,500 บาท)

    50 ชุด 50 1 2,500
    ค่าถ่ายเอกสาร

    -ค่าจ้างเหมาจัดทำรายงานพร้อมไฟล์เอกสาร (6 เล่ม* 500 บาท = 3,000

    6 ชุด 500 1 3,000
    ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

    -ค่าจ้างเหมาออกแบบและจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ (3 ผืน* 1,000 บาท=3,000)

    3 ชุด 1,000 1 3,000
    ค่าวัสดุสำนักงาน

    - ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์เลเซอร์ แผ่นบักทึกข้อมูล ฯ (15,100) - ค่าวัสดุไฟฟ้า และค่าวัสดุสำนักงาน เช่น ปลั๊กไฟ ซองพลาสติกขยายข้าง ปากา กระดาษ ฯลฯ (15,000)

    1 ชุด 30,100 1 30,100
    อื่น ๆ

    - ค่าจ้างเหมาจัดทำสื่อทางการตลาด (25,000)

    1 ครั้ง 25,000 1 25,000
    อื่น ๆ

    - ค่าจ้างเหมาจัดทำบรรจุภัณฑ์ ตราสินค้า และป้ายฉลาก (35,000)

    1 ครั้ง 35,000 1 35,000
    อื่น ๆ

    - ค่าจ้างเหมาผลิตชิ้นส่วนเครื่องกรอด้ายเส้นด้าย (20,000)

    1 ชิ้น 20,000 1 20,000
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    - ค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมในการทดสอบตลาด โดยการนำผลิตภัณฑ์ของทางกลุ่มผ้าทอมือไปจำหน่ายที่ผู้เสนอโครงการกำหนด (5,000)

    1 ครั้ง 5,000 1 5,000
    รวมค่าใช้จ่าย 418,000

    กิจกรรมที่ 3 การอบรมเชิงปฏิบัติ_การยกระดับผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านให้มีคุณสมบัติพิเศษในการเก็บรักษากลิ่นและเพิ่มความคงตัวของกลิ่นได้นานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อสร้างความแตกต่างทางการตลาดสู่มาตรฐานสินค้า โดยชุมชนมีส่วนรวม

    ชื่อกิจกรรม
    การอบรมเชิงปฏิบัติ_การยกระดับผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านให้มีคุณสมบัติพิเศษในการเก็บรักษากลิ่นและเพิ่มความคงตัวของกลิ่นได้นานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อสร้างความแตกต่างทางการตลาดสู่มาตรฐานสินค้า โดยชุมชนมีส่วนรวม
    วัตถุประสงค์
    1. 5) เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านให้มีคุณสมบัติพิเศษในการเก็บรักษากลิ่นและเพิ่มความคงตัวของกลิ่นได้นานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในการสร้างความแตกต่างทางการตลาดสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม
    2. 7) เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน ได้เข้าไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาวิเคราะห์และประมวลผลปัญหาของชุมชน และให้ความช่วยเหลือ ในการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนแบบมีส่วนร่วม รวมถึงเป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือที่ดีระหว่างชุมชนท้องถิ่นและมหาวิทยาลัย
    3. 8) เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถและมีทักษะในเชิงวิชาการและการปฏิบัติในการยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตั้งแต่ต้นทาง คือ กระบวนการผลิตวัตถุดิบ กลางทาง คือ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ และปลายน้ำ คือ ช่องทางการตลาด ให้กับชุมชน ในการยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตั้งแต่ต้นทาง คือ กระบวนการผลิตวัตถุดิบ กลางทาง คือ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ และปลายน้ำ คือ ช่องทางการตลาด ให้กับชุมชน
    4. 9) เพื่อส่งเสริมการบูรณาการ การเรียนการสอน และถ่ายทอดองค์ความรู้ร่วมกับชุมชน ในการยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม สำหรับการพึ่งพาตัวเองและจัดการตัวเองได้
    รายละเอียดกิจกรรม
    กิจกรรมย่อยที่ 5 การยกระดับการนำคุณสมบัติพิเศษในการเก็บรักษากลิ่นที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้ในอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือ

