การพัฒนาโรงเรือนอัจฉริยะเพื่อเพิ่มผลผลิตสำหรับการเพาะปลูกพืชผักอินทรีย์และเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวของเกษตรกรในพื้นที่ตำบลลำพาน อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
การพัฒนาโรงเรือนอัจฉริยะเพื่อเพิ่มผลผลิตสำหรับการเพาะปลูกพืชผักอินทรีย์และเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวของเกษตรกรในพื้นที่ตำบลลำพาน อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

การพัฒนาโรงเรือนอัจฉริยะเพื่อเพิ่มผลผลิตสำหรับการเพาะปลูกพืชผักอินทรีย์และเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวของเกษตรกรในพื้นที่ตำบลลำพาน อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร และสาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์เกษตรกรผู้ปลูกผักอินทรีย์ ตำบลลำพาน อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์นายภัคคิป ไกรโสดา62/1 มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ถนนเกษตรสมบูรณ์ตำบลกาฬสินธุ์ อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์089-41898961. นายจิรเดช เมืองโคตร / เลขบัตรประจำตัวประชาชน 1469900390789 /สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล (วศ.บ. วิศวกรรมเครื่องกล) / รายวิชาเทียบโอน 04-031-306 เครื่องยนต์สันดาปภายใน / จำนวน 3 หน่วยกิต
2. นายธนากร จันทะมาตร / เลขบัตรประจำตัวประชาชน 1461000174926 /สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล (วศ.บ. วิศวกรรมเครื่องกล) /รายวิชาเทียบโอน 04-031-306 เครื่องยนต์สันดาปภายใน / จำนวน 3 หน่วยกิต
3. นายศุภวัฒน์ คำวิภา / เลขบัตรประจำตัวประชาชน 1469900445061 /สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล (วศ.บ. วิศวกรรมเครื่องกล) /รายวิชาเทียบโอน 04-031-306 เครื่องยนต์สันดาปภายใน / จำนวน 3 หน่วยกิต
4. นายพุทธคุณ ภูชะอุ่ม / เลขบัตรประจำตัวประชาชน 14607002335550 /สาขาวิศวกรรมเครื่องกล (วศ.บ. วิศวกรรมเครื่องกล) /รายวิชาเทียบโอน 04-031-306 เครื่องยนต์สันดาปภายใน / จำนวน 3 หน่วยกิต
5. นายวัชรินทร์ บุญมา / เลขบัตรประจำตัวประชาชน 1279800071713 /สาขาวิศวกรรมเครื่องกล (วศ.บ. วิศวกรรมเครื่องกล) /รายวิชาเทียบโอน 08-035-407 โครงงานเทคโนโลยีเครื่องกล / จำนวน 3 หน่วยกิต
6. นายภัทราวุธ ชิณรักษา / เลขบัตรประจำตัวประชาชน 1460700238390 /สาขาวิศวกรรมเครื่องกล (วศ.บ. วิศวกรรมเครื่องกล) /รายวิชาเทียบโอน 08-035-407 โครงงานเทคโนโลยีเครื่องกล / จำนวน 3 หน่วยกิต
7. นายกษมา เพชรฤาชา / เลขบัตรประจำตัวประชาชน 1469900344132 /สาขาเทคโนโลยีการผลิตพืช (วท.บ. เทคโนโลยีการผลิตพืช) /รายวิชาเทียบโอน 03-021-205 โรคพืชและการป้องกันกำจัด / จำนวน 3 หน่วยกิต
8. นายวินัย นนขุนทด / เลขบัตรประจำตัวประชาชน 1309801320309 / สาขาเทคโนโลยีการอาหาร (วท.บ. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) / รายวิชาเทียบโอน 03-052-304 วิศวกรรมอาหาร 1 / จำนวน 3 หน่วยกิต
9. นางสาวจันทร์เพ็ญ วัฒนะน้อย / เลขบัตรประจำตัวประชาชน 1460700238390 /สาขาเทคโนโลยีการอาหาร (วท.บ. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร)/รายวิชาเทียบโอน 03-052-304 วิศวกรรมอาหาร 1 / จำนวน 3 หน่วยกิต
10. นายชินภัทร ธุระการ / สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล / อาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัย
11. นางสาวอภิญญา ภูมิสายดอน / สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร/ อาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัย
12. นางสาวปุญญิศา ชารีรักษ์ / สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช/ อาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัย

