ระบบปลูกอ้อยเพื่อรองรับการห้ามใช้สารกำจัดวัชพืช

แบบเสนอโครงการ
ระบบปลูกอ้อยเพื่อรองรับการห้ามใช้สารกำจัดวัชพืช

1. ชื่อโครงการ

ระบบปลูกอ้อยเพื่อรองรับการห้ามใช้สารกำจัดวัชพืชมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพบ้านกลางหมื่น ตำบลกลางหมื่น อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ผู้ช่วยศาสตรจารย์สายัญ พันธ์สมบูรณ์62/1 ถนนเกษตรสมบูรณ์ ตำบลกาฬสินธุ์ อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์064-3233579 sayun.ph@ksu.ac.th1. นายชินกร ทองด่านเหนือ วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์ รหัสนักศึกษา 614321022016-8 เลขประจำตัวประชาชน 1102003108588
2.นางสาววิลาวรรณ นันสมบัติ วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์ รหัสนักศึกษา 614321022005-1 เลขประจำตัวประชาชน1469900486689
3.นายนนทวัช หนองสูง วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์ รหัสนักศึกษา 614321022007-7เลขประจำตัวประชาชน1460500288176
4. นางสาววรรณพร เรืองรัมย์ วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์ รหัสนักศึกษา 614321022008-8 เลขประจำตัวประชาชน1469900483752
5. นายชากร ภูมงคล วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์ รหัสนักศึกษา 614321022010-1 เลขประจำตัวประชาชน1469900489131
6.นายอนุรุทธ์ แจ่มคล้าย วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์รหัสนักศึกษา 614321022012-7 เลขประจำตัวประชาชน1119700051860
7.นางสาวชลธิชา อุดรรุ่ง วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์ รหัสนักศึกษา 614321022015-0 เลขประจำตัวประชาชน1469900501831
8.นายกุลธร สมร รัฐปศาสนศาตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ รหัสนักศึกษา 621680001001-5 เลขประจำตัวประชาชน 1461301216946
9.นายศุภวิชญ์ ท้าวนอก รัฐปศาสนศาตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์รหัสนักศึกษา 621680001006-4 เลขประจำตัวประชาชน 1461301217934
10. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สายัญ พันธ์สมบูรณ์ อาจารย์ที่ปรึกษางานงานวิจัย สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปิยะพงษ์ บุญสรรค์ อาจารย์ที่ปรึกษางานงานวิจัย สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
12. อาจารย์ ดร.อยุธย์ คงปั้น อาจารย์ที่ปรึกษางานงานวิจัย สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
13. อาจารย์อิทธิพล ขึมภูเขียว อาจารย์ที่ปรึกษางานงานวิจัย สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
14. อาจารย์ ดร.ปุญญิศา ชารีรักษ์ อาจารย์ที่ปรึกษางานงานวิจัย สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
15. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดำรงค์ ก่องดวง อาจารย์ที่ปรึกษางานงานวิจัย สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
16. รองศาสตราจารย์ ดร.กตัญญู แก้วหานาม อาจารย์ที่ปรึกษางานงานวิจัย สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ เมืองกาฬสินธุ์ กลางหมี่น
กาฬสินธุ์ เมืองกาฬสินธุ์ กลางหมี่น ชนบท

