โครงการวิจัยส่งเสริมการวางแผนเพาะปลูกข้าวไรซ์เบอรี่อินทรีย์ของเกษตรกร ตำบลนาบอน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
โครงการวิจัยส่งเสริมการวางแผนเพาะปลูกข้าวไรซ์เบอรี่อินทรีย์ของเกษตรกร ตำบลนาบอน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

โครงการวิจัยส่งเสริมการวางแผนเพาะปลูกข้าวไรซ์เบอรี่อินทรีย์ของเกษตรกร ตำบลนาบอน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตขอนแก่นวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตขอนแก่นวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตบางเขน,คณะโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี, คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตขอนแก่น, สำนักงานเกษตรจังหวัดกาฬสินธุ์ และองค์การบริหารส่วนตำบลยางตลาดตำบลนาบอน1.นายวันพิชิต เบ็งจีน 2.นางสาวนวรรณ สืบสายลา 3.นายภาณุพงษ์ ศรีมุงคุล 4.นายนราธิป สุพัฒน์ธนานนท์เลขที่ 182/12 ถนนศรีจันทร์ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองขอนแก่นจังหวัดขอนแก่น 40000 การติดต่อ08794676181.นายพันเวย์ ศรีเวียง
2.นายกิตพงศ์ ไพรรอ
3.นางสาวจารุวรรณ เผยกลิ่น
4.นายธีรพงษ์ นาคแก้ว
5.นายธนวัฒน์ นุชิต
6.นางสาวชลธิดา ลาบุตร
7.นางสาวพิมพ์ลภัส กันคำ

