ส่งเสริมเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาท้องถิ่นเพื่อโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร

แบบเสนอโครงการ
ส่งเสริมเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาท้องถิ่นเพื่อโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร

1. ชื่อโครงการ

ส่งเสริมเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาท้องถิ่นเพื่อโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากรมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามสำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามเทศบาลตำบลลำคลองบ้านหาดทอง หมู่ 3 ตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วสันต์ ปินะเต80 ถนนนครสวรรค์ ต.ตลาด อ.เมือง จ.มหาสารคาม084-363-5654, 043-721-445รองศาสตราจารย์ ดร.วสัน ปินะเต
อาจารย์สราวุฒิ ดาแก่้ว
อาจารย์สายใจ เพ็งที

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ เมืองกาฬสินธุ์

3. รายละเอียดชุมชน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การใช้พลังงานจากก๊าซชีวภาพที่ผลิตขึ้นเอง จะสามารถชดเชยหรือทดแทนการใช้เชื้อเพลิงต่าง ๆ กับอุปกรณ์ที่ต้องการความร้อนจากเชื้อเพลิงได้เป็นอย่างดี เช่น ทดแทนการใช้ก๊าซหุงต้มในครัวเรือน เครื่องกกลูกสุกร ลูกสัตว์ปีก เครื่องอบแห้ง หม้อต้มไอน้ำ เป็นต้น ทั้งนี้ รวมถึงการใช้ในรูปของแสงสว่างกับตะเกียง และ/หรือใช้กับเครื่องยนต์สำหรับสูบน้ำหรือผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อใช้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ ภายในฟาร์มได้ด้วย และหากสามารถผลิตก๊าซชีวภาพได้ในปริมาณมากซึ่งต้องเป็นบ่อขนาดใหญ่
การนำไปใช้ประโยชน์ /กับชุมชน ก่อเกิดผลด้าน
1. ด้านพลังงาน เมื่อพิจารณาทางเศรษฐกิจแล้ว การลงทุนผลิตก๊าซชีวภาพจะลงทุนต่ำกว่าการ ผลิต เชื้อเพลิงชนิดอื่น ๆ สามารถนำมาใช้ทดแทนพลังงานเชื้อเพลิงจากแหล่งอื่น ๆ เช่น ฟืน ถ่าน น้ำมัน ก๊าซหุงต้ม และไฟฟ้าได้ ทั้งนี้ก๊าซชีวภาพจำนวน 1 ลูกบาศก์เมตร สามารถนำไปใช้ได้ดังนี้
1) ให้ค่าความร้อน 3,000 - 5,000 กิโลแคลอรี่ ความร้อนนี้จะทำให้น้ำ 130 กิโลกรัมที่ อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส เดือดได้
2) ผลิตกระแสไฟฟ้าได้ 1.25 กิโลวัตต์
3) ถ้าใช้กับครอบครัวขนาด 4 คน สามารถหุงต้มได้ 3 มื้อ
2. ด้านสิ่งแวดล้อม โดยการนำมูลสัตว์ ปัสสาวะ และน้ำล้างคอกมาหมักในบ่อลักษณะสุญญากาศ จะช่วยทำให้กลิ่นเหม็นและแมลงวันในบริเวณนั้นลดลง ผลจากการหมักมูลในบ่อหรือ ถุงที่ปราศจากออกซิเจนเป็น เวลานาน ๆ ทำให้ไข่พยาธิและเชื้อโรคในมูลสัตว์ถูกทำลายหรือตายด้วย ซึ่งเป็นการทำลายแหล่งเพาะเชื้อโรคบางชนิด เช่น โรคบิด อหิวาต์ และพยาธิที่อาจ แพร่กระจายจากมูลสัตว์ด้วยกัน นอกจากนี้ยังเป็นการป้องกันไม่ให้มูลสัตว์ถูกชะล้างลงในแหล่งน้ำตามธรรมชาติอีกด้วย
3. ด้านการเกษตร
การทำปุ๋ย กากที่ได้จากการหมักก๊าซชีวภาพสามารถนำมาใช้เป็นปุ๋ยได้ดีกว่ามูลสัตว์สดๆ หรือปุ๋ยคอก ทั้งนี้เนื่องจากในขณะที่มีการหมักจะมีการเปลี่ยนแปลงสารประกอบไนโตรเจนในมูล สัตว์ ทำให้พืชสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ดีขึ้น

