การส่งเสริมรูปแบบการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์แบบครบวงจร ชุมชนชาวผู้ไทย จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
การส่งเสริมรูปแบบการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์แบบครบวงจร ชุมชนชาวผู้ไทย จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

การส่งเสริมรูปแบบการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์แบบครบวงจร ชุมชนชาวผู้ไทย จังหวัดกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามคณะวิทยาการจัดการ คณะเทคโนโลยีการเกษตรบ้านโพน ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ดร.อภิชาติ เหล็กดีคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม085-0575001,043-020227ดร.ปิยศักดิ์ ถีอาสนา ดร.ณพรรธนนท์ ทองปาน อาจารย์ธเนศ ยืนสุข อาจารย์อุมาภรณ์ พลสยม อาจารย์อุดร จิตจักร

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ คำม่วง โพน ชานเมือง

3. รายละเอียดชุมชน

บ้านโพน หมู่ที่ 1 - 5 ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ หมู่บ้านที่ยังคงเอกลักษณ์สำคัญของจังหวัดกาฬสินธุ์ นั่นคือ วัฒนธรรมผู้ไทย ผ้าไหมแพรวาบ้านโพน เป็นกลุ่มชนที่สืบเชื้อสายมาจากบรรพบุรุษของชาวผู้ไทยเป็นชุมชนผลิตผ้าทอมือ มีทรัพยากรทางด้านการผลิตผ้าไหมแพรวา เครื่องจักสาน และวิถีชีวิตแบบชาวผู้ไทยต้องการการจัดการการท่องเที่ยวแบบเป็นระบบครบวงจร ให้ครอบคลุมกิจกรรม ทรัพยากร ผลิตภัณฑ์ของชุมชน และการประชาสัมพันธ์สู่สังคมภายนอกอย่างกว้างขวางเป็นชุมชนที่มีวิถีชีวิตของชาวผู้ไทย อยู่ห่างจากอำเภอประมาณ 6 กิโลเมตร อยู่ห่างจากจังหวัดกาฬสินธุ์ ประมาณ78 กิโลเมตร อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 598 กิโลเมตร