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ คำม่วง นาบอน

3. รายละเอียดชุมชน

ตำบลนาบอน มีที่ตั้งอยู่ใกล้กับเทือกเขาภูพาน อย่างห่างจากอำเภอคำม่วงไปทางทิศตะวันออก ประมาณ 7 กิโลเมตรอยู่ห่างจากจังหวัดกาฬสินธุ์ ประมาณ 85 กิโลเมตรลักษณะภูมิประเทศ เป็นที่ราบสูงเชิงเขามีลำห้วยปอล้ำห้วยสมอทบ และลำห้วยแก้งไหลผ่าน มีเนื้อที่ทั้งหมด97ตารางกิโลเมตร เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมหรือทำนาข้าวเป็นหลัก ซึ่งปัจจุบันชุมชนบ้านเปลือยเพาะปลูกข้าวตามฤดูกาลและใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวที่สืบทอดต่อกันมาจากรุ่นสู่รุ่น ทำให้มีผลผลิตเฉลี่ยต่ำ ในระหว่างที่ต้นทุนการเพาะปลูกข้าวเพิ่มมากขึ้น แต่ราคาขายต่ำลง เกษตรกรในชุมชนจึงประสบปัญหารายรับไม่สมดุลกับรายจ่าย (รายรับน้อยกว่ารายจ่าย) และมีความจำเป็นต้องกู้เงินเพื่อประทังชีวิต ก่อให้เกิดภาระหนี้สินของเกษตรกร ผู้นำเสนอโครงการจึงลงพื้นที่สำรวจความต้องการเบื้อต้นในชุมชน พบว่าประชาชนในชุมชนขาดองค์ความรู้ในการคัดเลือกสายพันธ์ข้าวอย่างถูกต้อง (ใช้การลองผิดลองถูกตามคำบอกเล่าของคนอื่น) และขาดความเข้าใจเกี่ยวกับพันธุ์ข้าว ดิน น้ำ ปุ๋ย การแปรรูปข้าว การวางแผนเพาะปลูก และการตลาดประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรมและปศุสัตว์อาชีพหลัก คือ การทำนา เน้นการทำนาข้าวเหนียว เพื่อการบริโภคในครัวเรือนมากกว่าการจำหน่ายอาชีพเสริมได้แก่ การทอผ้าไหมแพรวาการทอผ้าไหมมัดหมี่ การแปรรูปสมุนไพร การผลิตของใช้ในครัวเรือน การจักสาน ทั้งในรูปแบบรายบุคคล และรูปแบบกลุ่มอาชีพสามารถสร้างรายได้ให้กับชุมชนได้เป็นอย่างดีความยากจนเป็นปัญหาที่ทุกประเทศทั่วโลกให้ความสำคัญ เนื่องจากปัญหาดังกล่าวก่อให้เกิดปัญหาอื่นตามมา เช่น ปัญหาครอบครัว ปัญหายาเสพติด ปัญหาอาชญากรรม ตลอดจนปัญหาคุณภาพชีวิตของประชาชนและการพัฒนาประเทศ เป็นต้น รัฐบาลไทยจึงพยายามแก้ปัญหาความยากจนด้วยการบรรจุการไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ อีกทั้งมีการจัดทำงบประมาณเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนจากทุกภาคส่วนอย่างต่อเนื่อง แต่ปัญหาความยากจนยังไม่หมดจากสังคมไทย เนื่องจากยังมีคนยากจนกลุ่มหนึ่งที่ขาดโอกาสที่จะเข้าถึงปัจจัยการผลิตและถูกเอาเปรียบซึ่งจะทำให้คนจนกลุ่มดังกล่าวยังจะจนเรื้อรังต่อไป ยังคงมีปัญหาการกระจายรายได้ ความไม่เท่าเทียมกันของคนในสังคม และปัญหาหนี้สิน ครัวเรือนเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีสัดส่วนครัวเรือนที่ยากจนมากที่สุด ซึ่งปัจจัยที่มีผลต่อความยากจนของครัวเรือนเกษตร ได้แก่1) ปัจจัยเขตชลประทาน 2.อายุของหัวหน้าครัวเรือน 3) ระดับการศึกษาของหัวหน้าครัวเรือน 4) จำนวนสมาชิกในครัวเรือน 5) อัตราการเป็นภาระ 6) พื้นที่ทำการเกษตร 7) ทรัพย์สินสุทธิของครัวเรือน และ 8) จำนวนหนี้สินของครัวเรือน
ตำบลนาบอน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ ประกอบอาชีพเกษตรกรและมีความต้องการเสริมสร้างกิจกรรมการการผลิตนอกการเกษตรของครัวเรือนควบคู่ไปกับกิจกรรมการเกษตรจะเป็นแหล่งรายได้เสริมของชุมชนที่อยู่ในรูปแบบของการรวมกลุ่มหรือสหกรณ์เพื่อสะดวกต่อการถ่ายทอดเทคโนโลยี การจัดการด้านตลาด และส่งเสริมกิจกรรมที่มีความสอดคล้องกับทรัพยากรในท้องถิ่น ดังนั้น การนำองค์ความรู้ดังกล่าวไปบริการให้กับประชาชนในชุมชนจึงเป็นความสำคัญ ยิ่งไปกว่านี้คือการแนะนำเชิงปฏิบัติจะช่วยให้ประชาชนเข้าใจและสามารถนำไปต่อยอดได้อย่างยั่งยืน ผู้นำเสนอโครงการจึงจัดทำโครงการ “วิจัยเพื่อวางแผนการผลิตข้าวให้มีกำไรสูงที่สุดแก้จนและถ่ายทอดการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าวสู่กลุ่มตำบลนาบอน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์” เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนของประชาชนในเขตตำบลนาบอนขึ้น
1. การพัฒนาชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ให้เป็นศูนย์กลางในการพัฒนาและเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน
2. การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชน โดยพัฒนาผ่านการประกอบอาชีพ ซึ่งประชาชนส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพทางการเกษตร และยังมีการใช้สารเคมีในกระบวนการผลิตจำนวนมาก รวมถึงการพัฒนาให้มีการปลูกพืชโดยใช้วิถีทางเกษตรอินทรีย์ หรือใช้ระบบ smart farming
3. การพัฒนาและการยกระดับผลิตภัณฑ์ OTOP รวมถึงการพัฒนาศักยภาพของกลุ่มองค์กรในชุมชน
4. การสร้างอาชีพของชุมชน โดยการนำผลิตภัณฑ์ของชุมชน มายกระดับในด้านต่างๆ เช่น การออกแบบ designการตลาด การสื่อสารสร้างแบรนด์ ฯลฯ