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ เมืองกาฬสินธุ์ ลำพาน

3. รายละเอียดชุมชน

ตำบลลำพานตั้งอยู่ในเขตพื้นที่อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ มีหมู่บ้าน จำนวน 16 หมู่บ้าน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของอำเภอเมืองกาฬสินธุ์ลักษณะพื้นที่เป็นที่ราบลุ่มเหมาะแก่การเพาะปลูก ทิศเหนือ ติดกับ ตำบลบึงวิชัย อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ ทิศใต้ ติดกับ ตำบลหลุบ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ ทิศตะวันออก ติดกับ เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ ทิศตะวันตก ติดกับ ตำบลดอนสมบูรณ์ และ ตำบลบัวบาน อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์ อาชีพหลัก ทำนา/ทำสวน/ทำไร่อาชีพเสริม หัตถกรรมในพื้นที่ตำบลลำพาน อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยส่วนใหญ่มีการทำการเกษตรหลัก คือ การทำนา ซึ่งนอกเหนือจากการทำนาแล้วมีเกษตรกรยังปลูกพืชผักอินทรีย์เพิ่มรายได้อีกด้วย ในปัจจุบันผู้บริโภคได้หันมาใส่ใจบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพกัยชนมากขึ้นโดยเฉพาะผู้ที่อาศัยอยู่ชุมชนเมือง ซึ่งตำบลลำพานเป็นพื้นที่หนึ่งที่มีเกษตรกรปลูกพืชผักเกษตรอินทรีย์กันมากและส่งจำหน่ายในตลาดพื้นที่ในเมือง พืชผักที่นิยมปลูกแบบอินทรีย์ ได้แก่ ข้าว ผักสลัด กล้วย ดอกแค บวม ฟักทอง แตงโม เป็นต้น ส่วนพืชที่เป็นกระแสนิยมในปัจจุบันก็คือ ผักสลัดอินทรีย์ ซึ่งปกติจะจำหน่ายอยู่ที่กิโลกรัมละ 80-100 บาทผลผลิตออกได้ดีในฤดูหนาว แต่อย่างไรก็ตามในฤดูฝนและฤดูแล้งจะมีปัญหาของแมลงศัตรูพืช และสภาพอากาศ จึงทำให้มีผลผลิตออกจำหน่ายน้อยมาก หรือแทบไม่มีผลผลิตเลยจากการสอบถามเกษตรกรผู้ปลูกผักอินทรีย์ในเบื้องต้น มีข้อมูลประเด็นปัญหา ดังนี้
1. ปัญหาแมลงศัตรูพืช เช่น แมลง และโรคพืชต่างๆ ได้แก่ โรคราน้ำค้าง โรครากเน่า ที่ส่งผลต่อคุณภาพของผักอินทรีย์
2. ไม่สามารถควบคุมสภาวะแวดล้อมในการปลูกผักอินทรีย์ได้ โดยเฉพาะผักสลัดที่ค่อยข้างจะอ่อนไหวต่อสภาพแวดล้อม เช่น ในฤดูฝนแสงแดดน้อยทำให้ผักมีลักษณะต้นยืด ส่วนในฤดูร้อนผักเกิดใบไหม้และลวกแดด ส่งผลต่อลักษณะปรากฏที่ผู้บริโภคไม่ยอมรับขึ้น
3. เกษตรกรยังมีปัญหาเรื่องการจัดการระบบน้ำในแปลงผัก โดยการปลูกพืชผักระบบอินทรีย์จำเป็นต้องควบคุมแหล่งน้ำ และต้องมีการจัดการน้ำที่ดีมีประสิทธิภาพเพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ
4. ขาดแคลนแรงงาน ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่เป็นผู้สูงวัย จึงมีปัญหาในการใช้แรงงานในการทำแปลง ขุด การผสมดิน การผสมปุ๋ยในแปลงผัก เกิดความล่าช้าในการทำงาน
5. ขาดความเชื่อมั่นจากผู้บริโภค เนื่องจากเกษตรกรยังไม่ได้รับมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ในการการันตีว่ามีการปลูกพืชผักแบบอินทรีย์จริง
6. ในระหว่างการเก็บเกี่ยวผัก ถ้าผักในแปลงมีจำนวนมากจะส่งผลต่อคุณภาพของผักที่รอการบรรจุ เกิดความเหี่ยวเฉา และเมื่อบรรจุในถุงพลาสติกผักมีอายุการเก็บรักษาไม่ได้นาน
1. ต้องการนวัตกรรมหรือองค์ความรู้มาแก้ปัญหาการกำจัดโรคพืชและศัตรูพืช ได้แก่ เพลี้ย แมลง และโรคพืชต่างๆ ได้แก่ โรคราน้ำค้าง โรครากเน่า
2. การควบคุมสภาวะแวดล้อมในการปลูกผักอินทรีย์ โดยเฉพาะผักสลัดที่ค่อยข้างจะอ่อนไหวต่อสภาพแวดล้อม ต้องการจะใช้เทคโนโลยีหรือนวัตกรรมเข้ามาช่วยแก้ปัญหาในการควบคุมอุณหภูมิ ความชื้นในแปลงผักโดยลดขั้นตอนการทำงานของแรงงานคนด้วย
3. ต้องการระบบการจัดการน้ำที่ดี และมีประสิทธิภาพ โดยการติดตั้งสปริงเกอร์ และมีแหล่งพักน้ำเพื่อให้เพียงพอในการใช้งาน
4. ต้องการเครื่องมือหรือเทคโนโลยีสำหรับทุ่นแรงในกระบวนการผลิตปุ๋ยอินทรีย์และระบบการล้าง ตัดแต่ง บรรจุผัก
5. ต้องการได้มาตรฐานในการรับรองผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์
6. ต้องการนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีมาใช้ในการเก็บรักษาหรือยืดอายุผักสดให้วางจำหน่ายได้นานขึ้น

