โครงการการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้สภาวะโลกร้อนและระบบนิเวศป่าชายเลนเพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ทางการท่องเที่ยวและแก้ปัญหาความยากจนในชุมชน บ้านขุนสมุทรจีน หมู่ 9 ตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ

แบบเสนอโครงการ
โครงการการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้สภาวะโลกร้อนและระบบนิเวศป่าชายเลนเพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ทางการท่องเที่ยวและแก้ปัญหาความยากจนในชุมชน บ้านขุนสมุทรจีน หมู่ 9 ตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ

1. ชื่อโครงการ

โครงการการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้สภาวะโลกร้อนและระบบนิเวศป่าชายเลนเพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ทางการท่องเที่ยวและแก้ปัญหาความยากจนในชุมชน บ้านขุนสมุทรจีน หมู่ 9 ตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นแหลมฟ้าผ่าชุมชนบ้านขุนสมุทรจีน หมู่ 9 ตำบลแหลมฟ้าผ่าอาจารย์ฎายิน พรยุทธพงศ์ รองคณบดีฝ่ายบริหารและกิจการพิเศษคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีเบอร์ติดต่อ 02-8901801 ถึง 6 ต่อ 3021,3022 หรือ 02-8902295 หรือ มือถือ 081-3489538ที่ปรึกษาโครงการ
1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยุวลักษณ์ เวชวิทยาขลัง อธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธัชกร วงษ์คำชัย คณบดี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
อาจารย์ผู้ดำเนินโครงการ
1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์วัฒนชัย ชูมากประธานหลักสูตรอุตสาหกรรมบริการ
2. อาจารย์นุชรา แสวงสุข อาจารย์ประจำหลักสูตรอุตสาหกรรมบริการ
3. อาจารย์ฎายิน พรยุทธพงศ์ อาจารย์ประจำหลักสูตรบัญชีบัณฑิต
4. อาจารย์พิมพ์ชญา ฟักเปี่ยม อาจารย์ประจำหลักสูตรนิเทศศาสตร์
5. อาจารย์กัลยานี เลื่องสุนทร อาจารย์ประจำหลักสูตรบริหารธุรกิจสาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ
ลำดับ ชื่อ-สกุล หลักสูตร สาขาวิชา ชั้นปี
1. นางสาวหทัยชนกแพงวาปี อุตสาหกรรมบริการ การท่องเที่ยว 4
2. นางสาวสิริลักษณ์ ทองพูล อุตสาหกรรมบริการ การท่องเที่ยว 4
3. นายนนทวัฒน์ แก้วไพรวัน บริหารธุรกิจคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3
4. นายสิทธิชัย รมกระโทก บริหารธุรกิจ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3
5. นางสาวอดิศักดิ์ บางแก้ว นิเทศศาสตร์ โฆษณาและการประชาสัมพันธ์ 2
6. นายอนุสรณ์ หิรัญรัตนนาคิน นิเทศศาสตร์ โฆษณาและการประชาสัมพันธ์ 2
7. นายพัสกร จารุสภา นิเทศศาสตร์ วิทยุและโทรทัศน์ 3
8. นางสาวกมลวรรณ ญาณอัมพร นิเทศศาสตร์ วิทยุและโทรทัศน์ 3
9. นางสาวปภัสรา อุปสิทธิ์ บัญชีบัณฑิต การบัญชี 3
10. นางสาวใบเฟิร์น พรมสอน บัญชีบัณฑิต การบัญชี 3

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
สมุทรปราการ พระสมุทรเจดีย์ แหลมฟ้าผ่า

