ยกระดับคุณภาพสินค้าชุมชนกลุ่มแปรรูปปลาท่าเรือภูสิงห์ ให้มีคุณภาพเป้นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน

แบบเสนอโครงการ
ยกระดับคุณภาพสินค้าชุมชนกลุ่มแปรรูปปลาท่าเรือภูสิงห์ ให้มีคุณภาพเป้นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน

1. ชื่อโครงการ

ยกระดับคุณภาพสินค้าชุมชนกลุ่มแปรรูปปลาท่าเรือภูสิงห์ ให้มีคุณภาพเป้นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามศูนย์วิทยาศาสตร์เทศบาลตำบลภูสิงห์บ้านท่าเรือภูสิงห์ผศ.ดร.พันธิวาแก้วมาตย์, อ.ดร.อัครพงศ์ วงศ์พัฒน์เลขที่ 80 ต.ตลาด อ.เมือง จ.มหาสารคาม 44000086-9546466, 081-0486597อาจารย์ที่ปรึกษา 5 คน เป็น อาจารย์ในมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ซึ่งเป็นการทำงาน
แบบบูรณาการร่วมกันระหว่าง
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ สหัสขันธ์ ภูสิงห์ พื้นที่เฉพาะ:ลุ่มน้ำ

3. รายละเอียดชุมชน

เขื่อนลำปาวเป็นเขื่อนดินขนาดใหญ่ ถูกสร้างขึ้นเพื่อปิดกั้นลำน้ำปาวในเขต อ.เมือง และปิดกั้นห้วยยางในเขต อ.ยางตลาด ถือเป็นแหล่งประมงพื้นบ้านที่สำคัญของจังหวัดกาฬสินธุ์ แหล่งน้ำแห่งนี้ยังใช้ในการเพาะปลูกพืชผลการเกษตร และเลี้ยงสัตว์ รวมไปถึงเพื่อการท่องเที่ยว เขื่อนลำปาวได้นำพาความอุดมสมบูรณ์นานัปการมายังชาวบ้านที่อยู่ตามฝากฝั่งลำน้ำ โดยเฉพาะการทำประมงน้ำจืดได้เข้ามามีบทบาทมาก ไม่ว่าจะเป็นการจับปลามาบริโภค และยังสามารถนำออกไปขายเพื่อเพิ่มพูนรายได้ให้กับครอบครัว การทำกระชังปลา บ่อกุ้งแม่น้ำตามบริเวณต่าง ๆ ของลำน้ำ
บ้านท่าเรือภูสิงห์ ตำบลภูสิงห์ ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ มีเนื้อที่35.10 ตารางกิโลเมตร อยู่ห่างจากตัวอำเภอสหัสขันธ์ ประมาณ 4 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากจังหวัดกาฬสินธุ์ ประมาณ36กิโลเมตร โดยพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงเชิงเขามีเขื่อนลำปาวล้อมรอบ ชุมชนบ้านท่าเรือภูสิงห์มีวิถีชีวิตที่ผูกพันกับเขื่อนลำปาว ชาวบ้านจับปลาจากเขื่อนลำปาวมาบริโภค และแปรรูปขายเป็นรายได้หลักให้กับชุมชน ผลิตภัณฑ์จากปลาของแหล่งชุมชนที่สำคัญได้แก่ ปลาส้ม ส้มปลา หม่ำไข่ปลา และแจ่วบ่อง ซึ่งสินค้าเหล่านี้ยังไม่ได้รับมาตรฐานผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน การพัฒนาสินค้าให้ได้รับมาตรฐานจะทำให้ผู้บริโภคมีความมั่นใจในการเลือกซื้อสินค้ามากขึ้น
กลุ่มเกษตรกรสามารถทำการประมงปลาได้ตลอดทั้งปี มีปลาที่เป็นวัตถุดิบในการแปรรูปจำนวนมาก มีผลิตภัณฑ์แปรรูปที่หลากหลายบ้านท่าเรือภูสิงห์ ตำบลภูสิงห์ ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ มีเนื้อที่35.10 ตารางกิโลเมตร อยู่ห่างจากตัวอำเภอสหัสขันธ์ ประมาณ 4 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากจังหวัดกาฬสินธุ์ ประมาณ36กิโลเมตร โดยพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงเชิงเขามีเขื่อนลำปาวล้อมรอบ ชุมชนบ้านท่าเรือภูสิงห์มีวิถีชีวิตที่ผูกพันกับเขื่อนลำปาว ชาวบ้านจับปลาจากเขื่อนลำปาวมาบริโภค และแปรรูปขายเป็นรายได้หลักให้กับชุมชน ผลิตภัณฑ์จากปลาของแหล่งชุมชนที่สำคัญได้แก่ ปลาส้ม ส้มปลา หม่ำไข่ปลา และแจ่วบ่อง ซึ่งสินค้าเหล่านี้ยังไม่ได้รับมาตรฐานผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน การพัฒนาสินค้าให้ได้รับมาตรฐานจะทำให้ผู้บริโภคมีความมั่นใจในการเลือกซื้อสินค้ามากขึ้น