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

ใช้องค์ความรู้และนวัตกรรมด้านโรคพืชและแมลงศัตรูพืชในการแก้ไขปัญหาโรคพืชในพืชผักอินทรีย์ โดยการใช้ป้องกันด้วยการสร้างโรงเรือนในการปลูกผักและสารชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืช เพื่อป้องกันควบคุม กำจัดโรคและแมลงศัตรูพืชต่างๆ พร้อมทั้งให้คำแนะนำและสนับสนุนการขอรับมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ องค์ความรู้ด้านวิศวกรรมเครื่องกลนำมาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาร่วมด้วยโดยการออกแบบโรงเรือนและระบบการควบคุมสภาวะแวดล้อมในการปลูกผักอินทรีย์ การควบคุมอุณหภูมิ ความชื้นในแปลงผักโดยลดขั้นตอนการทำงานของแรงงานคนด้วยผ่านเซ็นเซอร์ในยุคเกษตรไทยแลนด์ 4.0 สามารถช่วยแก้ไขปัญหาในการตรวจสอบ และดูแลสภาพแวดล้อมภายในโรงเรือนให้มีความเหมาะสมกับการเพาะปลูกรวมทั้งลดการพึ่งพาแรงงานที่ใช้ในกระบวนการผลิต นอกจากนี้ยังใช้เทคโนโลยีและเครื่องมือทุ่นแรงในการผสมดินและผสมปุ๋ยเพิ่มด้วย และการขึ้นโครงของแปลงผักซึ่งจะส่งผลให้ประหยัดการจ้างแรงงานคนและการผลิตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพอีกด้วยองค์ความรู้ด้านการเทคโนโลยีการอาหารจะเข้ามามีบทบาทในการใช้เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวมาช่วยในเรื่องของการตัดแต่งและบรรจุผัก โดยใช้การบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมกับพืชผักแต่ละชนิดเพื่อให้ยืดอายุการเก็บรักษาผักได้นานขึ้นตลอดจนการหาสภาวะที่เหมาะสมในการเก็บรักษา รวมทั้งการวางผังไลน์การตัดแต่งและบรรจุตามมาตรฐาน GMP

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ออกแบบและสร้างระบบโรงเรือนสำหรับการปลูกพืชอินทรีย์ พร้อมกับระบบควบคุมสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของผักสลัดอินทรีย์ ด้วยเทคโนโลยีไมโครคอนโทรเลอร์

โรงเรือนอัจฉริยะ  1  โรงเรือน

30.00 100.00
2 ออกแบบและวางระบบน้ำให้เพียงพอต่อการใช้งาน

ชุดแท้งค์น้ำและการวางระบบส่งน้ำไปยังแปลงผัก

10.00 100.00
3 เพื่อลดภาระแรงงานในผสมปุ๋ยอินทรีย์โดยการออกแบบและสร้างเครื่องผสมปุ๋ยอินทรีย์

