โครงการเสริมสร้างศักยภาพเกษตรกรในการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลาย (Black Soldier Fly Larvae) เพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูง โดยการพึ่งพาตนเองตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

แบบเสนอโครงการ
โครงการเสริมสร้างศักยภาพเกษตรกรในการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลาย (Black Soldier Fly Larvae) เพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูง โดยการพึ่งพาตนเองตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

1. ชื่อโครงการ

โครงการเสริมสร้างศักยภาพเกษตรกรในการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลาย (Black Soldier Fly Larvae) เพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูง โดยการพึ่งพาตนเองตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมคณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์1) คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร 2) ศูนย์ประสานงานโครงการพัฒนาแก้มลิงหนองเลิงเปือย อันเนื่องมาจากพระราชดำริ อ.ร่องคำ จ.กาฬสินธุ์ชุมชนในพื้นที่ตำบลร่องคำผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศมณพร สุทธิบาก59/5 หมู่ที่ 1 ต.เชียงเครือ อ.เมือง จ.สกลนคร0952396195, 042-725-0331. ผศ.ดร.ศมณพร สุทธิบาก ภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม คณวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
2. ผศ.ดร.รฐานิษฐ์ สุขธนาภิรัตน์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม คณวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
3. ผศ.ดร.สมควร โพธารินทร์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
4.รศ.ดร.กานดา ล้อแก้วมณี สาขาสัตว์ศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร
5.ผศ.สิทธิชัย ฮะทะโชติ สาขาประมง คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร
6. นางสาวณัฐปภัสร์ จันทร์สาขาธนา นักวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
7. นางสาวอาภรณ์ ศรีมาตร นักวิทยาศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร
8. นายรามินทร์ ศรีโยหะ สมาชิกบ้านโนนศาลา ผู้ช่วยนักวิจัย
9.นายณนธชา พูลเพิ่ม เลขที่บัตรประชาชน 1570200063697 สาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม คณวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ วิชา 04811499 โครงงานวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม 3 หน่วยกิต
10.นายธนพล เวชศาสตร์ เลขที่บัตรประชาชน1100201155092 สาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม คณวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ วิชา 04811499 โครงงานวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม 3 หน่วยกิต
11.นายภัคภพ จัดดี เลขที่บัตรประชาชน 1510100300093 สาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม คณวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ วิชา 04811499 โครงงานวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม 3 หน่วยกิต
12.นางสาวชุนิตา อาจหาญ 1470800286051 สาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม คณวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ วิชา 04811499 โครงงานวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม 3 หน่วยกิต
13.นายศศิพงศ์ ผ่องผา 1431000091290 สาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม คณวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ วิชา 04811499 โครงงานวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม 3 หน่วยกิต
14.นางสาวนิตยาสายพฤกษ์ 1379900050261 สาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม คณวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ วิชา 04811499 โครงงานวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม 3 หน่วยกิต
15. นายวีระพงษ์ พรมเสนา เลขที่บัตรประชาชน 1479900372403 สาขาสัตวศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร วิชา 02033498 ปัญหาพิเศษ 3 หน่วยกิต
16. นางสาวนิตยา สนิทชน เลขที่บัตรประชาชน 1410400402470 สาขาสัตวศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร วิชา 02033498 ปัญหาพิเศษ 3 หน่วยกิต
17. นางสาวเฟื่องรัตน์ สืบศิริ เลขที่บัตรประชาชน 1430900208770 สาขาสัตวศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร วิชา 02033498 ปัญหาพิเศษ 3 หน่วยกิต
18.นางสาวธนัชชา สุนโท เลขที่บัตรประชาชน 1480500222007 สาขาประมง คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร วิชา 02033498 ปัญหาพิเศษ 3 หน่วยกิต
19.นางสาวพุทธ์ธีรา พลเยี่ยม เลขที่บัตรประชาชน 1489900278989 สาขาประมง คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร วิชา 02033498 ปัญหาพิเศษ 3 หน่วยกิต

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ ร่องคำ ร่องคำ
กาฬสินธุ์ ร่องคำ ร่องคำ ชานเมือง