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อวางแผนการผลิตข้าวให้มีกำไรสูงที่สุดแก้จนและถ่ายทอดการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าวสู่กลุ่มชุมชนตำบลนาบอน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ขึ้น” และแก้ไขปัญหาความยากจนของประชาชนในเขตตำบลนาบอนขึ้น

ร้อยละของความพึ่งพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ

0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 ศึกษาการคัดเลือกสายพันธุ์ข้าวที่สามารถเพราะปลูกในพื้นที่ชุมชนเป้าหมายได้

ชื่อกิจกรรม
ศึกษาการคัดเลือกสายพันธุ์ข้าวที่สามารถเพราะปลูกในพื้นที่ชุมชนเป้าหมายได้
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    สำรวจความต้องการของประชาชนในชุมชน โดยการสัมภาษณ์ผู้นำชุมชนและประชาชนในเขตชุมชนเกี่ยวกับปัญหาในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม (การทำนาข้าว)
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    10 มกราคม 2563 ถึง 24 มกราคม 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    1. ทราบปัญหาการทำนาข้าวและความต้องการของคนในชุมชนอย่างชัดเจน
    2. ทราบข้อมูลเบื้องต้นของคนในชุมชนจำนวน 50 ครัวเรือน โดยประกอบด้วย
    - จำนวนเงินทุนในการทำนาข้าวต่อปี
    - พื้นที่ทำกิน
    - อาชีพรองนอกจากการทำนาข้าว
    - ความพื้นฐานรู้เกี่ยวกับการทำนาข้าว
    - มุมมองการจัดตั้งวิสาหกิจชุมชน (แปรรูปสินค้าหรือผลิตภัณฑ์จากข้าวไรซ์เบอรี่และข้าวขาว)
    - การใช้ปุ๋ยเคมีและสารพิษกำจัดแมลง
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    - ค่าเบี้ยเลี้ยงผู้ติดต่อประสานงานจำนวน 8 คน x 40 บาทต่อ ซม. X 7 วัน x 6 ซม. ต่อวัน เท่ากับ 13,440 บาท

    8 คน 240 7 13,440
    ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ

    ค่าเบี้ยเลี้ยงผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 4 คน x 250 บาทต่อ ซม. x 6 ซม.ต่อวัน x 7 วัน เท่ากับ 42,000 บาท

    4 คน 1,500 7 42,000
    ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

    ค่าตอบแทนประชาชนที่ให้ข้อมูลจำนวน 50 คน x 300 บาทต่อคน เท่ากับ 15,000 บาท

    50 คน 300 1 15,000
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

    ค่าจ้างเหมารถตู้ 1,800 บาทต่อวัน x 7 วัน เท่ากับ 12,600 บาท

    1 คน 1,800 7 12,600
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

    ค่าน้ำมันเดินทาง 500 บาทต่อวัน x 7 วัน เท่ากับ 3,500 บาท

    1 ครั้ง 500 7 3,500
    รวมค่าใช้จ่าย 86,540

    กิจกรรมที่ 2 ศึกษาต้นทุนการเพาะปลูกและราคาขายข้าวแต่ละสายพันธุ์ตามจุดรับซื้อต่างๆ ทั้งในกรณีเป็นข้าวเปลือก ข้าวสาร และข้าวแปรรูป

    ชื่อกิจกรรม
    ศึกษาต้นทุนการเพาะปลูกและราคาขายข้าวแต่ละสายพันธุ์ตามจุดรับซื้อต่างๆ ทั้งในกรณีเป็นข้าวเปลือก ข้าวสาร และข้าวแปรรูป
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      ศึกษาสายพันธุ์ข้าวที่มีความเหมาะสมกับชุมชนเป้าหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้าวไรซ์เบอรี่
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      25 มกราคม 2563 ถึง 8 กุมภาพันธ์ 2563
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      1. ทราบสายพันธุ์ข้าวที่เหมาะสมกับชุมชนเป้าหมาย
      2. ราบข้อมูลการเพาะปลูก ดูแล เก็บเกี่ยว การใช้พื้นที่เพาะปลูก และผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ อย่างละเอียด
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ

      ค่าเบี้ยเลี้ยงผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 2 คน x 250 บาทต่อ ซม. x 6 ซม.ต่อวัน x 14 วัน เท่ากับ 42,000 บาท

