การใช้เทคโนโลยีการอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับความร้อนจากรังสีอินฟราเรดเพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิต และเพิ่มมูลค่าสินค้าของกลุ่มวิสาหกิจแปรรูปปลาท่าเรือภูสิงห์ จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
การใช้เทคโนโลยีการอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับความร้อนจากรังสีอินฟราเรดเพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิต และเพิ่มมูลค่าสินค้าของกลุ่มวิสาหกิจแปรรูปปลาท่าเรือภูสิงห์ จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

การใช้เทคโนโลยีการอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับความร้อนจากรังสีอินฟราเรดเพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิต และเพิ่มมูลค่าสินค้าของกลุ่มวิสาหกิจแปรรูปปลาท่าเรือภูสิงห์ จังหวัดกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามศูนย์วิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเทศบาลตำบลภูสิงห์บ้านท่าเรือภูสิงห์อาจารย์กลยุทธ ดีจริง ดร.ธนชัย พลเคน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พันธิวา แก้วมาตย์ ดร.อัครพงศ์ วงศ์พัฒน์ อาจารย์อังสุมา ก้านจักรเลขที่ 80 ต.ตลาด อ.เมือง จ.มหาสารคาม 4400008176991961.นางสาวจิระญา อุปดิษฐ รหัสนักศึกษา 603120020105 หลักสูตร วท.บ.ชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
2.นางสาวนาฏยา นามจำปา รหัสนักศึกษา 6031200201133 หลักสูตร วท.บ.ชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
3.นางสาวณัฐธิดา วงค์อนุ รหัสนักศึกษา 603120030104 หลักสูตร วท.บ.ฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
4.นางสาวสุวนันท์ ปิ่นจรัญ รหัสนักศึกษา 603120030112 หลักสูตร วท.บ.ฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
5.นางสาวปริสตา ทิพนัส รหัสนักศึกษา 603410070105 หลักสูตร ค.บ.ฟิสิกส์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
6.นางสาววนิดาสุขวิสัย รหัสนักศึกษา 603410070108 หลักสูตร ค.บ.ฟิสิกส์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
7.นางสาวศิริพร วิกล รหัสนักศึกษา 603120040113 หลักสูตร วท.บ.คณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
8.นางสาวเจตสุภา เหลาไชย รหัสนักศึกษา 603120040103 หลักสูตร วท.บ.คณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
9.นายวราเทพ มะหันต์ รหัสนักศึกษา 613130120131 หลักสูตร ศศ.บ.สังคมศึกษา คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
10.นายวิฑูรย์ วรรณสุทธิ์ รหัสนักศึกษา 613130120132 หลักสูตร ศศ.บ.สังคมศึกษา คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ สหัสขันธ์ ภูสิงห์ พื้นที่เฉพาะ:ลุ่มน้ำ

3. รายละเอียดชุมชน

กลุ่มวิสาหกิจแปรรูปปลาท่าเรือภูสิงห์ ตั้งอยู่ที่ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เกิดจากการรวมกลุ่มของเกษตรบ้านท่าเรือภูสิงห์ โดยมีนายสัมฤทธิ์ จัตุเทน เป็นประธานกลุ่ม ปัจจุบันมีจำนวนสมาชิกประมาณ 30 คน กลุ่มเกษตรกรยังได้จำหน่ายปลาสดที่ทำการประมงได้จากเขื่อนลำปาวให้กับพ่อค้าแม่ค้าเพื่อนำไปขายตามตลาด เมื่อปริมาณปลาจากแหล่งธรรมชาติออกสู่ตลาดมากทำให้ราคาปลาต่ำ กลุ่มเกษตรกรจึงทำการแปรรูปปลา ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มเช่น ปลาแก้วตากแห้ง ปลานิลเส้นแดดเดียว ปลาส้ม เป็นต้น เพื่อจำหน่ายในช่วงราคาสินค้าตกต่ำ และมีช่องทางการจัดจำหน่ายตามหมู่บ้าน งานแสดงสินค้าผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรและ OTOPกลุ่มเกษตรกรสามารถทำการประมงบริเวณเขื่อนลำปาวได้ตลอดทั้งปี โดยมีปลาเป็นวัตถุดิบในการแปรรูปจำนวนมาก ผลิตภัณฑ์แปรรูปที่หลากหลาย1. การแปรรูปปลาซิวแก้ว และปลานิลเส้นแดดเดียว กระบวนการผลิตของกลุ่มเกษตรยังใช้วิธีการแบบดั้งเดิมโดยการตากแดดธรรมชาติ ในการทำแห้งปลาในช่วงวันที่แดดจัดใช้ระยะเวลาประมาณ 2-3 วันช่วงวันที่สภาพอากาศไม่อำนวยต้องใช้เวลานานยิ่งขึ้นหรือไม่สามารถผลิตได้
2. ปัญหาด้านแมลง ฝุ่นละอง ทำให้ผลิตภัณฑ์ไม่ได้คุณภาพ ส่งผลต่อการขอการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ความเชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์ทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค รวมทั้งสูญเสียโอกาสทางการค้า
3. ขาดนวัตกรรม และองค์ความรู้ในการพัฒนาการอบแห้งปลา
เทคโนโลยีการอบแห้งที่เหมาะสมในสภาวะอากาศ หรือสถานการณ์ที่มีความแตกต่างกันตามช่วงเวลา และกระบวนการอบแห้งที่สามารถเพิ่มศักยภาพในกระบวนการผลิตให้มากขึ้น ยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้ได้การรับรองคุณภาพ และเพิ่มรายได้ของกลุ่มเกษตรกร