    กิจกรรมย่อยที่ 6 การยกระดับการเพิ่มความคงตัวของกลิ่นมาใช้จริงในผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือให้มีกลิ่นหอมคงตัวติดเส้นใยได้นานด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 มกราคม 2563 ถึง 31 กรกฎาคม 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ผลผลิต (Output) :
    1) กลุ่มเป้าหมายได้องค์ความรู้และเทคนิคผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านให้มีคุณสมบัติพิเศษในการเก็บรักษากลิ่นที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม จำนวน 1 เทคนิค และได้เนื้อผ้าทอต้นแบบซึ่งผ่านกระบวนการเก็บรักษากลิ่นจำนวน 2 ต้นแบบ
    2) นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน ได้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาวิเคราะห์และประมวลผลปัญหาของชุมชน และให้ความช่วยเหลือ ในการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนแบบมีส่วนร่วม รวมถึงเป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือที่ดีระหว่างชุมชนท้องถิ่นและมหาวิทยาลัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
    3) นักศึกษามีความรู้ความสามารถและมีทักษะในเชิงวิชาการและการปฏิบัติ ในการยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตั้งแต่ต้นทาง คือ กระบวนการผลิตวัตถุดิบ กลางทาง คือ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ และปลายน้ำ คือ ช่องทางการตลาด ให้กับชุมชน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
    4) นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่านเข้าร่วมเป็นผู้ช่วยวิทยากร ในการถ่ายทอดองค์ความรู้ร่วมกับชุมชนในการยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม สำหรับการพึ่งพาตัวเองและจัดการตัวเองได้

    ผลลัพธ์ (Outcome) :
    1) กลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการฝึกอบรมสามารถนำองค์ความรู้ ไปใช้พัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือให้มีกลิ่นหอมธรรมชาติที่มีคุณสมบัติติดทดนาน
    2) นักศึกษาได้เรียนรู้และเข้าใจถึงสภาพปัญหาชีวิตของชุมชนกลุ่มเป้าหมายโดยที่นักศึกษาได้มี การร่วมกันระดมความคิดและนำเอาความรู้ที่ได้รับจากชั้นเรียนมาแก้ไขปัญหาชุมชนได้อย่างตรงจุด
    3) นักศึกษาสามารถนำเอาประสบการณ์จากการการปฏิบัติงานจริงมาต่อยอดและปรับใช้กับชุมชนบ้านเกิดของนักศึกษาเองได้
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน 300 6 1,800
    ค่าอาหาร 50 คน 130 1 6,500
    ค่าถ่ายเอกสาร 50 คน 30 1 1,500
    ค่าเช่ารถ 1 คน 1,800 1 1,800
    ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ 1 เที่ยว 2,000 1 2,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 1 คน 27,400 1 27,400
    รวมค่าใช้จ่าย 41,000

    กิจกรรมที่ 4 4. การดำเนินการจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติ_การยกระดับผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยสีธรรมชาติและกระบวนการย้อมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อขยายโอกาสทางการตลาดสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม (D)