      2 คน 1,500 14 42,000
      ค่าตอบแทนการประสานงาน

      ค่าเบี้ยเลี้ยงผู้ช่วยวิจัยจำนวน 8 คน x 40 บาทต่อ ซม. X 14 วัน x 6 ซม. ต่อวัน เท่ากับ 26,880 บาท

      8 คน 240 14 26,880
      รวมค่าใช้จ่าย 68,880

      กิจกรรมที่ 3 เก็บรวบรวมข้อมูลของเกษตรกรในพื้นที่เป้าหมาย

      ชื่อกิจกรรม
      เก็บรวบรวมข้อมูลของเกษตรกรในพื้นที่เป้าหมาย
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        ออกสัมภาษณ์เกษตรกรในเขตพื้นที่เป้าหมาย จำนวน 50 คน เพื่อเก็บข้อมูลดังนี้
        1. พื้นที่เพาะปลูกข้าวในปัจจุบัน
        2. เงินลงทุนต่อปี
        3. ระยะเวลาในการเพาะปลูก
        4. ขั้นตอนและกิจกรรมในการเพาะปลูกข้าวแต่ละปี
        5. แนวโนมของการเพาะปลูกข้าว
        6. ฯลฯสำรวจและวิเคราะห์ราคารับซื้อข้าวสายพันธุ์ต่างๆ ตามจุดรับซื้อในเขตพื้นที่ใกล้เคียงและจุดรับซื้อหลักต่างๆ และสำรวจราคาเมล็ดพันธุ์ข้าวสายพันธุ์ต่างๆ
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        9 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 19 กุมภาพันธ์ 2563
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        1. ทราบความต้องการและราคารับซื้อข้าวสายพันธุ์ต่างๆ
        2. ทราบแนวโน้มของราคารับซื้อข้าวของประเทศไทย ซึ่งสามารถนำไปวางแผนการเพาะปลูกข้าวสายพันธุ์ต่างๆ ที่เหมาะสมกับราคา ณ ช่วงเวลานั้น
        3. ทราบราคาเมล็ดพันธุ์ข้าวสายพันธุ์ต่างๆ ที่ขายตามท้องตลาดแต่ละช่วงเวลา
        อย่างน้อย 30 ร้าน
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        ค่าตอบแทนการประสานงาน

        ค่าเบี้ยเลี้ยงผู้ติดต่อประสานงานจำนวน 2 คน x 40 บาทต่อ ซม. X 10 วัน x 6 ซม. ต่อวัน เท่ากับ 4,800 บาท

        2 คน 240 10 4,800
        ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ

        ค่าเบี้ยเลี้ยงผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 2 คน x 250 บาทต่อ ซม. x 6 ซม.ต่อวัน x 10 วัน เท่ากับ 30,000 บาท

        2 คน 1,500 10 30,000
        รวมค่าใช้จ่าย 34,800

        กิจกรรมที่ 4 แผนการเพาะปลูกข้าวของเกษตรกรในชุมชนเป้าหมาย

        ชื่อกิจกรรม
        แผนการเพาะปลูกข้าวของเกษตรกรในชุมชนเป้าหมาย
        วัตถุประสงค์
          รายละเอียดกิจกรรม
          วิจัยแผนการเพาะปลูกข้าวของเกษตรกรในชุมชนเป้าหมาย
          ระยะเวลาดำเนินงาน
          20 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2563
          ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
          ทราบว่าคนในชุมชนเป้าหมายควรเพาะปลูกข้าวสายพันธุ์ใดที่ให้ปริมาณผลผลิต มูลค่าหรือกำไรสูงที่สุดและมีความเหมาะสมกับราคา
          ทรัพยากรอื่น ๆ
          ภาคีร่วมสนับสนุน
          รายละเอียดงบประมาณ
          ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
          ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ

          ค่าเบี้ยเลี้ยงผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 2 คน x 250 บาทต่อ ซม. x 4 ซม.ต่อวัน x 9 วัน เท่ากับ 18,000 บาท

          2 คน 1,000 9 18,000
          ค่าตอบแทนการประสานงาน

          ค่าเบี้ยเลี้ยงผู้ช่วยวิจัยจำนวน 4 คน x 40 บาทต่อ ซม. X 9 วัน x 4 ซม. ต่อวัน เท่ากับ 5,760 บาท