การนำสินค้าชุมชนเข้าสู่มาตรฐานผลิตภันฑ์ชุมชน (มผช.) ซึ่งมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน หมายถึง ข้อกําหนดด้านคุณภาพที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ชุมชนให้เป็นที่เชื่อถือ เป็นที่ยอมรับ และสร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภคในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ โดยมุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน เพื่อยกระดับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ชุมชนให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กําหนด และสอดคล้องกับนโยบาย OTOP เพื่อรองรับการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชนจากภูมิปัญญาและเอกลักษณ์ของท้องถิ่นต่างๆ ในประเทศไทย ให้มีคุณภาพและมาตรฐานเป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค โดยโครงการดังกล่าว ถือเป็นการสนับสนุนโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ หรือ OTOP ของรัฐบาลในแต่ละสมัย ในด้านการเชื่อมโยงให้ผลิตภัณฑ์ชุมชนของไทย สู่ตลาดผู้บริโภค ทั้งภายในและต่างประเทศได้สะดวกยิ่งขึ้น
จากการลงสำรวจข้อมูลเบื้องต้น ชุมชนบ้านท่าเรือภูสิงห์มีผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ได้รับความนิยมจากผู้มาเยือน ไม่ว่าจะเป็นปลาส้ม ส้มปลา หม่ำไข่ปลา และปลาร้าบอง แต่ผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่ยังไม่ได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน จึงมีความต้องการให้สถาบันอุดมศึกษา หรือหน่วยงานภาครัฐเข้ามาช่วยส่งเสริมการพัฒนาสินค้าให้มีคุณภาพ เป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน จึงเป็นต้นทุนที่สำคัญในการดำเนินงานของโครงการนี้ เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ และความมั่นใจให้กับกลุ่มผู้บริโภคในทุกระดับ

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1.ได้องค์ความรู้ในการผลิตสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มีมาตรฐานตาม มผช.
2. ได้ความรู้ในการตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน ประเภท ปลาส้ม ส้มปลา หม่ำไข่ปลา และปลาร้าบอง
3. มีความรู้ในการตรวจสอบระยะเวลาการบริโภคผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพสินค้าของกลุ่มแปรรูปปลาท่าเรือภูสิงห์ให้เป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน (มผช.)
  1. สามารถดำเนินการตามขั้นตอนการขอรับรองคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนได้ (มผช.)
  2. จำนวนชนิดของผลิตภัณฑ์ที่ทำการของรับรองมาตรฐาน มผช.
25.00 30.00
2 2. เพื่อตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน ได้แก่ ปลาส้ม ส้มปลา หม่ำไข่ปลา และปลาร้าบอง
  1. ผลิตภัณฑ์ชุมชนมีคุณภาพมาตรฐานและมีความน่าเชื่อถือต่อผู้บริโภค
25.00 20.00
3 3. เพื่อศึกษาระยะเวลาในการเก็บรักษา และรูปแบบในการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ชุมชนที่เหมาะสม สำหรับปลาส้ม ส้มปลา หม่ำไข่ปลา และปลาร้าบอง
  1. ได้ระยะเวลาที่แน่นอนในการบริโภคผลิตภ้ณฑ์ที่มีความปลอดภัย
25.00 25.00
4 4. เพื่อทำผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชนมีมาตรฐานและความเชื่อถือ ผู้บริโภคมีความมั่นใจในการบริโภคผลิตภัณฑ์ชุมชน

ผู้บริโภคมีความมั่นใจในคุณภาพของผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ได้รับมาตรฐาน มผช.