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การท่องเที่ยวเป็นการเดินทางไปเยือนสถานที่ต่างถิ่นซึ่งไม่ใช่เป็นที่พำนักอาศัยประจำของบุคคลนั้น และเป็นการไปเยือนชั่วคราวโดยไม่ใช่เพื่อเป็นการประกอบอาชีพหารายได้ (ไพฑูรย์ พงศะบุตร และวิลาสวงศ์ พงศะบุตร, 2542)จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์จังหวัดหนึ่งในภาคอีสาน จากหลักฐานทางโบราณคดีบ่งบอกว่าเคยเป็นที่อยู่อาศัยของเผ่าละว้า ซึ่งมีความเจริญทางด้านอารยธรรมประมาณ 1,600 ปี ดังนั้น จึงมีแหล่งท่องเที่ยวอยู่มากมาย ทั้ง ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี โบราณสถาน และวิถีชีวิตของชุมชนที่มีความแตกต่างกัน
ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจแลสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564ในเป้าหมายรวมที่ 2.3 เพื่อพัฒนา ระบบเศรษฐกิจมีความเข้มแข็งและแข่งขันได้ โครงสร้างเศรษฐกิจปรับสู่เศรษฐกิจฐานบริการและดิจิทัล มีผู้ประกอบการรุ่นใหม่และเป็นสังคมผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็กที่เข้มแข็งสามารถใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลในการสร้างสรรค์คุณค่าสินค้าและบริการ มีระบบการผลิตและให้บริการจากฐานรายได้เดิมที่มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น และมีการลงทุนในการผลิตและบริการฐานความรู้ชั้นสูงใหม่ๆ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน รวมทั้งกระจายฐานการผลิตและการให้บริการสู่ภูมิภาคเพื่อลดความเหลื่อมล้า โดยเศรษฐกิจไทยมีเสถียรภาพและมีอัตราการขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ ๕ ต่อปี และมีปัจจัยสนับสนุน อาทิ ระบบโลจิสติกส์ พลังงาน และการลงทุนวิจัยและพัฒนา ที่เอื้อต่อการขยายตัวของภาคการผลิตและบริการและยุทธศาสตร์ที่ ๓ เพื่อการสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืนตามวัตถุประสงค์ที่ ๑.๒.๔ เพื่อเพิ่มศักยภาพของอุตสาหกรรมสาคัญเดิมให้สามารถต่อยอดสู่อุตสาหกรรมแห่งอนาคตที่ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่อย่างเข้มข้น และสร้างรากฐานการพัฒนาอุตสาหกรรมใหม่บนฐานของความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12, 2560-2564 )
บ้านโพน เป็นชุมชนวัฒนธรรมผู้ไทย ผ้าไหมแพรวา ตั้งอยู่ที่ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ หมู่บ้านที่ยังคงเอกลักษณ์สำคัญของจังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นกลุ่มชนที่สืบเชื้อสายมาจากบรรพบุรุษของชาวผู้ไทย ที่เคยมีถิ่นฐานอยู่ที่บริเวณสิบสองปันนาเอกลักษณ์และวัฒนธรรมของชาวผู้ไทยแสดงออกผ่านวิถีการดำรงชีวิตของชาวบ้านอีกทั้ง วิถีผ้าของชาวผู้ไทย มีชื่อเสียงในการทอผ้าแพรวา ซึ่งเป็นผ้าไหมลายมัดหมี่ที่มีความวิจิตรและละเอียดละออโดยลายที่สวยงามเกิดจากการย้อมและการใช้นิ้วก้อยเกี่ยวไหมเรียงร้อยเป็นลายผ้าที่เป็นทรงเรขาคณิตมากมายในผ้า 1 ผืน ผู้ที่ชื่นชอบงานผ้าทอ คงใฝ่ฝันที่จะได้ครอบครองผ้าแพรวาสักผื่น ด้วยเพราะความสวยงาม ภูมิปัญญา และความอุตสาหะของผู้ทอ เสริมให้คุณค่าของผ้าแพรวาเป็นผ้าอีกผืนที่ชวนหลงใหล ชาวผู้ไทบ้านโคกโก่งที่มีฝีมือในการปักผ้าเป็นลวดลายประดับคอเสื้อ ข้อมือ สาบเสื้อ หรือขอบกระเป๋า ซึ่งมีความละเอียดละออ รวมทั้งการเดินเส้นตะเข็บผ้าและลวดลายของชายเสื้อทั้งชายและหญิง สร้างสีสันให้กับเครื่องแต่งกายได้อย่างสวยงาม
ดังนั้น การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนเป็นผู้ออกแบบการท่องเที่ยว เป็นผู้บริการ จัดการท่องเที่ยว โดยมีภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเข้าร่วม เช่น นักวิชาการด้านการท่องเที่ยวสถาบันการศึกษา ภาคส่วนราชการ เอกชน ที่สนใจด้านการพัฒนาการท่องเที่ยวร่วมกัน รมถึงการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย ทำการตลาดการท่องเที่ยวในเชิงสร้างสรรค์ การมีฐานข้อมูลการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่ทันสมัยครบถ้วน สามารถพัฒนาเศรษฐกิจคนในพื้นที่อีกหนึ่งช่องทางที่เป็นบูรณาการในทุกศาสตร์เข้าด้วยกัน เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจคนในประเทศ ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป้าหมายการทำงานและสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศอีกด้วยการพัฒนาเศรษฐกิจระดับจังหวัดโดยใช้การท่องเที่ยวเป็นเครื่องมือ ผ่านการวิจัย เพื่อให้ได้มาซึ่งยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงสร้างสรรค์ ส่งเสริมการท่องเที่ยวที่เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น พัฒนาและยกระดับการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนให้เป็นรูปธรรมและการขยายตลาดการท่องเที่ยวโดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาช่วยเพื่อยกระดับเศรษฐกิจจังหวัดและเพื่อการนำไปสู่การพึ่งพาตนเองด้านรายได้ การบริหารการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่ดำการได้เองโดยชุมชนเองการเรียนรู้ในการใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทำการตลาดการท่องเที่ยวการถ่ายทอดอัตลักษณ์ชุมชนผ่านการถ่ายทอดโดยใช้การท่องเที่ยวเป็นสื่อกลางใช้เทคโนโลยีเป็นตัวช่วยเพื่อช่วยยกระดับเศรษฐกิจฐานราก เพิ่มพูนการพึ่งพาตนเอง นำไปสู่ความมั่นคงทางเศรษฐกิจของชุมชนจังหวัดและระดับชาติ
ดังนั้นเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของคนในประเทศ และช่วยพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากของชุมชนผู้ไทย ซึ่งได้รับผลกระทบจากความแปรปรวนทางเศรษฐกิจ และสังคม ได้ใช้ทรัพยากรการท่องเที่ยวที่มีอยู่ในพื้นถิ่น สร้างโอกาส สร้างรายได้ โดยอาศัยการท่องเที่ยวโดยชุมชนเองผ่านการบูรณาการจากทุกหน่วยงาน ร่วมกันพัฒนา โดยอาศัยเทคโนโลยีและสารสนเทศที่ทันสมัย เป็นตัวช่วยทำการตลาดการท่องเที่ยวโดยชุมชน เพื่อการนำพาสู่ความเป็นอยู่และการใช้ชีวิตที่ดีขึ้น สืบทอดแก่คนรุ่นต่อไปในอนาคต