เครื่องผสมปุ๋ยอินทรีย์ 1 เครื่อง

10.00 100.00
4 เพื่อให้เกษตรกรดำเนินการยื่นขอรับมาตรฐานเกษตรอินทรีย์

ได้รับมาตรฐานอินทรีย์ หรืออยู่ในขั้นตอนการพิจารณา

10.00 100.00
5 เพื่อการยืดอายุการเก็บรักษาผักระหว่างการวางจำหน่ายให้นานขึ้น

อายุการเก็บรักษาผักในบรรจุภัณฑ์ได้นานมากกว่า 1 สัปดาห์ หลังการเก็บเกี่ยว ที่อุณหภูมิตู้เย็น (5-7 องศาเซลเซียส)

20.00 100.00
6 เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในแก้ไขปัญหา สร้างนวัตกรรมที่มีคุณค่า และทำงานร่วมกับชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สามารถแก้ปัญหาให้เกษตรกรได้และเกษตรกรมีความพึงพอใจร้อยละ 80

10.00 100.00
7 เพื่อแก้ปัญหาโรคพืชและแมลงศัตรูพืชในพืชผักอินทรีย์

ร้อยละของปริมาณผลผลิตของผักสลัดอินทรีย์เพิ่มขึ้นและมีคุณภาพร้อยละ 5

10.00 100.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
1. นายจิรเดช เมืองโคตร / สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล 1
2. นายธนากร จันทะมาตร / สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล 1
3. นายศุภวัฒน์ คำวิภา / สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล 1
4. นายพุทธคุณ ภูชะอุ่ม / สาขาวิศวกรรมเครื่องกล 1
5. นายวัชรินทร์ บุญมา / สาขาวิศวกรรมเครื่องกล 1
6. นายภัทราวุธ ชิณรักษา / สาขาวิศวกรรมเครื่องกล 1
7. นางสาวศรุดา ทับสุริ / สาขาเทคโนโลยีการอาหาร 1
8. นายกษมา เพ็ชรฤาชา / สาขาเทคโนโลยีการผลิตพืช 1
9. เกษตรกรผู้ปลูกผักอินทรีย์ ตำบลลำพาน 1

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 ลงพื้นที่เพื่อสำรวจความต้องการของเกษตรกร

ชื่อกิจกรรม
ลงพื้นที่เพื่อสำรวจความต้องการของเกษตรกร
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในแก้ไขปัญหา สร้างนวัตกรรมที่มีคุณค่า และทำงานร่วมกับชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
รายละเอียดกิจกรรม
ลงพื้นที่เพื่อสำรวจความต้องการ เก็บข้อมูลพื้นฐาน โดยนักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อศึกษาข้อมูลบริบทชุมชนของกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกผักอินทรีย์ ตำบลลำพาน อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์
ระยะเวลาดำเนินงาน
20 มกราคม 2563 ถึง 8 กุมภาพันธ์ 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ได้ความต้องการเชิงพื้นที่ของเกษตรกรผู้ปลูกผักอินทรีย์อย่างแท้จริง
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยนักศึกษา จำนวน 9 คน × 2 วัน × 120 บาท

9 คน 120 2 2,160
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 13 คน × 100 บาท × 1 มื้อ × 2 วัน

13 คน 100 2 2,600
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศ จำนวน 4 คน × 2 วัน × 180 บาท

4 คน 180 2 1,440
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าถ่ายเอกสารจำนวน 100 ชุด × 30 บาท

100 ชุด 30 1 3,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล จำนวน 3 คัน × 20 กิโลเมตร (ไป-กลับ) × 4 บาท