          4 คน 160 9 5,760
          ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ

          ค่าซอฟต์แวร์ประกอบการวิจัย (โปรแกรม LINGO) เท่ากับ 25,000 บาท

          1 คน 25,000 1 25,000
          รวมค่าใช้จ่าย 48,760

          กิจกรรมที่ 5 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการทำนาข้าวแต่ละสายพันธุ์

          ชื่อกิจกรรม
          อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการทำนาข้าวแต่ละสายพันธุ์
          วัตถุประสงค์
            รายละเอียดกิจกรรม
            อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการทำนาข้าวแต่ละสายพันธุ์ เพื่อให้เกษตรกรมีพันธุ์ข้าวทางเลือกที่ให้ราคาสูงกว่าปัจจุบันและสามารถและอบรมเชิงปฏิบัติการทำปุ๋ยอินทรีย์เพื่อลดต้นทุนการทำนาข้าวอย่างยั่งยืน จำนวน 2 วัน
            ระยะเวลาดำเนินงาน
            29 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 1 มีนาคม 2563
            ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
            1. ประชาชนมีองค์ความรู้ในการทำนาข้าวและการทำปุ๋ยอินทรีย์
            2. ประชาชนสามารถผลิตปุ๋ยอินทรีย์ได้
            3. ประชาชนเกิดความเชื่อมั่นและเห็นถึงความพยายามในการแก้ไขปัญหาความยากจนของรัฐบาล
            4. ประชาชนได้รับเมล็ดข้าวไรซ์เบอรี่ไปทดลองปลูก
            ทรัพยากรอื่น ๆ
            ภาคีร่วมสนับสนุน
            รายละเอียดงบประมาณ
            ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
            ค่าตอบแทนวิทยากร

            ค่าเบี้ยเลี้ยงผู้วิทยากรจำนวน 2 คน x 600 บาทต่อ ซม. X 2 วัน x 8 ซม. ต่อวัน เท่ากับ 19,200 บาท

            2 คน 4,800 2 19,200
            ค่าตอบแทนวิทยากร

            ค่าเบี้ยเลี้ยงผู้ติดต่อประสานงานจำนวน 8 คน x 40 บาทต่อ ซม. X 2 วัน x 8 ซม. ต่อวัน เท่ากับ 5,120 บาท

            8 คน 320 2 5,120
            ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ

            ค่าเบี้ยเลี้ยงผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 4 คน x 250 บาทต่อ ซม. x 8 ซม.ต่อวัน x 2 วัน เท่ากับ 32,000 บาท

            8 คน 2,000 2 32,000
            ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

            ค่าตอบแทนประชาชนที่ให้ข้อมูลจำนวน 50 คน x 300 บาทต่อคน เท่ากับ 15,000 บาท

            50 คน 300 1 15,000
            ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

            ค่าจ้างเหมารถตู้ 1,800 บาทต่อวัน x 2 วัน เท่ากับ 3,600 บาท

            1 ครั้ง 1,800 2 3,600
            ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

            ค่าน้ำมันเดินทาง 500 บาทต่อวัน x 2 วัน เท่ากับ 1,000 บาท

            1 ครั้ง 500 2 1,000
            ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

            ค่าเมล็ดพันธุ์ข้าว 50,000 บาท

            1 ชุด 50,000 1 50,000
            ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

            ค่าจัดทำ Backdrop 5,000 บาท

            1 ชิ้น 5,000 1 5,000
            รวมค่าใช้จ่าย 130,920

            กิจกรรมที่ 6 ประชาชนเพาะปลูกข้าวตามคำแนะนำของผู้ทรงคุณวุฒิและเก็บเกี่ยว

            ชื่อกิจกรรม
            ประชาชนเพาะปลูกข้าวตามคำแนะนำของผู้ทรงคุณวุฒิและเก็บเกี่ยว
            วัตถุประสงค์
              รายละเอียดกิจกรรม
              ประชาชนเพาะปลูกข้าวตามคำแนะนำของผู้ทรงคุณวุฒิและเก็บเกี่ยว
              ระยะเวลาดำเนินงาน
              2 มีนาคม 2563 ถึง 1 เมษายน 2563
              ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
              1. ผลผลิตหรือปริมาณข้าวที่ได้เพิ่มขึ้น
              2. เกษตรกรชุมชนเป้าหมายมีต้นทุนการเพาะปลูกต่ำลง
              3. สามารถขายข้าวให้กับจุดรับซื้อและมีกำไรเพิ่มขึ้น
              ทรัพยากรอื่น ๆ
              ภาคีร่วมสนับสนุน
              รายละเอียดงบประมาณ
              ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
              รวมค่าใช้จ่าย 0