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อรวบรวมข้อมูลศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนผู้ไทย บ้านโพน ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์

๑. จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมรูปแบบการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์แบบครบวงจร ชุมชนชาวผู้ไทย จังหวัดกาฬสินธุ์ ๒. จำนวนรายวิชาในหลักสูตรที่มีการบูรณาการจัดการเรียนการสอน ๓. จำนวนสาขาวิชาที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมรูปแบบการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์แบบครบวงจร ชุมชนชาวผู้ไทย จังหวัดกาฬสินธุ์ ๔. ระดับความสำเร็จของการสำรวจข้อมูล ๕. ระดับความสำเร็จของการบูรณาการศาสตร์เพื่อการวิจัยเพื่อชุมชน ๖. ระดับความรู้ความเข้าใจของนักศึกษาในการสำรวจทรัพยากรการท่องเที่ยว และการจัดทำผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวโดยชุมชน

30.00 30.00
2 2. เพื่อส่งเสริมผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชนการท่องเที่ยวชุมชนผู้ไทย บ้านโพน ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์

๑. จำนวนสาขาวิชาที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมรูปแบบการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์แบบครบวงจร ชุมชนชาวผู้ไทย จังหวัดกาฬสินธุ์ ๒. จำนวนผู้เข้าร่วมถ่ายทอดการออกแบบผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชนการท่องเที่ยว ๓. ระดับความรู้ ความเข้าใจในการออกแบบผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชนการท่องเที่ยว ๔. จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมการถ่ายทอดเทคโนโลยีเครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ สำหรับชุมชนตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ ในชุมชนเป้าหมาย ๕. ระดับความรู้ความเข้าใจของนักศึกษาในด้านการถ่ายทอดเทคโนโลยีเครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ

20.00 20.00
3 3. เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลสารสนเทศการท่องเที่ยวโดยชุมชนผู้ไทย บ้านโพน ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์

๑. ระดับคุณภาพของระบบฐานข้อมูลการท่องเที่ยว ๒. ระดับพึงพอใจที่มีต่อระบบฐานข้อมูลการท่องเที่ยว ๓. จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมการ ๔. จำนวนรายวิชาในหลักสูตรที่มีการบูรณาการจัดการเรียนการสอน

20.00 20.00
4 4. เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงสร้างสรรค์พื้นที่ชุมชนผู้ไทย บ้านโพน ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์

๑. จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมรูปแบบการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์แบบครบวงจร ชุมชนชาวผู้ไทย จังหวัดกาฬสินธุ์ ๒. จำนวนรายวิชาในหลักสูตรที่มีการบูรณาการจัดการเรียนการสอน ๓. จำนวนสาขาวิชาที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมรูปแบบการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์แบบครบวงจร ชุมชนชาวผู้ไทย จังหวัดกาฬสินธุ์ ๔. ระดับความรู้ ทักษะของนักศึกษาในด้านการวิจัย