25.00 25.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มแปรรูปปลาท่าเรือภูสิงห์ 30
นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย 2
นักศึกษาหลักสูตรคณิตศาสตร์ 2
นักศึกษาหลักสูตรชีววิทยา 2
นักศึกษาหลักสูตรฟิสิกส์ 2
นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม 2

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพสินค้า

ชื่อกิจกรรม
จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพสินค้า
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    จัดประชุมผู้เข้าร่วมโครงการ
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 มกราคม 2563 ถึง 1 กุมภาพันธ์ 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    แนวทางการพํฒนาผลิตภัณฑ์/ขั้นตอนในการดำเนินงานให้ได้มาตรฐาน
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    เทศบาลตำบลภูสิงค์
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าตอบแทนวิทยากรภาคบรรยาย และอบรมเชิงปฏิบัติการ

    5 คน 36,000 1 180,000
    รวมค่าใช้จ่าย 180,000

    กิจกรรมที่ 2 ตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน ปลาส้ม ส้มปลา หม่ำไข่ปลา และปลาร้าบอง

    ชื่อกิจกรรม
    ตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน ปลาส้ม ส้มปลา หม่ำไข่ปลา และปลาร้าบอง
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      1. คุณภาพทางกายภาพ (physical quality) ขนาด รูปร่าง ตำหนิ ปริมาตร น้ำหนักสุทธิ น้ำหนักเนื้อ
      2. คุณภาพทางประสาทสัมผัส (sensory quality) เป็นคุณภาพสามารถรับรู้ได้ด้วยมนุษย์ โดยใช้การประเมินทางประสาท
      สัมผัส (sensory evaluation) ซึ่งมีผลต่อการยอมรับของผู้บริโภค เช่น

      ลักษณะปรากฏที่ประเมินด้วยสายตา (appearance) เช่น สี ความสม่ำเสมอของสี และความผิดปกติของสี
      กลิ่นรส ได้แก่ รสหวาน รสเปรี้ยว รสขม กลิ่นหอม กลิ่นหอม กลิ่นรสที่ผิดปกติ (off-flavor) เช่น กลิ่นไหม้ กลิ่นหมัก
      กลิ่นหืน
      เนื้อสัมผัส เช่น ความแข็ง ความเหนียว ความกรอบ
      3 คุณค่าทางโภชนาการ (nutrition value) หมายถึง ชนิดและปริมาณของส่วนประกอบทางเคมี ซึ่งมีผลต่อคุณค่าทาง
      โภชนาการ และการเก็บรักษา

      ปริมาณน้ำ (moisture content)
      สารอาหารหลักที่ให้พลังงาน ได้แก่ น้ำ คาร์โบไฮเดรต ใยอาหาร ไขมัน และโปรตีน กรดแอมิโนที่จำเป็น และ
      กรดไขมันที่จำเป็น
      สารอาหารที่ไม่ให้พลังงาน ได้แก่ เกลือแร่ วิตามิน รงควัตถุ และสารให้กลิ่นรส
      4. คุณภาพทางจุลินทรีย์ หมายถึง ชนิดและปริมาณของจุลินทรีย์ ได้แก่ แบคทีเรีย ยีสต์ รา โคลิฟอร์ม (coliform) จุลินทรีย์
      ก่อโรค (pathogen) ที่มีอยู่ในอาหาร ซึ่งมีผลต่อการเสื่อมเสีย (microbial spoilage) บ่งชี้ถึงสุขลักษณะของการผลิตอาหารและอาจนำสู่เป็นอันตรายในอาหาร (biological hazard)
      5. ความปลอดภัยต่อการบริโภค (safety) หมายถึง
      อันตรายทางเคมี (chemical hazard) ได้แก่ สารพิษตามธรรมชาติ โลหะหนักวัตถุอันตรายทางการเกษตร สารพิษจากเชื้อรา (mycotoxin)
      อันตรายทางชีวภาพ (biological hazard) การปนเปี้อนของจุลินทรีย์ก่อโรค (pathogen)
      อันตรายทางกายภาพ
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 1 พ.ค. 2563
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      ผลิตภัณฑ์ชุมชน ได้แก่ ปลาส้ม ส้มปลา หม่ำไข่ปลา และปลาร้าบอง ที่ได้คุณภาพเหมาะแก่การบริโภค/ ผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      อื่น ๆ