    ชื่อกิจกรรม
    4. การดำเนินการจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติ_การยกระดับผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยสีธรรมชาติและกระบวนการย้อมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อขยายโอกาสทางการตลาดสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม (D)
    วัตถุประสงค์
    1. 6) เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยสีธรรมชาติและกระบวนการย้อมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในการขยายโอกาสทางการตลาดสู่มาตรฐานสินค้า ระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม
    2. 7) เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน ได้เข้าไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาวิเคราะห์และประมวลผลปัญหาของชุมชน และให้ความช่วยเหลือ ในการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนแบบมีส่วนร่วม รวมถึงเป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือที่ดีระหว่างชุมชนท้องถิ่นและมหาวิทยาลัย
    3. 8) เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถและมีทักษะในเชิงวิชาการและการปฏิบัติในการยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตั้งแต่ต้นทาง คือ กระบวนการผลิตวัตถุดิบ กลางทาง คือ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ และปลายน้ำ คือ ช่องทางการตลาด ให้กับชุมชน ในการยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตั้งแต่ต้นทาง คือ กระบวนการผลิตวัตถุดิบ กลางทาง คือ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ และปลายน้ำ คือ ช่องทางการตลาด ให้กับชุมชน
    4. 9) เพื่อส่งเสริมการบูรณาการ การเรียนการสอน และถ่ายทอดองค์ความรู้ร่วมกับชุมชน ในการยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม สำหรับการพึ่งพาตัวเองและจัดการตัวเองได้
    รายละเอียดกิจกรรม
    กิจกรรมย่อยที่ 7 : การยกระดับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือการย้อมสีธรรมชาติที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

    กิจกรรมย่อยที่ 8 : การยกระดับกระบวนการย้อมให้ได้คุณภาพเพื่อขยายโอกาสทางการตลาดด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 มกราคม 2563 ถึง 31 กรกฎาคม 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ผลผลิต (Output) :
    1) กลุ่มเป้าหมายมีได้องค์ความรู้ เทคนิค และแนวทางผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยสีธรรมชาติและกระบวนการย้อมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม จำนวน 1 เทคนิค และได้เส้นด้ายผ้าต้นแบบซึ่งผ่านกระบวนการย้อมจากสีธรรมชาติ จำนวน 2 ต้นแบบ
    2) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาวิเคราะห์และประมวลผลปัญหาของชุมชน และให้ความช่วยเหลือ ในการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนแบบมีส่วนร่วม รวมถึงเป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือที่ดีระหว่างชุมชนท้องถิ่นและมหาวิทยาลัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
    3) นักศึกษามีความรู้ความสามารถและมีทักษะในเชิงวิชาการและการปฏิบัติ ในการยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตั้งแต่ต้นทาง คือ กระบวนการผลิตวัตถุดิบ กลางทาง คือ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ และปลายน้ำ คือ ช่องทางการตลาด ให้กับชุมชน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
    4) นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน เข้าร่วมเป็นผู้ช่วยวิทยากร ในการถ่ายทอดองค์ความรู้ร่วมกับชุมชน ในการยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม สำหรับการพึ่งพาตัวเองและจัดการตัวเองได้

    ผลลัพธ์ (Outcome) :
    1) กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการสามารถนำองค์ความรู้ ไปใช้พัฒนารูปแบบโทนสีผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือจากสีย้อมธรรมชาติ ได้อย่างถูกต้องสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ตลอดชีพ (Life Long Learning) เพื่อพัฒนาและยกระดับอาชีพหลักและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับชุมชนอย่างยั่งยืน
    2) นักศึกษาได้เรียนรู้และเข้าใจถึงสภาพปัญหาชีวิตของชุมชนกลุ่มเป้าหมาย โดยที่นักศึกษาได้มี การร่วมกันระดมความคิดและนำเอาความรู้ที่ได้รับจากชั้นเรียนมาแก้ไขปัญหาชุมชนได้อย่างตรงจุด
    3) นักศึกษาสามารถนำเอาประสบการณ์จากการการปฏิบัติงานจริงมาต่อยอดและปรับใช้กับชุมชนบ้านเกิดของนักศึกษาเองได้
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน 300 12 3,600
    ค่าอาหาร 50 คน 130 2 13,000
    ค่าถ่ายเอกสาร 50 คน 30 1 1,500
    ค่าเช่ารถ 1 คน 1,800 2 3,600
    ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ 1 เที่ยว 2,000 1 2,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 1 ชุด 17,300 1 17,300
    รวมค่าใช้จ่าย 41,000