30.00 30.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
นักศึกษา ระดับปริญญาตรี 10
ผู้นำชุมชน ผู้แทนชุมชน 100
อาจารย์/นักวิจัย 6

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 สำรวจข้อมูลศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนผู้ไทย บ้านโพน ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์

ชื่อกิจกรรม
สำรวจข้อมูลศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนผู้ไทย บ้านโพน ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์
วัตถุประสงค์
  1. 1. เพื่อรวบรวมข้อมูลศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนผู้ไทย บ้านโพน ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดกิจกรรม
-ทบทวนวรรณกรรม ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ
-ประชุมชี้แจงโครงการให้นักวิจัยทราบและกำหนดภาระงาน
-สำรวจข้อมูลศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนผู้ไทย บ้านโพน ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์
-รวมรวมข้อมูลการจัดทำผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวโดยชุมชน
-รวบรวมข้อมูลการท่องเที่ยวในชุมชนที่มีอยู่แล้ว
-รวบรวมข้อมูลด้านความต้องการการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
-ข้อมูลศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนผู้ไทย บ้านโพน ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ ข้อมูลการจัดทำผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวโดยชุมชน มข้อมูลการท่องเที่ยวในชุมชนที่มีอยู่แล้ว ข้อมูลด้านความต้องการการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน เพื่อการวางแผนการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
-จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมรูปแบบการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์แบบครบวงจร ชุมชนชาวผู้ไทย จังหวัดกาฬสินธุ์
-จำนวนรายวิชาในหลักสูตรที่มีการบูรณาการจัดการเรียนการสอน
-จำนวนสาขาวิชาที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมรูปแบบการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์แบบครบวงจร ชุมชนชาวผู้ไทย จังหวัดกาฬสินธุ์
-ระดับความสำเร็จของการสำรวจข้อมูล
-ระดับความสำเร็จของการบูรณาการศาสตร์เพื่อการวิจัยเพื่อชุมชน
-ระดับความรู้ความเข้าใจของนักศึกษาในการสำรวจทรัพยากรการท่องเที่ยว และการจัดทำผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวโดยชุมชน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 6 คน 7,200 2 86,400
ค่าตอบแทนวิทยากร 10 คน 1,800 2 36,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 6 คน 2,000 2 24,000
ค่าที่พักตามจริง 6 คน 1,000 2 12,000
ค่าที่พักตามจริง 10 คน 240 2 4,800
ค่าถ่ายเอกสาร 100 ชุด 100 1 10,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 100 คน 200 1 20,000
รวมค่าใช้จ่าย 193,200

กิจกรรมที่ 2 ติดตามและร่วมประเมินศักยภาพทรัพยากรการท่องเที่ยวชุมชน และถ่ายทอดการออกแบบผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชนผู้ไทย บ้านโพน ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์