              กิจกรรมที่ 7 การติดตามผล

              ชื่อกิจกรรม
              การติดตามผล
              วัตถุประสงค์
                รายละเอียดกิจกรรม
                การติดตามและประเมินผลแบ่งออกเป็น 2 ด้าน คือการประเมินผลเชิงปริมาณและการประเมินผลเชิงคุณภาพ ซึ่งผู้ดำเนินโครงการได้กำหนดตัวชีวัดดังต่อไปนี้
                ด้านปริมาณ
                - จำนวนประชาชนในเขตชุมชนบ้านเปลือย ตำบลยางตลาด อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ เข้าร่วมโครงการจำนวน 50 คน
                - จำนวนผู้รับผิดชอบโครงการ 8 คน
                ด้านคุณภาพ
                - เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีกำไรจากการขายข้าวเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 10
                - เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีผลผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 10
                - ความพึงพอใจของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
                ระยะเวลาดำเนินงาน
                2 เมษายน 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563
                ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
                1. ประชาชนสามารถดูแลการเพาะปลูกได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
                2. ผลผลิตเป็นไปตามความคาดหวัง
                3. ทราบข้อมูลการเพราะปลูกที่มีความต่อเนื่อง
                ทรัพยากรอื่น ๆ
                ภาคีร่วมสนับสนุน
                รายละเอียดงบประมาณ
                ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
                ค่าตอบแทนการประสานงาน

                - ค่าเบี้ยเลี้ยงผู้ติดต่อประสานงานจำนวน 4 คน x 40 บาทต่อ ซม. X 14 วัน x 3 ซม. ต่อวัน เท่ากับ 6,720 บาท

                4 คน 120 14 6,720
                ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ

                ค่าเบี้ยเลี้ยงผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 2 คน x 250 บาทต่อ ซม. x 3 ซม.ต่อวัน x 14 วัน เท่ากับ 21,000 บาท

                2 คน 750 14 21,000
                ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

                ค่าจ้างเหมารถตู้ 1,800 บาทต่อวัน x 14 วัน เท่ากับ 25,200 บาท

                1 ครั้ง 1,800 14 25,200
                ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

                - ค่าน้ำมันเดินทาง 500 บาทต่อวัน x 14 วัน เท่ากับ 7,000 บาท

                1 ครั้ง 500 14 7,000
                รวมค่าใช้จ่าย 59,920

                กิจกรรมที่ 8 อบรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์หรือสินค้าจากข้าวและปิดโครงการ

                ชื่อกิจกรรม
                อบรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์หรือสินค้าจากข้าวและปิดโครงการ
                วัตถุประสงค์
                  รายละเอียดกิจกรรม
                  อบรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์หรือสินค้าจากข้าวและปิดโครงการ
                  ระยะเวลาดำเนินงาน
                  1 กรกฎาคม 2563 ถึง 1 กรกฎาคม 2563
                  ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
                  ประชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องการปลูกข้าวไรซ์เบอรี่
                  ทรัพยากรอื่น ๆ
                  ภาคีร่วมสนับสนุน
                  รายละเอียดงบประมาณ
                  ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
                  ค่าตอบแทนวิทยากร

                  ค่าเบี้ยเลี้ยงผู้วิทยากรจำนวน 2 คน x 600 บาทต่อ ซม. X 1 วัน x 8 ซม. ต่อวัน เท่ากับ 9,600 บาท

                  2 คน 4,800 1 9,600
                  ค่าตอบแทนการประสานงาน

                  ค่าเบี้ยเลี้ยงผู้ติดต่อประสานงานจำนวน 8 คน x 40 บาทต่อ ซม. X 1 วัน x 8 ซม. ต่อวัน เท่ากับ 2,560 บาท