1 เที่ยว 80 3 240
รวมค่าใช้จ่าย 9,440

กิจกรรมที่ 2 ออกแบบและสร้างระบบโรงเรือนอินทรีย์สำหรับการปลูกผักสลัดอินทรีย์

ชื่อกิจกรรม
ออกแบบและสร้างระบบโรงเรือนอินทรีย์สำหรับการปลูกผักสลัดอินทรีย์
วัตถุประสงค์
  1. ออกแบบและสร้างระบบโรงเรือนสำหรับการปลูกพืชอินทรีย์ พร้อมกับระบบควบคุมสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของผักสลัดอินทรีย์ ด้วยเทคโนโลยีไมโครคอนโทรเลอร์
รายละเอียดกิจกรรม
นักศึกษาร่วมกับเกษตรกรในชุมชน ร่วมวิเคราะห์ปัญหา และกำหนดทิศทางการออกแบบและสร้างระบบโรงเรือนสำหรับการปลูกพืชอินทรีย์ โดยการนำเอาเทคโนโลยีไมโครคอนโทรเลอร์ที่มีความแม่นยำเพื่อใช้ในการควบคุมสภาพแวดล้อมภายในโรงเรือนให้คงที่เหมาะสมกับการเพาะปลูกมากที่สุด
ระยะเวลาดำเนินงาน
27 มกราคม 2563 ถึง 15 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
โรงเรือนอัจฉริยะจำนวน 1 โรงเรือน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยนักศึกษา จำนวน 6 คน × 10 วัน × 120 บาท

6 คน 120 10 7,200
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 8 คน × 100 บาท × 1 มื้อ × 10 วัน

8 คน 100 10 8,000
อื่น ๆ

เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ เซ็นเซอร์วัดความชื้น ตัวต้านทานแสง พัดลมระบายอากาศ เหล็ก DC-DC Step Down Module (3A) 4 Channels Relay Module (5V) ปั้มน้ำ DC 12V Model 5G-310 Switching Power Supply 12 Volt 150 Watt เหล็ก 50 เส้น พลาสติกคลุมโรงเรือน ตาข่ายกันแมลง

1 ชุด 317,660 1 317,660
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศ จำนวน 2 คน × 10 วัน × 180 บาท

2 คน 180 10 3,600
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล จำนวน 2 คัน × 20 กิโลเมตร (ไป-กลับ) × 4 บาท × 3 เที่ยว

2 เที่ยว 80 3 480
รวมค่าใช้จ่าย 336,940

กิจกรรมที่ 3 ออกแบบและวางระบบน้ำให้เพียงพอต่อการใช้งานในแปลงผัก

ชื่อกิจกรรม
ออกแบบและวางระบบน้ำให้เพียงพอต่อการใช้งานในแปลงผัก
วัตถุประสงค์
  1. ออกแบบและวางระบบน้ำให้เพียงพอต่อการใช้งาน
รายละเอียดกิจกรรม
ทำการออกแบบและวางระบบน้ำให้เพียงพอต่อการใช้งาน โดยการใช้ระบบสปริงค์เกอร์
ระยะเวลาดำเนินงาน
3 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 30 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ได้ระบบน้ำและแท้งค์น้ำสำหรับใช้อย่างเพียงพอ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยนักศึกษา จำนวน 6 คน × 10 วัน × 120 บาท

6 คน 120 10 7,200
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 8 คน × 100 บาท × 1 มื้อ × 10 วัน

8 คน 100 10 8,000
อื่น ๆ

แท้งค์น้ำขนาด 1,500 ลิตร 4 ถัง เหล็กท่อ 40 เส้น เหล็กแผ่น 20 แผ่น

1 ชุด 25,000 1 25,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศ จำนวน 2 คน × 10 วัน × 180 บาท

2 คน 180 10 3,600
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล จำนวน 1 คัน × 20 กิโลเมตร (ไป-กลับ) × 4 บาท × 3 เที่ยว

1 เที่ยว 80 3 240
รวมค่าใช้จ่าย 44,040

กิจกรรมที่ 4 วิเคราะห์ปัญหาและกำหนดทิศทางในการกำจัดแมลงศัตรูพืชและโรคพืช

ชื่อกิจกรรม
วิเคราะห์ปัญหาและกำหนดทิศทางในการกำจัดแมลงศัตรูพืชและโรคพืช
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อแก้ปัญหาโรคพืชและแมลงศัตรูพืชในพืชผักอินทรีย์
รายละเอียดกิจกรรม
นักศึกษาร่วมกับเกษตรกรในชุมชนร่วมวิเคราะห์ปัญหาและกำหนดทิศทางการออกแบบเทคโนโลยีหรือการใช้องค์ความรู้มาใช้ในการแก้ปัญหาด้านการกำจัดแมลงศัตรูพืชและโรคพืชแบบไม่ใช้สารเคมีในผักสลัดอินทรีย์
ระยะเวลาดำเนินงาน
20 มกราคม 2563 ถึง 12 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
สารชีวภัณฑ์ที่สามารถใช้ควบคุมหรือกำจัดแมลงและศัตรูพืชได้
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยนักศึกษา จำนวน 1 คน × 15 วัน × 120 บาท