    กิจกรรมที่ 5 5. การติดตามประเมินผล (C)

    ชื่อกิจกรรม
    5. การติดตามประเมินผล (C)
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      - ติดตามและประเมินผลการจัดทำโครงการจากแบบประเมินผล และวิเคราะห์ผลโครงการ
      - จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงาน
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      - เป็นการตรวจสอบผลการดำเนินงาน แล้วเสร็จตามแผนงานหรือไม่ คิดเป็นร้อยละเท่าใด
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      รวมค่าใช้จ่าย 0

      กิจกรรมที่ 6 6. การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผลการติดตาม (A)

      ชื่อกิจกรรม
      6. การปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผลการติดตาม (A)
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        - ประชุมกรรมการดำเนินงานเพื่อนำผลการประเมินไปปรับปรุงแก้ไขและรายงานให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        1 มิถุนายน 2563 ถึง
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        1. ได้ข้อมูล ปัญหา และอุปสรรค์ ของชุมชน เพื่อนำมาพิจารณาวิธีแก้ปัญหาที่ตอบโจทย์ชุมชน
        2. ได้นำเสนอ และเผยแพร่ผลงาน
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        รวมค่าใช้จ่าย 0

        รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

        ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
        ค่าใช้จ่าย (บาท) 186,800.00 3,000.00 155,400.00 74,800.00 80,000.00 500,000.00
        เปอร์เซ็นต์ (%) 37.36% 0.60% 31.08% 14.96% 16.00% 100.00%