ชื่อกิจกรรม
ติดตามและร่วมประเมินศักยภาพทรัพยากรการท่องเที่ยวชุมชน และถ่ายทอดการออกแบบผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชนผู้ไทย บ้านโพน ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์
วัตถุประสงค์
  1. 1. เพื่อรวบรวมข้อมูลศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชนผู้ไทย บ้านโพน ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์
  2. 2. เพื่อส่งเสริมผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชนการท่องเที่ยวชุมชนผู้ไทย บ้านโพน ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดกิจกรรม
-ติดตามและร่วมประเมินศักยภาพทรัพยากรการท่องเที่ยวชุมชน
-ส่งเสริม และถ่ายทอดการออกแบบผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชนผู้ไทย บ้านโพน ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
-ชุมชนบ้านโพน ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ ได้ผลิตภัณฑ์ชุมชน จำนวน ๕ ผลิตภัณฑ์
-จำนวนสาขาวิชาที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมรูปแบบการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์แบบครบวงจร ชุมชนชาวผู้ไทย จังหวัดกาฬสินธุ์
-จำนวนผู้เข้าร่วมถ่ายทอดการออกแบบผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชนการท่องเที่ยว
-ระดับความรู้ ความเข้าใจในการออกแบบผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชนการท่องเที่ยว
-จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมการถ่ายทอดเทคโนโลยีเครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ สำหรับชุมชนตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ ในชุมชนเป้าหมาย
-ระดับความรู้ความเข้าใจของนักศึกษาในด้านการถ่ายทอดเทคโนโลยีเครื่องอบพริกแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบอัจฉริยะ-
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 7,200 2 28,800
ค่าตอบแทนวิทยากร 5 คน 1,800 2 18,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 2 คน 2,000 2 8,000
ค่าที่พักตามจริง 2 คน 1,000 2 4,000
ค่าที่พักตามจริง 5 คน 240 2 2,400
ค่าอาหาร 100 คน 200 2 40,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 100 คน 166 1 16,600
รวมค่าใช้จ่าย 117,800

กิจกรรมที่ 3 ติดตามและพัฒนาฐานข้อมูลสารสนเทศการท่องเที่ยวโดยชุมชนผู้ไทย บ้านโพน ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์

ชื่อกิจกรรม
ติดตามและพัฒนาฐานข้อมูลสารสนเทศการท่องเที่ยวโดยชุมชนผู้ไทย บ้านโพน ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์
วัตถุประสงค์
  1. 3. เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลสารสนเทศการท่องเที่ยวโดยชุมชนผู้ไทย บ้านโพน ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดกิจกรรม
-ติดตามและพัฒนาฐานข้อมูลสารสนเทศการท่องเที่ยวโดยชุมชนผู้ไทย บ้านโพน ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พ.ค. 2563 ถึง 31 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
-ชุมชนบ้านโพน ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ มีระบบฐานข้อมูล/ชุดข้อมูลการวางตลาด การพัฒนาผลิตภัณฑ์ และประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว จำนวน ๑ ระบบ
-ระดับคุณภาพของระบบฐานข้อมูลการท่องเที่ยว
-ระดับพึงพอใจที่มีต่อระบบฐานข้อมูลการท่องเที่ยว
-จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมการ
-จำนวนรายวิชาในหลักสูตรที่มีการบูรณาการจัดการเรียนการสอน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 7,200 2 28,800
ค่าตอบแทนวิทยากร 5 คน 1,800 2 18,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 2 คน 2,000 2 8,000
ค่าที่พักตามจริง 2 คน 1,000 2 4,000
ค่าที่พักตามจริง 5 คน 240 2 2,400
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 100 คน 100 1 10,000
รวมค่าใช้จ่าย 71,200

กิจกรรมที่ 4 ติดตามและร่วมพัฒนารูปแบบการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงสร้างสรรค์พื้นที่ชุมชนผู้ไทย บ้านโพน ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ และสรปุผลการศึกษาวิจัยและหาแนวทางการพัฒนาในการทำงานต่อไป

ชื่อกิจกรรม
ติดตามและร่วมพัฒนารูปแบบการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงสร้างสรรค์พื้นที่ชุมชนผู้ไทย บ้านโพน ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ และสรปุผลการศึกษาวิจัยและหาแนวทางการพัฒนาในการทำงานต่อไป
วัตถุประสงค์
  1. 4. เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงสร้างสรรค์พื้นที่ชุมชนผู้ไทย บ้านโพน ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดกิจกรรม
-ติดตามและร่วมพัฒนารูปแบบการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงสร้างสรรค์พื้นที่ชุมชนผู้ไทย บ้านโพน ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์
-สรปุผลการศึกษาวิจัยและหาแนวทางการพัฒนาในการ ทำงานต่อไป
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
-ชุมชนบ้านโพน ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ ได้รูปแบบการจัดการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับทุนการท่องเที่ยวในชุมชน ที่มีประสิทธิภาพ
-จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมรูปแบบการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์แบบครบวงจร ชุมชนชาวผู้ไทย จังหวัดกาฬสินธุ์
-จำนวนรายวิชาในหลักสูตรที่มีการบูรณาการจัดการเรียนการสอน
-จำนวนสาขาวิชาที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมรูปแบบการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์แบบครบวงจร ชุมชนชาวผู้ไทย จังหวัดกาฬสินธุ์
-ระดับความรู้ ทักษะของนักศึกษาในด้านการวิจัย
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 7,200 2 28,800
ค่าตอบแทนวิทยากร 5 คน 1,800 2 18,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 2 คน 2,000 2 8,000
ค่าที่พักตามจริง 2 คน 1,000 2 4,000
ค่าที่พักตามจริง 5 คน 240 2 2,400
ค่าอาหาร 100 คน 200 2 40,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 100 คน 166 1 16,600
รวมค่าใช้จ่าย 117,800