1 คน 120 15 1,800
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 2 คน × 100 บาท × 1 มื้อ × 15 วัน

2 คน 100 15 3,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศ จำนวน 1 คน × 15 วัน × 180 บาท

1 คน 180 15 2,700
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล จำนวน 1 คัน × 20 กิโลเมตร (ไป-กลับ) × 4 บาท × 3 เที่ยว

1 เที่ยว 80 3 240
รวมค่าใช้จ่าย 7,740

กิจกรรมที่ 5 ออกแบบและสร้างเครื่องผสมปุ๋ยอินทรีย์

ชื่อกิจกรรม
ออกแบบและสร้างเครื่องผสมปุ๋ยอินทรีย์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อลดภาระแรงงานในผสมปุ๋ยอินทรีย์โดยการออกแบบและสร้างเครื่องผสมปุ๋ยอินทรีย์
รายละเอียดกิจกรรม
นักศึกษาและเกษตรกรร่วมกันระดมความคิด เพื่อออกแบบและสร้างเครื่องทุ่นแรงในการผสมปุ๋ยอินทรีย์ ซึ่งสามารถใช้เป็นเครื่องทุ่นแรงและลดภาระแรงงานในผสมปุ๋ยอินทรีย์ได้
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 12 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
เครื่องผสมปุ๋ยอินทรีย์ 1 เครื่อง
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยนักศึกษา จำนวน 6 คน × 9 วัน × 120 บาท

6 คน 120 9 6,480
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 8 คน × 100 บาท × 1 มื้อ × 9 วัน

8 คน 100 9 7,200
อื่น ๆ

แผ่นเหล็ก เหล็กแบน เหล็กกล่องสี่เหลี่ยม มอเตอร์ไฟฟ้า ขนาด 5 แรงม้า 220 โวล์ Ribbon 1 ชิ้น

1 ชุด 18,000 1 18,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศ จำนวน 2 คน × 9 วัน × 180 บาท

2 คน 180 9 3,240
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล จำนวน 1 คัน × 20 กิโลเมตร (ไป-กลับ) × 4 บาท × 3 เที่ยว

1 เที่ยว 80 3 240
รวมค่าใช้จ่าย 35,160

กิจกรรมที่ 6 ส่งเสริมให้เกษตรกรดำเนินการยื่นขอรับมาตรฐานเกษตรอินทรีย์

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมให้เกษตรกรดำเนินการยื่นขอรับมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้เกษตรกรดำเนินการยื่นขอรับมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
รายละเอียดกิจกรรม
นักศึกษาและเกษตรกร ร่วมกันจัดเตรียมเอกสารในการยื่นขอรับมาตรฐานเกษตรอินทรีย์
ระยะเวลาดำเนินงาน
27 มกราคม 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
เกษตรกรยื่นเอกสารและอยู่ในระหว่างการรอพิจารณาให้มาตรฐานอินทรีย์
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยนักศึกษา จำนวน 1 คน × 14 วัน × 120 บาท

1 คน 120 14 1,680
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 2 คน × 100 บาท × 1 มื้อ × 14 วัน

2 คน 100 14 2,800
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศ จำนวน 1 คน × 14 วัน × 180 บาท

1 คน 180 14 2,520
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล จำนวน 1 คัน × 20 กิโลเมตร (ไป-กลับ) × 4 บาท × 1 เที่ยว

1 เที่ยว 80 1 80
รวมค่าใช้จ่าย 7,080

กิจกรรมที่ 7 ใช้องค์ความรู้หรือเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวในการยืดอายุผักสลัดในการเก็บรักษา