3. รายละเอียดชุมชน

บ้านขุนสมุทรจีน หมู่ 9 ตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ เป็นหมู่บ้านหนึ่งในจำนวน 13 หมู่บ้านของตำบลแหลมฟ้าผ่า มีประชากรตามทะเบียนราษฎร์ประมาณ 405 คนบ้านขุนสมุทรจีนมีคณะกรรมการหมู่บ้านเป็นผู้ดูแลความสงบเรียบร้อยและความเป็นอยู่ของประชาชนโดยมีนางสมร เข่งสมุทร ผู้ใหญ่บ้าน นายสมชาย อินอ่วม ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน และกรรมการอีก 10 คนศักยภาพของชุมชน ปัจจุบันประชากรของชุมชน ประกอบอาชีพหลักคือ การประมง เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ค้าขาย และประกอบอาชีพทางการท่องเที่ยว แต่ ณ ปัจจุบันรายได้หลักของชุมชน คือการประกอบอาชีพทางการท่องเที่ยว
ทรัพยากรการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวในชุมชน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ทรัพยากรธรรมชาติ และทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้น ได้แก่แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและวิถีชีวิตและแหล่งท่องเที่ยวเพื่อบันเทิงและนันทนาการ ทรัพยากรทางการท่องเที่ยวในบริเวณหมู่ 9 บ้านขุนสมุทรจีน ตำบลแหลมฟ้าผ่า มีดังนี้
1. ป่าชายเลน
2. สุสานหอย
3. สภาพน้ำและพรรณพืชสัตว์ชายฝั่งคลอง
4. แหล่งวัตถุโบราณชายฝั่งทะเลอ่าวไทย
5. วัดขุนสมุทราวาสหรือวัดทะเล
6. ศาลเจ้าพ่อหนุ่มน้อยลอยชาย
7. พิพิทธภัณฑ์ท่องถิ่นบ้านขุนสมุทรจีน
8. โรงเรียนบ้านขุนสมุทรจีน ที่กำลังพัฒนาให้เป็นศูนย์การเรียนรู้เกี่ยวกับสภาวะโลกร้อนและระบบนิเวศป่าชายเลน
เนื่องจากสถานการณ์ความรุนแรงจากปัญหาน้ำทะเลกัดเซาะชายฝั่งทำให้พื้นที่ พื้นดินทำกินในอาชีพประมงลดลง การต่อสู้กับภัยธรรมชาติที่ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชนในพื้นที่เปลี่ยนแปลงไป ไม่สามารถทำอาชีพประมงได้เพียงอาชีพเดียว จึงก่อให้เกิดปัญหาความยากจน ชุมชนจึงพัฒนาด้านการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ แต่ยังขาดทักษะในการจัดการ และยังขาดความสมบูรณ์ของสถานที่ที่ใช้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงศึกษาเรียนรู้ในปัจจุบันชุมชนบ้านขุนสมุทรจีนได้มีศูนย์การเรียนรู้เกี่ยวกับสภาวะโลกร้อนและระบบนิเวศป่าชายเลนโดยใช้อาคารเรียนของโรงเรียนบ้านขุนสมุทรจีน ซึ่งชุมชนมีความต้องการพัฒนาปรับปรุงอาคารเรียนจำนวน 2 ห้องเรียนเพื่อให้เป็นสถานที่จัดนิทรรศการและสื่อในการเรียนรู้ต่อไป

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

ศูนย์การเรียนรู้สภาวะโลกร้อนและระบบนิเวศป่าชายเลนเพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ทางการท่องเที่ยวและแก้ปัญหาความยากจนในชุมชนบ้านขุนสมุทรจีน หมู่ 9 ตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้สภาวะโลกร้อนและระบบนิเวศป่าชายเลน

มีข้อมูลภายในศูนย์การเรียนรู้สภาวะโลกร้อนและระบบนิเวศป่าชายเลนร้อยละ 90%

0.00
2 เพื่อสร้างกิจกรรมการท่องเที่ยวรูปแบบใหม่และสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน

มีกิจกรรมการท่องเที่ยวรูปแบบใหม่และสร้างรายได้ให้แก่ชุมชนจากศูนย์การเรียนรู้ ร้อยละ 80%

0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 แผนการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
แผนการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    1. การวางแผนการดำเนินงานโดยการมีส่วนรวมจากผู้นำชุมชน ชุมชน นักศึกษา อาจารย์ และองค์การบริหารส่วนตำบลแหลมฟ้าผ่า
    - ศึกษาดูงานพื้นที่
    - ศึกษาข้อมูลผลกระทบกับสภาวะโลกร้อนและระบบนิเวศที่มีต่อชุมชน
    - ศึกษาข้อมูลทางธรรมชาติและวัฒนธรรม
    - ศึกษาข้อมูลทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
    - ร่วมกันวางแผนปรับปรุงอาคารเรียนของโรงเรียนบ้านขุนสมุทรจีนให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ที่สมบูรณ์
    2. ดำเนินการปรับปรุงพื้นที่อาคารเรียนของโรงเรียน โดยการมีส่วนรวมจากผู้นำชุมชน ชุมชน นักศึกษา อาจารย์และองค์การบริหารส่วนตำบลแหลมฟ้าผ่า
    - ออกแบบสื่อการเรียนรู้
    - ออกแบบศูนย์การเรียนรู้
    - ออกแบบข้อมูลสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
    3. หารือร่วมกันถึงความเหมาะสมของของพื้นที่ โดยการมีส่วนรวมจากผู้นำชุมชน ชุมชน นักศึกษา อาจารย์ และองค์การบริหารส่วนตำบลแหลมฟ้าผ่า
    - วิพากษ์ร่วมกันถึงความเหมาะสมในการใช้พื้นที่ และความเหมาะสมของข้อมูล
    4. ทดลองใช้ศูนย์การเรียนรู้โดยการมีส่วนรวมจากผู้นำชุมชน ชุมชน นักศึกษา อาจารย์ และองค์การบริหารส่วนตำบลแหลมฟ้าผ่า และนักท่องเที่ยว
    - ทดลองการใช้สื่อต่าง ๆ
    - วิพากษ์ร่วมกัน ปรับปรุงแก้ไขความเหมาะสม
    5.ปรับปรุงแก้ไขจากการทดลองใช้ โดยการมีส่วนรวมจากผู้นำชุมชน ชุมชน นักศึกษา อาจารย์
    - ปรับปรุงแก้ไขและทดลองใช้หลักจากปรับปรุง
    6. ส่งมอบและประเมินผลศูนย์การเรียนรู้โดยการมีส่วนรวมจากผู้นำชุมชน ชุมชน นักศึกษา อาจารย์ และองค์การบริหารส่วนตำบลแหลมฟ้าผ่า และนักท่องเที่ยว
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ได้ศูนย์การเรียนรู้เกี่ยวกับสภาวะโลกร้อนและระบบนิเวศป่าชายเลน
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนการประสานงาน

    รวมตลอดโครงการ

    1 ชุด 180,000 1 180,000
    ค่าอาหาร

    ถั่วเฉลี่ยตลอดโครงการ

    1 ชุด 90,000 1 90,000
    ค่าที่พักตามจริง

    ถั่วเฉลี่ยตลอดโครงการ

    1 ชุด 90,000 1 90,000
    ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

    ถั่วเฉลี่ยตลอดโครงการ

    1 ชุด 40,000 1 40,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ถั่วเฉลี่ยตลอดโครงการ

    1 ชุด 100,000 1 100,000
    รวมค่าใช้จ่าย 500,000

    รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

    ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
    ค่าใช้จ่าย (บาท) 180,000.00 220,000.00 100,000.00 500,000.00
    เปอร์เซ็นต์ (%) 36.00% 44.00% 20.00% 100.00%

    11. งบประมาณ

    500,000.00บาท

    12. การติดตามประเมินผล

    ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
    ผลผลิต (Output) บ้านขุนสมุทรจีน ได้มีศูนย์การเรียนรู้สภาวะโลกร้อนและระบบนิเวศป่าชายเลนเพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ทางการท่องเที่ยวและแก้ปัญหาความยากจนในชุมชนบ้านขุนสมุทรจีน หมู่ 9 ตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ 1. โครงงานการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้สภาวะโลกร้อนและระบบนิเวศป่าชายเลนเพื่อส่งเสริม
    ภาพลักษณ์ทางการท่องเที่ยวและแก้ปัญหาความยากจนในชุมชนบ้านขุนสมุทรจีน หมู่ 9 ตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ
    2. โครงงานสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
    ผลลัพธ์ (Outcome) ที่ช่วยในการส่งเสริมอาชีพของชุมชน สามารถสร้างรายได้ให้กับชุมชน ทำให้ชุมชนประกอบอาชีพได้อย่างสมบูรณ์และส่งต่อข้อมูลให้กับนักท่องเที่ยวได้อย่างถูกต้อง และยังส่งเสริมให้คนในชุมชนประกอบอาชีพในชุมชนของตนเอง ลดการย้ายถิ่นฐานอีกด้วย โครงงานดังกล่าวนักศึกษาได้รับองค์ความรู้ที่สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาทางวิชาการ สู่การลงมือปฏิบัติแก้ปัญหา จากสถานการณ์จริงจากพื้นที่ดำเนินงาน และเป็นผลงานที่เกิดจากเป็นประสบการณ์วิชาชีพและยังได้รับความรู้จากศาสตร์ที่ร่วมกันดำเนินโครงงาน
    ผลกระทบ (Impact) ที่ช่วยในการส่งเสริมอาชีพของชุมชน สามารถสร้างรายได้ให้กับชุมชน ทำให้ชุมชนประกอบอาชีพได้อย่างสมบูรณ์และส่งต่อข้อมูลให้กับนักท่องเที่ยวได้อย่างถูกต้อง และยังส่งเสริมให้คนในชุมชนประกอบอาชีพในชุมชนของตนเอง ลดการย้ายถิ่นฐานอีกด้วย นอกจากนี้นักศึกษายังได้รับความรู้ ความเข้าใจ ตระหนัก ปลูกจิตสำนึกเกี่ยวกับการอนุรักษ์ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม สามารถเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม เข้าใจถึงหลักเศรษฐกิจพอเพียง รวมถึงการมีจิตอาสา อุทิศตนเพื่อสังคมและการดำรงตนได้อย่างถูกต้องถึงพบกับสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงอีกด้วย
    นำเข้าสู่ระบบโดย ผศ.ธัชกร วงษ์คำชัย ผศ.ธัชกร วงษ์คำชัย เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 17:08 น.