        11. งบประมาณ

        500,000.00บาท

        12. การติดตามประเมินผล

        ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
        ผลผลิต (Output) 1) ได้องค์ความรู้และเทคโนโลยีเครื่องกรอด้าย สำหรับการเตรียมด้ายในกระบวนการผลิตเพื่อการพึ่งพาตนเองและลดระยะเวลาการผลิต ผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม จำนวน 1 ชิ้นงาน
        2) ได้องค์ความรู้และเกิดการปรับปรุงโครงสร้างและลวดลายบนเนื้อผ้าทอเพื่อเพิ่มมูลค่าทางการตลาดผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม จำนวน 1 ชิ้นงาน
        3) ได้องค์ความรู้และต้นแบบบรรจุภัณฑ์ ตราสินค้า ป้ายฉลากร่วมสมัย เพื่อสร้างความมั่นใจในคุณภาพและคุณสมบัติผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม จำนวน 1 ชิ้นงาน
        4) ได้องค์ความรู้และต้นแบบสื่อทางการตลาดร่วมสมัย เพื่อสร้างการรับรู้และเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม จำนวน 1 ชิ้นงาน
        5) กลุ่มเป้าหมายได้องค์ความรู้และเทคนิคผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านให้มีคุณสมบัติพิเศษในการเก็บรักษากลิ่นที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม จำนวน 1 เทคนิค และได้เนื้อผ้าทอต้นแบบซึ่งผ่านกระบวนการเก็บรักษากลิ่นจำนวน 2 ต้นแบบ
        6) กลุ่มเป้าหมายมีได้องค์ความรู้ เทคนิค และแนวทางผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยสีธรรมชาติและกระบวนการย้อมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม จำนวน 1 เทคนิค และได้เส้นด้ายผ้าต้นแบบซึ่งผ่านกระบวนการย้อมจากสีธรรมชาติ จำนวน 2 ต้นแบบ
        1) นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน จำนวน 7 คน 4 สาขา ได้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาวิเคราะห์และประมวลผลปัญหาของชุมชน และให้ความช่วยเหลือ ในการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนแบบมีส่วนร่วม รวมถึงเป็นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือที่ดีระหว่างชุมชนท้องถิ่นและมหาวิทยาลัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
        2) นักศึกษามีความรู้ความสามารถและมีทักษะในเชิงวิชาการและการปฏิบัติ จำนวน 7 คน 4 สาขา ในการยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม โดยชุมชนมีส่วนร่วม ตั้งแต่ต้นทาง คือ กระบวนการผลิตวัตถุดิบ กลางทาง คือ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ และปลายน้ำ คือ ช่องทางการตลาด ให้กับชุมชน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
        3) นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน จำนวน 7คน 4 สาขา เข้าร่วมเป็นผู้ช่วยวิทยากร ในการถ่ายทอดองค์ความรู้ร่วมกับชุมชนในการยกระดับและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยม สำหรับการพึ่งพาตัวเองและจัดการตัวเองได้
        ผลลัพธ์ (Outcome) 1)กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและสามารถใช้เครื่องกรอด้าย เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมประสิทธิภาพห่วงโซ่การผลิตผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านสู่มาตรฐานสินค้าระดับพรีเมี่ยมได้
        2) กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและสามารถปรับปรุงโครงสร้างและลวดลายบนเนื้อผ้า ส่งผลให้อนาคตเกิดความหลากหลายในด้านลวดลายร่วมสมัยบนเนื้อผ้า ร่วมทั้งมีการพัฒนาและยกคุณภาพร่วมสมัยของผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านได้
        3) กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและสามารถพัฒนาต้นแบบบรรจุภัณฑ์ต้นแบบตราสินค้า ต้นแบบแผ่นป้ายฉลากร่วมสมัยของผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านได้
        4) กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและสามารถจำหน่ายสินค้าผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านระดับพรีเมี่ยมผ่านช่องทางการจัดจำหน่ายด้วยสื่อทางการตลาดได้
        5) กลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการฝึกอบรมสามารถนำองค์ความรู้ ไปใช้พัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือให้มีกลิ่นหอมธรรมชาติที่มีคุณสมบัติติดทดนาน
        6) กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการสามารถนำองค์ความรู้ ไปใช้พัฒนารูปแบบโทนสีผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือจากสีย้อมธรรมชาติ ได้อย่างถูกต้องสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ตลอดชีพ (Life Long Learning) เพื่อพัฒนาและยกระดับอาชีพหลักและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับชุมชนอย่างยั่งยืน
        1) นักศึกษาได้เรียนรู้และเข้าใจถึงสภาพปัญหาชีวิตของชุมชนกลุ่มเป้าหมายโดยที่นักศึกษาได้มีการร่วมกันระดมความคิดและนำเอาความรู้ที่ได้รับจากชั้นเรียนมาแก้ไขปัญหาชุมชนได้อย่างตรงจุด
        2) นักศึกษาสามารถนำเอาประสบการณ์จากการการปฏิบัติงานจริงมาต่อยอดและปรับใช้กับชุมชนบ้านเกิดของนักศึกษาเองได้
        ผลกระทบ (Impact) 1) เกิดการสร้างงานสร้างอาชีพใหม่ทดแทนการปลูกพืชเชิงเดียวในจังหวัดน่าน เสริมสร้างความมั่นคงทางด้านอาชีพการผลิตผ้าทอมืออัตลักษณ์เมืองน่านของประชาชนในระดับฐานราก
        2) เกิดการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพของผ้าทอมือให้มีกลิ่นหอมธรรมชาติติดทนนาน เพื่อสร้างมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือ รวมทั้งขยายโอกาสทางการตลาดของผ้าทอมือไปสู่ตลาดเฉพาะกลุ่ม(Niche Market)
        1) สนับสนุนการพัฒนากำลังคนฐานรากทั้งในระบบและนอกระบบการศึกษาในการสร้างองค์ความรู้ ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สอดคล้องตามปรัชญามหาวิทยาลัย ในการเป็น “มหาวิทยาลัยนวัตกรรมเพื่อชุมชน” และการขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 ตามนโยบายรัฐบาล
        นำเข้าสู่ระบบโดย kriengkrai sriprasert kriengkrai sriprasert เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 20:07 น.