ชื่อกิจกรรม
ใช้องค์ความรู้หรือเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวในการยืดอายุผักสลัดในการเก็บรักษา
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อการยืดอายุการเก็บรักษาผักระหว่างการวางจำหน่ายให้นานขึ้น
รายละเอียดกิจกรรม
นักศึกษา และเกษตรกรร่วมกัน หาแนวทางและใช้องค์ความรู้หรือเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวในการยืดอายุผักสลัดในการเก็บรักษา เพื่อการยืดอายุการเก็บรักษาผักระหว่างการวางจำหน่ายให้นานขึ้น โดยใช้การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมกับผักสลัดอินทรีย์เพื่อให้ยืดอายุการเก็บรักษาผักได้นานขึ้น รวมทั้งการวางผังไลน์การตัดแต่งและบรรจุตามมาตรฐาน GMP
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผักสลัดหลังการเก็บเกี่ยวมีอายุการเก็บรักษานานมากกว่า 1 สัปดาห์ ที่อุณหภูมิตู้เย็น (5-7 องศาเซลเซียส)
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยนักศึกษา จำนวน 2 คน × 29 วัน × 120 บาท

2 คน 120 29 6,960
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 3 คน × 100 บาท × 1 มื้อ × 29 วัน

3 คน 100 29 8,700
อื่น ๆ

บรรจุภัณฑ์สำหรับบรรจุผักสลัด

1 ชุด 20,000 1 20,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์นิเทศ จำนวน 1 คน × 29 วัน × 180 บาท

1 คน 180 29 5,220
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล จำนวน 1 คัน × 20 กิโลเมตร (ไป-กลับ) × 4 บาท × 3 เที่ยว

1 เที่ยว 80 3 240
รวมค่าใช้จ่าย 41,120

กิจกรรมที่ 8 ติดตามผลและประเมินผล พร้อมทั้งถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่เกษตรกร

ชื่อกิจกรรม
ติดตามผลและประเมินผล พร้อมทั้งถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่เกษตรกร
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในแก้ไขปัญหา สร้างนวัตกรรมที่มีคุณค่า และทำงานร่วมกับชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
รายละเอียดกิจกรรม
นักศึกษานำเสนอรายงานโครงงานรูปแบบ Video และ Power Point ต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อประเมินผลการดำเนินกิจกรรมโครงงาน รวมทั้งดำเนินการประเมินผลตามตัวชี้วัดปริมาณและคุณภาพ พร้อมทั้งถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่เกษตรกร
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง 15 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
นักศึกษาได้รับการประเมินผลการเรียนเทียบโอนหน่วยกิตทดแทนการเรียนในชั้นเรียน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยนักศึกษา จำนวน 9 คน × 1 วัน × 120 บาท

9 คน 120 1 1,080
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 30 คน × 100 บาท × 1 มื้อ × 1 วัน

30 คน 100 1 3,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน ภาคปฏิบัติ (การถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาโรงเรือนอัจริยะเพื่อเพิ่มผลผลิตสำหรับการเพาะปลูกพืชผักอินทรีย์และเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวของเกษตรกรในพื้นที่ตำบลลำพาน) จำนวน 4 คน × 1 วัน × 6 ชั่วโมง × 600 บาท

4 คน 600 6 14,400
รวมค่าใช้จ่าย 18,480

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าใช้สอยอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 14,400.00 48,060.00 437,540.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 2.88% 9.61% 87.51% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) โรงเรือนอัจฉริยะต้นแบบ 1 โรงเรือน สารชีวภัณฑ์เพื่อควบคุมโรคพืชและแมลง เครื่องผสมปุ๋ยอินทรีย์ 1 เครื่อง ระบบน้ำพร้อมแท้งค์น้ำ 1 ชุด เกษตรกรอยู่ระหว่างการรอพิจารณามาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ชนิดของบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ในการเก็บรักษาผักสลัดอินทรีย์ให้มากกว่า 1 สัปดาห์ นักศึกษาสามารถเทียบโอนหน่วยกิตทดแทนการเรียนในชั้นเรียนได้
ผลลัพธ์ (Outcome) เพิ่มผลผลิตของพืชผักได้อย่างน้อยร้อยละ 5 ของปริมาณผลผลิตเดิม และเกษตรกรมีรายได้เพิ่มมากขึ้นร้อยละ 10 ของรายได้เดิม นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการแก้ไขปัญหา และทำงานร่วมกับชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ผลกระทบ (Impact) ผักสลัดอินทรีย์มีคุณภาพมากขึ้น ช่วยลดภาระในการใช้แรงงานมากขึ้น ใช้เทคโนโลยีอินเตอร์ได้เต็มประสิทธิภาพ สร้างจิตสำนึกให้นักศึกษาทำงานร่วมกับชุมชนได้
นำเข้าสู่ระบบโดย pakkip pakkip เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 17:45 น.