3. รายละเอียดชุมชน

ตำบลกลางหมื่น ประกอบด้วยหมู่บ้าน หมู่1 บ้านหนองกลางโคก , หมู่2 บ้านหนองหัวช้าง , หมู่3 บ้านหัวนาคำ , หมู่4 บ้านห้วยตูมเหนือ , หมู่5 บ้านห้วยตูม , หมู่6 บ้านห้วยตูม , หมู่7 บ้านน้ำบุ้น , หมู่8 บ้านเหล่ากลาง , หมู่9 บ้านโคกอุดม , หมู่10 บ้านวังแสนคำ , หมู่11 บ้านคำบอนจังหวัดกาฬสินธุ์มีพื้นที่ปลูกอ้อยทั้งหมด 432,111 ไร่ ปริมาณอ้อยทั้งหมด 5,021,133 ตัน พื้นที่เก็บเกี่ยวส่งโรงงาน 424,860 ตัน ปริมาณอ้อยส่งโรงงำน 4,936,871 ตัน ผลผลิต 11.62ตัน/ไร่คณะกรรมการวัตถุอันตรายได้ลงมติแบบเปิดเผยให้ปรับสารเคมีทั้ง 3 ชนิด ได้แก่ พาราควอต ไกลโฟเซต และคลอร์ไพริฟอส จากวัตถุอันตรายประเภทที่ 3 ให้เป็นวัตถุอันตรายประเภทที่ 4 กล่าวคือ ห้ามผลิต ห้ามนำเข้า ห้ามส่งออก และมีไว้ในครอบครอง มีผลตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2562 นั้น ทำให้เกษตรกรต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเรื่องการบริหารจัดการวัชพืชเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพสูงขึ้นในการป้องกันกำจัดวัชพืชในแปลงอ้อยอย่างเป็นระบบการบริหารจัดการวัชพืชเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพสูงขึ้นในการป้องกันกำจัดวัชพืชในแปลงอ้อยอย่างเป็นระบบโดยไม่ใช้สารเคมีกำจัดวัชพืช

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์มีภารกิจในการวิจัยและพัฒนาการผลิตพืช และอ้อยเป็นพืชหนึ่งที่มีการวิจัยมาอย่างต่อเนื่อง จนได้เทคโนโลยีการผลิตต่างๆ ที่เหมาะสม ดังนั้นควรนำแนวทางดังกล่าวมาปรับใช้และขยายผลเพื่อเพิ่มเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเรื่องการบริหารจัดการวัชพืชเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพสูงขึ้นในการป้องกันกำจัดวัชพืชในแปลงอ้อยอย่างเป็นระบบให้กับเกษตรกรในจังหวัดกาฬสินธุ์ โดยความร่วมมือของภาคเอกชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ทำให้สามารถเพิ่มผลผลิตและรายได้ให้กับเกษตรกร ก่อให้เกิดความยั้งยืนในภาคการผลิต ตั้งแต่ระดับเกษตรกรจนถึงภาคอุตสาหกรรม ทำให้เกษตรกรตระหนักถึงความจำเป็นในการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ที่นอกจากจะทำให้มีรายได้เพิ่มแล้ว ยังช่วยให้เกิดการพัฒนาทรัพยากรต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ บนพื้นฐานของการอนุรักษ์ เกิดความร่วมมือและความเข้าใจระหว่างเกษตรกรและภาคเอกชนโดยมีภาครัฐเป็นผู้เชื่อมโยง และสนับสนุนความรู้และเทคโนโลยีที่จำเป็น

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเรื่องการบริหารจัดการวัชพืชเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพสูงขึ้นในการป้องกันกำจัดวัชพืชในแปลงอ้อยอย่างเป็นระบบโดยไม่ใช้สารเคมีกำจัดวัชพืช

เกษตรกรงการบริหารจัดการวัชพืชเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพสูงขึ้นในการป้องกันกำจัดวัชพืชในแปลงอ้อยอย่างเป็นระบบโดยไม่ใช้สารเคมีกำจัดวัชพืช ร้อยละ 100

100.00 100.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
เกษตรกรผู้ปลูกอ้อย 30

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การคัดเลือกเกษตรกรผู้นำหรือเกษตรกรต้นแบบ