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

องค์ความรู้การสร้างเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับแหล่งความร้อนจากรังสีอินฟราเรด
องค์ความรู้การอบแห้งปลาด้วยเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับแหล่งความร้อนจากรังสีอินฟราเรด

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการอบแห้งปลาสู่พื้นที่ โดยนักศึกษาเป็นผู้ปฏิบัติงานหลักร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษาและผู้นำชุมชน

นักศึกษา อาจารย์ ผู้นำชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในการถ่ายทอดองค์ความรู้
ผู้เข้าร่วมโครงการต่อกลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80 สามารถนำองค์ความรู้นำไปใช้จริง

40.00 1.00
2 เพื่อพัฒนาคุณภาพปลาอบแห้งให้เป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน

ผลิตปลาอบแห้งได้ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนในด้านคุณลักษณะที่ต้องการ

40.00 1.00
3 เพื่อส้รางแหล่งเรียนรู้ในชุมชนสำหรับประชาชนในพื้นที่ และกลุ่มวิสาหกิจชุมชนอื่นที่สนใจ

แหล่งเรียนรู้การอบแห้งปลาจำนวน 1 แหล่ง

20.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มวิสาหกิจแปรรูปปลาท่าเรือภูสิงห์ 50
นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 10
อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 6

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การเตรียมความพร้อม

ชื่อกิจกรรม
การเตรียมความพร้อม
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการอบแห้งปลาสู่พื้นที่ โดยนักศึกษาเป็นผู้ปฏิบัติงานหลักร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษาและผู้นำชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม
จัดประชุมผู้เข้าร่วมโครงการ ครั้งที่ 1 ระหว่าง คณะทำงาน
จัดประชุมผู้เข้าร่วมโครงการ ครั้งที่ 2 ระหว่าง มหาวิทยาลัยและผู้นำชุมชน
จัดประชุมผู้เข้าร่วมโครงการ ครั้งที่ 3 ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด
จัดทำแผนพัฒนากระบวนการอบแห้งปลา
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
แนวทางการพัฒนาการอบแห้งปลาด้วยเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับแหล่งความร้อนจากรังสีอินฟราเรด
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
กลุ่มวิสาหกิจแปรรูปปลาท่าเรือภูสิงห์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าวัสดุในการอบรม ค่าเบี้ยเลี้ยง

50 คน 500 4 100,000
ค่าตอบแทนวิทยากร 6 คน 3,600 1 21,600
ค่าอาหาร 66 คน 200 3 39,600
ค่าตอบแทนการประสานงาน 3 คน 1,000 1 3,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ครั้ง 2,000 1 2,000
รวมค่าใช้จ่าย 166,200

กิจกรรมที่ 2 สร้างและทดสอบเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับรังสีอินฟราเรด

ชื่อกิจกรรม
สร้างและทดสอบเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับรังสีอินฟราเรด
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการอบแห้งปลาสู่พื้นที่ โดยนักศึกษาเป็นผู้ปฏิบัติงานหลักร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษาและผู้นำชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม
นักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา ออกแบบและสร้างเครื่องอบแห้งปลาด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับแหล่งความร้อนจากรังสีอินฟราเรด
นักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา ทดสอบสมรรถนะเครื่องอบแห้ง
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ได้เครื่องอบแห้งด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับแหล่งความร้อนจากรังสีอินฟราเรดต้นแบบ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
กลุ่มวิสาหกิจแปรรูปปลาท่าเรือภูสิงห์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

่คาวัสดุสร้างเครื่องอบแห้ง

1 ชุด 70,000 1 70,000
อื่น ๆ

ค่าวัตถุดิบ ปลาใช้ในการแปรรูป

1 ชุด 5,000 1 5,000
รวมค่าใช้จ่าย 75,000

กิจกรรมที่ 3 วิเคราะห์คุณภาพปลาอบแห้ง

ชื่อกิจกรรม
วิเคราะห์คุณภาพปลาอบแห้ง
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาคุณภาพปลาอบแห้งให้เป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม
วิเคราะห์คุณภาพทางอาหารและทางชีวภาพของปลาอบแห้ง
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พ.ค. 2563 ถึง 31 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลิตภัณฑ์ปลาอบแห้งมีความปลอดภัย และเป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
กลุ่มวิสาหกิจแปรรูปปลาท่าเรือภูสิงห์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าวิเคราะห์คุณภาพผลิตภัณฑ์