      ค่าตรวจสอบคุณภาพสินค้า

      4 ชิ้น 30,000 1 120,000
      รวมค่าใช้จ่าย 120,000

      กิจกรรมที่ 3 การดำเนินงานเพื่อเข้าสู่มาตรฐานผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน(มผช.)

      ชื่อกิจกรรม
      การดำเนินงานเพื่อเข้าสู่มาตรฐานผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน(มผช.)
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        ศึกษาขั้นตอนกระบวนการเข้าสู่มาตรฐาน
        1. การเตรียมเอกสาร
        2. การขอคำร้อง
        3. นัดหมายตรวจสถานที่ผลิต
        4. ตรวจสถานที่ผลิตและเก็บตัวอย่าง
        5.ส่งทดสอบที่หน่วยตรวจสอบ
        6.ประเมินผลทดสอบ
        7. สรุปเสนอออกใบรับรอง
        8. รับใบรับรอง
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        2 มีนาคม 2563 ถึง 1 พ.ค. 2563
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        ได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ปลาส้ม ส้มปลา หม่ำปลา และปลาร้าบอง
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        องค์ความรู้เกี่ยวกับการขอมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.)
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        เทศบาลตำบลภูสิงห์
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        ค่าวัสดุสำนักงาน

        การจัดเอกสารเพื่อขอเข้ามาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชรน

        50 ชุด 100 1 5,000
        รวมค่าใช้จ่าย 5,000

        กิจกรรมที่ 4 ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อความยั่งยืน

        ชื่อกิจกรรม
        ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อความยั่งยืน
        วัตถุประสงค์
          รายละเอียดกิจกรรม
          จัดอบรมปฏิบัติการเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความยั่งยืน
          ค่าอาหาร 50 คน x 100 บาท x 3 มื้อ = 15,000 บาท
          ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 คน x 50 บาท x 6 มื้อ = 15,000 บาท
          ค่าเอกสาร 50 ชุด x 200 บาท = 10,000 บาท
          รวมงบประมาณ 40,000 บาท
          ระยะเวลาดำเนินงาน
          1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 1 พ.ค. 2563
          ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
          ผลผลิตที่ได้จากกิจกรรมของบ้านภูสิงห์มีคุณภาพมาตรฐาน
          และผลิตภัณฑ์ของบ้านภูสิงห์เข้าสู่มารตฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
          ทรัพยากรอื่น ๆ
          เทศบาลตำบลภูสิงห์
          ภาคีร่วมสนับสนุน
          เทศบาลตำบลภูสิงห์
          รายละเอียดงบประมาณ
          ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
          ค่าอาหาร