ชื่อกิจกรรม
การคัดเลือกเกษตรกรผู้นำหรือเกษตรกรต้นแบบ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเรื่องการบริหารจัดการวัชพืชเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพสูงขึ้นในการป้องกันกำจัดวัชพืชในแปลงอ้อยอย่างเป็นระบบโดยไม่ใช้สารเคมีกำจัดวัชพืช
รายละเอียดกิจกรรม
1 ประชุมชี้แจงรูปแบบและวิธีการดำเนินโครงการกับทีมวิจัย
2 วางแผนถ่ายทอดเทคโนโลยี ดังนี้
1) การคัดเลือกเกษตรกรผู้นำหรือเกษตรกรต้นแบบ โดยมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ จำนวน 90 ราย
2) จัดเตรียมหลักสูตร เอกสารการฝึกอบรม สถานที่ และวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ สำหรับการฝึกอบรม
ระยะเวลาดำเนินงาน
30 พฤศจิกายน 2562 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
เกษตรกรผู้นำหรือเกษตรกรต้นแบบ จำนวน 90 ราย
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
รวมค่าใช้จ่าย 0

กิจกรรมที่ 2 ฝึกอบรมเกษตรกรต้นแบบโดยให้สอดคล้องกับการปฏิบัติในแปลง

ชื่อกิจกรรม
ฝึกอบรมเกษตรกรต้นแบบโดยให้สอดคล้องกับการปฏิบัติในแปลง
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเรื่องการบริหารจัดการวัชพืชเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพสูงขึ้นในการป้องกันกำจัดวัชพืชในแปลงอ้อยอย่างเป็นระบบโดยไม่ใช้สารเคมีกำจัดวัชพืช
รายละเอียดกิจกรรม
3) จัดการฝึกอบรมเกษตรกรต้นแบบโดยให้สอดคล้องกับการปฏิบัติในแปลง ได้แก่
1) เทคโนโลยีการใส่ปุ๋ย เพื่อสาธิตการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน เปรียบเทียบกับการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินที่เป็นการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยเคมี และการใส่ปุ๋ยตามวิธีที่เกษตรกรนิยมปฏิบัติ
2) เทคโนโลยีการจัดการศัตรูพืช ได้แก่ การจัดการวัชพืช รวมทั้งศัตรูพืชชนิดอื่นๆ
3) เทคโนโลยีการใช้เครื่องจักรกลการเกษตร เพื่อสาธิตการใช้เครื่องจักรกลการเกษตรในการผลิตอ้อย ตั้งแต่การเตรียมดิน การปลูก การกำจัดวัชพืช การเก็บเกี่ยว
4 กิจกรรมแปลงต้นแบบ ดำเนินการในแปลงเกษตรกรผู้นำ หรือเกษตรกรต้นแบบ จำนวน 90 ราย โดยมีการให้คำแนะนำ ติดตามและประเมินผลการนำเทคโนโลยีที่เกษตรกรเรียนรู้ไปปฏิบัติในแปลงต้นแบบ
5. กิจกรรมสรุปบทเรียน จัดกิจกรรมสรุปบทเรียนร่วมกับเกษตรกร กลุ่มสหกรณ์ และเจ้าหน้าที่โรงงาน เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมกันวิเคราะห์ และสรุปผลการดำเนินงาน หรือวางแนวทางการพัฒนาหรือขยายผลร่วมกัน
6. การประเมินความแตกต่างของผลผลิต และผผลตอบแทน สำรวจและจัดทำฐานข้อมูลพื้นฐานของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ เทคโนโลยีการผลิตและวิธีปฏิบัติต่างๆ ผลผลิต ต้นทุน และผลตอบแทน ได้รับจากการผลิตอ้อยหลังก่อนเข้าร่วมโครงการ เปรียบเทียบกับเมื่อนำเทคโนโลยีที่ได้เรียนรู้ไปปฏิบัติรวมทั้งสำรวจความพึงพอใจ ข้อจำกัดของเทคโนโลยี และการยอมรับเทคโนโลยี
ระยะเวลาดำเนินงาน
19 ธันวาคม 2562 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
เกษตรกรสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเรื่องการบริหารจัดการวัชพืชเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพสูงขึ้นในการป้องกันกำจัดวัชพืชในแปลงอ้อยอย่างเป็นระบบโดยไม่ใช้สารเคมีกำจัดวัชพืช ร้อยละ 100
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร 40 ชั่วโมง x ชั่วโมงละ 600 บาทx 7 คน