                  8 คน 320 1 2,560
                  ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ

                  ค่าเบี้ยเลี้ยงผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 4 คน x 250 บาทต่อ ซม. x 8 ซม.ต่อวัน x 1 วัน เท่ากับ 16,000 บาท

                  8 คน 2,000 1 16,000
                  ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

                  ค่าตอบแทนประชาชนที่ให้ข้อมูลจำนวน 50 คน x 300 บาทต่อคน เท่ากับ 15,000 บาท

                  50 คน 300 1 15,000
                  ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

                  ค่าจ้างเหมารถตู้ 1,800 บาทต่อวัน x 1 วัน เท่ากับ 1,800 บาท

                  1 ครั้ง 1,800 1 1,800
                  ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

                  ค่าน้ำมันเดินทาง 500 บาทต่อวัน x 1 วัน เท่ากับ 500 บาท

                  1 ครั้ง 500 1 500
                  ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

                  - ค่าอุปกรณ์หรือสื่อ 10,000 บาท

                  1 ชุด 10,000 1 10,000
                  ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

                  ค่าจัดทำ Backdrop 5,000 บาท

                  1 ชุด 5,000 1 5,000
                  รวมค่าใช้จ่าย 60,460

                  กิจกรรมที่ 9 สรุปโครงการ

                  ชื่อกิจกรรม
                  สรุปโครงการ
                  วัตถุประสงค์
                    รายละเอียดกิจกรรม
                    สรุปโครงการ
                    ระยะเวลาดำเนินงาน
                    2 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 กรกฎาคม 2563
                    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
                    ทรัพยากรอื่น ๆ
                    ภาคีร่วมสนับสนุน
                    รายละเอียดงบประมาณ
                    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
                    ค่าถ่ายเอกสาร

                    ค่าจัดทำและเตรียมเอกสาร 9000 บาท

                    1 ชุด 9,000 1 9,000
                    รวมค่าใช้จ่าย 9,000

                    รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 499,280.00 บาท

                    ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
                    ค่าใช้จ่าย (บาท) 365,080.00 20,000.00 64,200.00 50,000.00 499,280.00
                    เปอร์เซ็นต์ (%) 73.12% 4.01% 12.86% 10.01% 100.00%

                    11. งบประมาณ

                    499,280.00บาท

                    12. การติดตามประเมินผล

                    ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
                    ผลผลิต (Output) ชุมชนมีรายได้จากการปลูกข้าวมากขึ้น นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้เข้ามาใช้ในการดำรงชีวิตและนำไปประกอบอาชีพหรือแนะนำคนในครอบครัวได้
                    ผลลัพธ์ (Outcome) ประชาชนในชุมชนมีองค์ความรู้เกี่ยวกับการทำเกษตรกรรม (เพาะปลูกข้าว) ให้ถูกต้องตามหลักสมดุลทางการตลาด กล่าวคือเกษตรกรจะสามารถผลิตข้าวตามความต้องการซื้อของตลาดอย่างเหมาะสม
                    ทำให้สามารถแก้ไขปัญหาการผลิตข้าวล้นตลาดและปัญหาราคาข้าวตกต่ำได้ ทั้งนี้โครงการยังทำให้เกษตรกรมีผลผลิตที่มาขึ้นสามารถสร้างกำไรจากการประกอบอาชีพหลักเพิ่มขึ้นอย่างยั่งยืน ซึ่งวัดได้จากเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีกำไรจากการขายข้าวและมีผลผลิตเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 10
                    นักศึกษามีความสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ซึ่งเป็นการฝึกการทำงานด้วยประสบการณ์จริง อีกทั้งสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้รับจากการแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกันกับชุมชนไปใช้ในการประกอบอาชีพและพัฒนาประเทศชาติต่อไป
                    ผลกระทบ (Impact) เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีกำไรจากการขายข้าวเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 10
                    - เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีผลผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 10
                    - ความพึงพอใจของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
                    นักศึกษามีประสบการณ์การทำงานในระหว่างเรียนได้เป็นอย่างดี
                    นำเข้าสู่ระบบโดย kriangkrai.sa01 kriangkrai.sa01 เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 20:04 น.