          ค่าอาหาร ค่าอาหารว่าง ค่าเอกสารในการจัดอบรม

          50 คน 350 1 17,500
          รวมค่าใช้จ่าย 17,500

          กิจกรรมที่ 5 การติดตามและประเมินผล

          ชื่อกิจกรรม
          การติดตามและประเมินผล
          วัตถุประสงค์
            รายละเอียดกิจกรรม
            การติดตามประเมินผล
            ก่อนดำเนินการ 1 ครั้ง
            ระหว่างดำเนินการ 6 ครั้ง
            หลังดำเนินการ 3 ครั้ง
            ค่าลงพื้นที่ติดตามและประเมินผล 10 ครั้ง
            เหมาจ่ายครั้งละ 2,000 บาท x 10 ครั้ง
            รวมงบประมาณ 20,000 บาท
            ระยะเวลาดำเนินงาน
            1 มีนาคม 2563 ถึง 1 พ.ค. 2563
            ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
            ได้คุณภาพของผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐาน (มผช.)
            ทรัพยากรอื่น ๆ
            ภาคีร่วมสนับสนุน
            เทศบาลตำบลภูสิงห์
            รายละเอียดงบประมาณ
            ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
            ค่าเช่ารถ

            ค่าลงพื้นที่ติดตามและประเมินผล 10 ครั้ง

            10 เที่ยว 2,000 1 20,000
            รวมค่าใช้จ่าย 20,000

            กิจกรรมที่ 6 ค่าตอบแทนและใช้สอย

            ชื่อกิจกรรม
            ค่าตอบแทนและใช้สอย
            วัตถุประสงค์
              รายละเอียดกิจกรรม
              ค่าตอบแทนอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ 6 คน x 4,000 บาท = 24,000 บาท
              ค่าพาหนะในการลงพื้นที่ของนักศึกษา (เหมาจ่ายตลอดโครงการ) = 40,000 บาท
              เบี้ยเลี้ยงนักศึกษา(เหมาจ่ายตลอดโครงการ) x 10 คน x 6,600 บาท = 66,000 บาท
              รวมงบประมาณ 130,000 บาท
              ระยะเวลาดำเนินงาน
              1 มกราคม 2563 ถึง 1 พ.ค. 2563
              ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
              กระบวนการในการตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน
              ทรัพยากรอื่น ๆ
              ภาคีร่วมสนับสนุน
              เทศบาลตำบลภูสิงห์
              รายละเอียดงบประมาณ
              ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
              อื่น ๆ

              ค่าตอบแทนอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ค่าพาหนะในการลงพื้นที่ของนักศึกษา เบื้ยเลี้ยงนักศึกษา

              2 ครั้ง 65,000 1 130,000
              รวมค่าใช้จ่าย 130,000

              รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 472,500.00 บาท

              ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
              ค่าใช้จ่าย (บาท) 180,000.00 37,500.00 5,000.00 250,000.00 472,500.00
              เปอร์เซ็นต์ (%) 38.10% 7.94% 1.06% 52.91% 100.00%

              11. งบประมาณ

              472.00บาท

              12. การติดตามประเมินผล

              ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
              ผลผลิต (Output) 1. มีทรัพยากรท้องถิ่นที่สามารถนำมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ของชุมชนได้
              2. องค์ความรู้ที่นำไปสู่การพัฒนาสินค้าให้ได้คุณภาพตามมาตรฐาน
              3. ชุมชนมีความเข้มแข็ง สามารถพึ่งพาตัวเองได้
              1. นักศึกษามีความรู้ความสามารถในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น
              ผลลัพธ์ (Outcome) 1. ชุมชนได้ผลิตภัณฑ์ที่มีมาตรฐานตาม (มผช.)
              2. มีคุณภาพของผลิตภัณฑ์ทางด้านกายภาพ ประสาทสัมผัส และคุณค่าทางโภชนาการ
              1. นักศึกษาสามารถคิเคราะห์คุณภาพของผลิตภัณฑ์อาหารทางด้านกายภาพ ประสาทสัมผัส และคุณค่าทางโภชนาการของอาหาร
              ผลกระทบ (Impact) 1. ชุมชนมีความเข้มแข็ง และสามารถพึ่งพาตัวเองได้
              2. คุณภาพของผลิตภัณฑ์ชุมชนมีมาตรฐานและความน่าเชื่อถือต่อผู้บริโภค
              1. นักศึกษาสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจริงของชุมชนบ้านท่าสิงห์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาตร์ได้
              นำเข้าสู่ระบบโดย puntivar13 puntivar13 เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 17:39 น.