7 คน 600 40 168,000
อื่น ๆ

ปฏิบัติงานล่วงเวลา วันจันทร์-ศุกร์ 38 ชั่วโมง x ชั่วโมงละ 50 บาท x 7 คน

7 คน 50 32 11,200
อื่น ๆ

ปฏิบัติงานนักศึกษาผู้วิจัย 45 ชั่วโมง x ชั่วโมงละ 120 บาทx 14 คน

14 คน 120 45 75,600
ค่าอาหาร

ค่าอาหารเกษตกรช่วงคัดเลือก 120 บาท/มื้อ/คน *1 มื้อ * 2 ครั้ง *180 คน

180 คน 120 2 43,200
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างเกษตกรช่วงคัดเลือก 25 บาท/มื้อ/คน *2 มื้อ * 2 ครั้ง *180 คน

180 คน 50 2 18,000
ค่าอาหาร

อาหารกลางวันทีมวิจัย (12 คน ๆ ละ 80 บาท × 45 ครั้ง)

12 คน 80 45 43,200
ค่าอาหาร

ค่าอาหารเกษตกร 120 บาท/มื้อ/คน *1 มื้อ * 7 ครั้ง *90 คน

90 คน 120 7 75,600
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างเกษตกร 25 บาท/มื้อ/คน *2 มื้อ * 7 ครั้ง *90 คน

90 คน 50 7 31,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าเอกสารประกอบการฝึกอบรมเกษตรกร 261 บาท * 100 ชุด

100 คน 263 1 26,300
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าเดินทาง (4 บาท× 30 กิโลเมตรx 45 ครั้ง)

45 คน 4 30 5,400
ค่าวัสดุสำนักงาน

จ้างถ่ายเอกสารรูปเล่มรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ (10 เล่ม x 200 บาท)

10 คน 200 1 2,000
รวมค่าใช้จ่าย 500,000

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 168,000.00 216,900.00 28,300.00 86,800.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 33.60% 43.38% 5.66% 17.36% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) เกษตรกรต้นแบบ จำนวน 90 คน นักศึกษาเทียบโอนผลการเรียนรายวิชาในหลักสูตรระดับปริญญาตรี ดังนี้
นักศึกษาหลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์
เทียบรหัสวิชา 03-021-207 วัชพืชและการป้องกันกำจัด 3(3-2-5)
นักศึกษาหลักสูตร รัฐปศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐปศาสนศาสตร์
เทียบรหัสวิชา 10201501 การเมืองการปกครองไทย 3(3-0-6)
ผลลัพธ์ (Outcome) เกษตรกรสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเรื่องการบริหารจัดการวัชพืชเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพสูงขึ้นในการป้องกันกำจัดวัชพืชในแปลงอ้อยอย่างเป็นระบบโดยไม่ใช้สารเคมีกำจัดวัชพืช สามารถดำเนินการบริหารจัดการวัชพืชเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพสูงขึ้นในการป้องกันกำจัดวัชพืชในแปลงอ้อยอย่างเป็นระบบโดยไม่ใช้สารเคมีกำจัดวัชพืช
ผลกระทบ (Impact) เกษตรกรในชุมชนสามารถดำเนินการหยุดใช้สารกำจัดวัชพืชและจัดการแปลงปลูกอ้อยของตัวเองได้อย่างเป็นระบบโดยไม่กระทบผลผลิตอ้อยและต้นทุนการผลิตของเกษตรกร นักศึกษาหลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์ เรียนรู้การประยุกต์ใช้หลักวิทยาศาสตร์เกษตรในการแก้ไขปัญหาชุมชนอย่างเป็นระบบ
นำเข้าสู่ระบบโดย sayun42_ksu.ac.th sayun42_ksu.ac.th เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 19:53 น.