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อตอบสนองต่อพระปณิธานของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ ๑๐ ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในพื้นที่จังหวัดมหาสารคามและจังหวัดกาฬสินธุ์ ด้วยหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน

 

0.00
2 เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีบ่อก๊าซชีวภาพสำหรับครัวเรือน

เกษตรกรที่เข้าร่วมอบรมความรู้สามารถนำไปปฏิบัติได้ในพื้นที่จริง นักศึกษาที่เข้าร่วมถ่ายทอดองค์ความรู้ และร่วมลงมือปฏิบัติ

0.00
3 เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร

 

0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมต้นทาง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมต้นทาง
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    สำรวจบริบทและความต้องการของกลุ่มเกษตรกรและประชาชนผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 ตุลาคม 2562 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ ๑๕๐ คน
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ศึกษาที่ลงพื้นที่สำรวจข้อมูล
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    นักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมการสำรวจพื้นที่
    องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เทศบาลตำบลลำคลอง
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    รวมค่าใช้จ่าย 0

    กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมกลางทาง

    ชื่อกิจกรรม
    กิจกรรมกลางทาง
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      - กิจกรรมพลังงานทดแทนบ่อก๊าซชีวภาพ
      - กิจกรรมการบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      1 พฤศจิกายน 2562 ถึง
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      - จำนวนชุดพลังงานทดแทนบ่อก๊าซชีวมวล ๑๐ ชุด
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      นักศึกษาสาขาวิชาฟิสิกส์
      เครือข่ายเกษตรกรในพื้นที่
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      รวมค่าใช้จ่าย 0

      กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมปลายทาง

      ชื่อกิจกรรม
      กิจกรรมปลายทาง
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        - ติดตามผลการดำเนินงานและสรุปถอดบทเรียนกิจกรรม
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        1 ธันวาคม 2562 ถึง
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        - จำนวนรายจ่ายที่ลดลงจากการใช้พลังงานทดแทน ๗๕๐ บาท/เดือน
        - จำนวนรายได้ที่เกิดจากการปลูกผักและพืชอินทรีย์ ๕๐๐บาท/เดือน
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        รวมค่าใช้จ่าย 0

        รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 0.00 บาท

        รวมเงิน
        ค่าใช้จ่าย (บาท) 0.00
        เปอร์เซ็นต์ (%) 100.00%

        11. งบประมาณ

        500,000.00บาท

        12. การติดตามประเมินผล

        ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
        ผลผลิต (Output) ๑. กิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏกับชุมชนท้องถิ่น เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนอย่างยั่งยืน
        ๒. ครัวเรือนในพื้นที่ได้รับการพัฒนาเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชน
        ๑. นักศึกษาได้เข้าใจกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับชุมชนท้องถิ่น เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนอย่างยั่งยืน
        ๒. นักศึกษาได้ร่วมกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชน
        ผลลัพธ์ (Outcome) ๑. ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการพ้นเกณฑ์ความยากจน (๓๘,๕๐๐ บาท : คน : ปี)
        ๒. จำนวนรายวิชาในหลักสูตรที่มีการบูรณาการจัดการเรียนการสอนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชน
        ๑.จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับชุมชน
        ๒.นักศึกษาได้ร่วมกระบวนการเรียนรู้ และกระบวนการทำงานร่วมกับชุมชน และการถอดบทเรียนร่วมกัน
        ผลกระทบ (Impact) ๑ กลุ่มเกษตรกรและประชาชนผู้สนใจได้รับถ่ายทอดเทคโนโลยีบ่อก๊าซชีวภาพสำหรับครัวเรือน
        ๒ กลุ่มเกษตรกรและประชาชนผู้สนใจได้รับถ่ายทอดเทคโนโลยีการปลูกผักและพืชอินทรีย์สำหรับ
        การเกษตร
        ๑ นักศึกษาได้นำความรู้ไปถ่ายทอดเทคโนโลยีบ่อก๊าซชีวภาพสำหรับครัวเรือน
        ๒ นักศึกษาได้นำความรู้ไปถ่ายทอดเทคโนโลยีการปลูกผักและพืชอินทรีย์สำหรับ
        การเกษตร
        นำเข้าสู่ระบบโดย asc.rmu.63 asc.rmu.63 เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 17:39 น.