1 ชุด 50,000 1 50,000
อื่น ๆ

ค่าสารเคมี อุปกรณ์การทดสอบทางวิทยาศาสตร์

1 ชุด 25,000 1 25,000
อื่น ๆ

อุปกรณ์และสารเคมีเพื่อวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ และชีวภาพของพื้นที่แปรรูปผลิตภัณฑ์

1 ชุด 24,000 1 24,000
รวมค่าใช้จ่าย 99,000

กิจกรรมที่ 4 เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการอบแห้งการอบแห้งปลา

ชื่อกิจกรรม
เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการอบแห้งการอบแห้งปลา
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการอบแห้งปลาสู่พื้นที่ โดยนักศึกษาเป็นผู้ปฏิบัติงานหลักร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษาและผู้นำชุมชน
  2. เพื่อส้รางแหล่งเรียนรู้ในชุมชนสำหรับประชาชนในพื้นที่ และกลุ่มวิสาหกิจชุมชนอื่นที่สนใจ
รายละเอียดกิจกรรม
การอบรมปฏิบัติการการอบแห้งปลาด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับแหล่งความร้อนจากรังสีอินฟราเรด
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ชุมชนได้กระบวนการอบแห้งปลาและเครื่องอบแห้งต้นแบบสำหรับครัวเรือน
ชุมชนมีแหล่งเรียนรู้สำหรับถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับประชาชน กลุ่มเกษตรกรอื่นที่สนใจ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
กลุ่มวิสาหกิจแปรรูปปลาท่าเรือภูสิงห์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรในการถ่ายทอดเทคโนโลยี

6 คน 3,600 1 21,600
ค่าอาหาร 66 คน 200 1 13,200
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าวัสดุในการอบแห้ง

20 ชุด 1,000 1 20,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชุด 2,000 2 4,000
รวมค่าใช้จ่าย 58,800

กิจกรรมที่ 5 การติดตามและประเมินผล

ชื่อกิจกรรม
การติดตามและประเมินผล
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการอบแห้งปลาสู่พื้นที่ โดยนักศึกษาเป็นผู้ปฏิบัติงานหลักร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษาและผู้นำชุมชน
  2. เพื่อพัฒนาคุณภาพปลาอบแห้งให้เป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม
การติดตามและประเมินผลการดำเนินกิจกรรม
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าวัสดุสำนักงาน 66 ชุด 500 2 66,000
ค่าเช่ารถ 10 เที่ยว 2,000 1 20,000
รวมค่าใช้จ่าย 86,000

กิจกรรมที่ 6 การรายงานผล

ชื่อกิจกรรม
การรายงานผล
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    การจัดทำรายงานโครงการฉบับสมบูรณ์
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าวัสดุสำนักงาน 10 ชุด 1,500 1 15,000
    รวมค่าใช้จ่าย 15,000

    รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

    ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
    ค่าใช้จ่าย (บาท) 46,200.00 6,000.00 72,800.00 201,000.00 174,000.00 500,000.00
    เปอร์เซ็นต์ (%) 9.24% 1.20% 14.56% 40.20% 34.80% 100.00%

    11. งบประมาณ

    500,000.00บาท

    12. การติดตามประเมินผล

    ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
    ผลผลิต (Output) ชุมชนได้เครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับความร้อนจากรังสีอินฟราเรดได้กระบวนการอบแห้งปลาที่เหมาะสม ได้องค์ความรู้จากการเข้าร่วมโครงการที่เกิดจากการบูรณาการระหว่างหลักสูตรต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามร่วมกับชุมชน โดยได้โครงการวิจัยจำนวน 4 เรื่อง
    ผลลัพธ์ (Outcome) ชุมชนสามารถใช้เทคโนโลยีการอบแห้งเพิ่มศักยภาพการผลิต จำนวนผลผลิตตามความต้องการของตลาด ผลิตภัณฑ์เป็นที่ยอมรับ และมีรายได้เพิ่มขึ้น องค์ความรู้จากการทำโครงการได้นำมาเทียบโอนกับรายวิชาจำนวน 4 วิชา ดังนี้
    โครงการวิจัยทางชีววิทยา รหัสวิชา 2011401 หน่วยกิต 3 (2-2-5)
    โครงการวิจัยฟิสิกส์ 2 รหัสวิชา 2015408 หน่วยกิต 2 (1-2-3)
    โครงการวิจัยคณิตศาสตร์ รหัสวิชา 2017492 หน่วยกิต 3 (2-2-5)
    วิธีวิจัยวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา 2015323 หน่วยกิต 3 (2-2-5)
    ผลกระทบ (Impact) ชุมชนได้นำความรู้สู่การพัฒนาการอบแห้งปลา เพิ่มศักยภาพการผลิตที่สูงขึ้น และสามารถพึ่งพาตนเองได้ นักศึกษาได้องค์ความรู้และสามารถไปนำต่อยอด และประยุกต์ใช้กับชุมชนของตนเองได้
    นำเข้าสู่ระบบโดย konlayut konlayut เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 18:04 น.