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 262,800.00 174,000.00 63,200.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 52.56% 34.80% 12.64% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) -ชุมชนมีต้นแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับทุนที่มีอยู่สามารถบริหารการท่องเที่ยวได้อย่างเป็นรูปธรรม
-ผู้ประกอบการณ์/ชุมชนสามารถนำไปใช้พัฒนาผลิตภัณฑ์ได้ตรงตามความต้องการของกลุ่มลูกค้า
-ชุมชนได้ข้อมูลผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่นที่สามารถนำสร้าง หรือส่งเสริมเป็นผลิตภัณฑ์ชุมชนได้
-นักศึกษาได้ร่วมแบบการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับทุนที่มีอยู่สามารถบริหารการท่องเที่ยวได้อย่างเป็นรูปธรรม
-นักศึกษาได้เรียนรู้ข้อมูลผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่นที่สามารถนำสร้าง หรือส่งเสริมเป็นผลิตภัณฑ์ชุมชนได้
ผลลัพธ์ (Outcome) ชุมชนสามารถบริหารจัดการการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับทุนที่มีอยู่ได้อย่างเป็นรูปธรรม นักศึกษาสามารถวางแผนกิจกรรมการเป็นผู้เล่าเรื่อง (Story Teller) และการถ่ายทอดความรู้ด้านการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมนการท่องเที่ยว
ผลกระทบ (Impact) -ชุมชนแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยว และสามารถใช้ประโยชน์จากแหล่งท่องเที่ยวได้โดยการเป็นผู้เล่าเรื่องที่ได้รับจากการฝึกอบรมจากคณะผู้วิจัย และบริหารการท่องเที่ยวด้วยชุมชนได้
-ชุมชนเข้าใจการจัดโปรแกรมฝึกอบรมคนเล่าเรื่อง (Story Teller) ความหมายประจำครัวเรือน และการถ่ายทอดความรู้ด้านการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
-ชุนชนได้ระบบฐานข้อมูลเพื่อการวางแผนและประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวชุมชน
-ชุมชนได้เส้นทางท่องเที่ยวโดยชุมชนเส้นทางใหม่ และสามารถนำมาประยุกต์ในการจัดโปรแกรมทัวร์ได้ และพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวได้ตรงตามความต้องการของนักท่องเที่ยว
-นักศึกษาได้ร่วมศึกษา และวางแผนการท่องเที่ยวในพื้นที่โดยร่วมกับชุมชนผ่านกิจกรรมการเป็นผู้เล่าเรื่องที่ได้รับจากการฝึกอบรมจากคณะผู้วิจัย
-นักศึกษาเข้าใจการจัดโปรแกรมฝึกอบรมคนเล่าเรื่อง (Story Teller) และการถ่ายทอดความรู้ด้านการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
-นักศึกษาได้พัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการวางแผนและประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวชุมชน
-นักศึกษาได้ร่วมวางแผน ออกแบบ และพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชนการท่องเที่ยวได้ตรงตามความต้องการของนักท่องเที่ยว
-นักศึกษาได้ร่วมบริการวิชาการตามความต้องการของชุมชน
นำเข้าสู่ระบบโดย Dr.Apichat Lagdee Dr.Apichat Lagdee เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 20:05 น.