3. รายละเอียดชุมชน

ประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดกาฬสินธุ์ มีอาชีพหลัก คือ อาชีพทำนา และอาชีพเสริม คือ การเลี้ยงสัตว์ และการปลูกพืชระยะสั้น อาทิ การเลี้ยงปลา การเลี้ยงไก่ ปลูกพริก มะเขือเทศ และพืชผักต่างๆ เป็นต้น ซึ่งมีความจำเป็นในการใช้อาหารสัตว์ และปุ๋ยในการทำอาชีพเกษตรกรรม โดยเกษตรกรดังกล่าวจะมีการซื้ออาหารสัตว์ และปุ๋ยเพื่อใช้ภายในครัวเรือน ซึ่งทำให้ปัญหาภาระหนี้สินภายในครัวเรือนและความยากจนยังคงอยู่ในระดับที่สูง โดยจังหวัดกาฬสินธุ์ติดอันดับ 1 ใน 10 จังหวัดที่มีสัดส่วนคนจนสูงที่สุดหรือมีความยากจนหนาแน่นสูงที่สุด เป็นอันดับ 4 ของประเทศ ในปี 2550-2559 (สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2559)ในการพัฒนาศักยภาพเกษตรกรไทยรุ่นใหม่ให้ก้าวสู่ประเทศไทย 4.0 นั้นต้องเริ่มจากการเปลี่ยนมุมมองแนวคิด (Mind Set) ในการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนให้เกิดประโยชน์มากที่สุดและคุ้มค่ามากที่สุด โดยเฉพาะเศษผัก ผลไม้และเศษอาหารในครัวเรือนที่มีสัดส่วนมากถึงร้อยละ 40-50 โดยการปรับเปลี่ยนแนวคิดและมุมมองของคนในชุมชนให้มองเห็นคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในพื้นที่ชุมชน และพัฒนาศักยภาพของเกษตรกรในการใช้ทรัพยากรในพื้นที่เพื่อผลิตอาหารสัตว์โปรตีนสูงตามบริบทของพื้นที่จากการศึกษาพบว่าหนอนที่มีบทบาทสำคัญในการย่อยสลายเศษอาหาร เศษผักและเศษผลไม้จากชุมขน รวมถึงมูลสัตว์และเศษไม้ที่เน่าเปื่อยผุพังได้แก่หนอนแมลงวันลาย (Black Soldier Fly Larvae) ซึ่งตัวเต็มวัยของแมลงวันลาย มีความยาว 4-6 เซนติเมตร พบได้ทั่วไปในสภาพภูมิอากาศเขตร้อนและเขตอบอุ่น แมลงวันลายไม่เป็นสัตว์รำคาญ ไม่มีฟัน ไม่มีเหล็กใน ไม่เป็นพาหะนำโรค ไม่เป็นศตรูพืช ถ้าแมลงวันลายเป็นเจ้าถิ่น หรือทำการวางไข่ แมลงวันลายจะปล่อยสารยับยั้งการวางไข่ของแมลงวันบ้าน (Allomone) ทำให้แมลงวันบ้านไม่เข้าใกล้บริเวณนั้นๆ ซึ่งเป็นการควบคุมแมลงวันบ้านได้ (Cickova, Newton, and Kozanek, 2015) และจากการวิจัยภายใต้โครงการ Innovation Hub-Agriculture & Food เพื่อสร้างเศรษฐกิจฐานนวัตกรรมของประเทศตามนโยบายประเทศไทย 4.0 พบว่าหนอนแมลงวันลายสามารถย่อยขยะอินทรีย์ประเภทเศษผัก ผลไม้และเศษอาหารได้มากถึง 80-90% (ศมณพรและคณะ, 2561) และมีคุณค่าทางอาหารสูง โดยมีโปรตีน 42-51% ไขมัน 35% พลังงาน 2,900 กิโลแคลอรี่ (กุลชาติ, 2554 และศมณพร, 2561) สามารถนำไปเป็นอาหารไก่ไข่ ไก่พื้นบ้าน ไก่สวยงาม อาหารปลา และอาหารกบได้ และมีราคาขายในประเทศไทยกิโลกรัมละ 500-600 บาท (อ้างอิงจากศูนย์กำจัดขยะอินทรีย์ชุมชนบ้านโนนศาลา, 2562)
นอกจากนี้ลักษณะโครงการดังกล่าวสอดคล้องกับ Flagshipและนโยบายของรัฐบาลที่จะช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ในประเด็น BCG in Action (Bio-Circular-Green Economy) ที่มุ่งเน้นไปที่แหล่งโปรตีนทางเลือกใหม่จากแมลง และ Zero-waste ดังนั้นแนวคิดการเสริมสร้างศักยภาพคนในชุมชนในการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายเพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูงจึงเป็นการสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้กับเกษตรกรและผู้สนใจทั่วไป เพื่อให้มีความสามารถในการวางแผนชีวิตและดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า ตลอดจนเป็นการพัฒนาระบบการเรียนรู้ในชุมชนให้เข้าถึงความรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา และนำความรู้ไปพัฒนาต่อยอดและประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตได้ ทำให้เกิดความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย อันเป็นการปลูกฝังและพัฒนาทักษะนอกห้องเรียน ผลที่ได้จากการดำเนินการดังกล่าวทำให้เกิดการลดรายจ่าย และเพิ่มรายได้ภายในครัวเรือน และเกิดการพึ่งพาตนเองมากที่สุดอันจะก่อให้เกิดการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืนต่อไป
ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การใช้นวัตกรรมที่เหมาะสมต่อการจัดการขยะมูลฝอยอินทรีย์โดยหนอนแมลงวันลายเพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูงระดับครัวเรือน

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสร้างครอบครัวต้นแบบให้เป็น “ศูนย์เรียนรู้เพื่อเสริมสร้างศักยภาพเกษตรกรรุ่นใหม่ในการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายเพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูง โดยการพึ่งพาตนเองตามหลักคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”

จำนวนครัวเรือนต้นแบบ 30 ครัวเรือน

30.00 30.00
2 เพื่อสร้างเกษตรกรรุ่นใหม่ที่สามารถเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายเพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูง

จำนวนเกษตรกรรุ่นใหม่ จำนวน 100 คน

100.00 100.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มนักเรียนมัธยมปลาย 30
กลุ่มเกษตรกรที่มีอาชีพเลี้ยงไก่ ปลา กบ และอื่นๆ 30
กลุ่มเกษตรกรวัยกลางคน (อายุ 40-70 ปี) 40

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 คัดเลือกชุมชนและกลุ่มเป้าหมายที่มีศักยภาพเพื่อเป็นต้นแบบในการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายเพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูง

ชื่อกิจกรรม
คัดเลือกชุมชนและกลุ่มเป้าหมายที่มีศักยภาพเพื่อเป็นต้นแบบในการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายเพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูง
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อสร้างครอบครัวต้นแบบให้เป็น “ศูนย์เรียนรู้เพื่อเสริมสร้างศักยภาพเกษตรกรรุ่นใหม่ในการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายเพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูง โดยการพึ่งพาตนเองตามหลักคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”
  2. เพื่อสร้างเกษตรกรรุ่นใหม่ที่สามารถเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายเพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูง
รายละเอียดกิจกรรม
คัดเลือกชุมชนและกลุ่มเป้าหมายที่มีศักยภาพเพื่อเป็นต้นแบบในการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายเพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูง
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 31 มกราคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1) จำนวนครัวเรือนต้นแบบที่ถูกคัดเลือก 30 ครัวเรือน
2) จำนวนประชากรเป้าหมายที่จะเข้ารับการอบรมจำนวน 100 คน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร
เจ้าหน้าที่ศูนย์ประสานงานโครงการพัฒนาแก้มลิงหนองเลิงเปือย อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลร่องคำ
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

ค่าตอบแทนคณะกรรมการคัดเลือกพื้นที่

2 คน 600 2 2,400
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า 1 คน 2,500 2 5,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางไปราชการ

3 คน 240 2 1,440
ค่าที่พักตามจริง 2 คน 600 2 2,400
ค่าถ่ายเอกสาร 20 ชุด 25 1 500
รวมค่าใช้จ่าย 11,740

กิจกรรมที่ 2 การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในการติดตั้งระบบการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายเพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูงในระดับครัวเรือน

ชื่อกิจกรรม
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในการติดตั้งระบบการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายเพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูงในระดับครัวเรือน
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในการติดตั้งระบบการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายเพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูงในระดับครัวเรือน
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    1) จำนวนครัวเรือนต้นแบบที่ผ่านการอบรมฯ จำนวน 30 ครัวเรือน 2) จำนวนประชากรเป้าหมายที่ผ่านการอบรมฯ จำนวน 100 คน
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    องค์การบริหารส่วนตำบลร่องคำ สำหรับสถานที่ในการฝึกอบรม
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าตอบแทนวิทยากรภายในมหาวิทยาลัย

    1 คน 1,800 2 3,600
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าตอบแทนวิทยากรภายนอก

    1 คน 1,800 2 3,600
    ค่าอาหาร

    ค่าเบี้ยเลี้ยงนิสิตช่วยงาน

    10 คน 210 2 4,200
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า 2 ครั้ง 2,500 2 10,000
    ค่าที่พักตามจริง 5 คน 600 2 6,000
    ค่าถ่ายเอกสาร 100 คน 50 1 5,000
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารกลางวันของผู้รับการอบรม

    100 คน 135 2 27,000
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

    100 คน 35 4 14,000
    ค่าอาหาร

    ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางไปราชการ

    3 คน 240 2 1,440
    ค่าวัสดุสำนักงาน

    กระดาษจำนวน 10 รีมๆ ละ 100 บาท จำนวน 1,0000 ปากกาจำนวน 100 ด้ามๆ ละ 5 บาทจำนวน 500 หมึกพิมพ์จำนวน 2 ตลับๆ ละ 1500 บาท รวม 3,000 รวมทั้งสิ้น 4,500

    1 คน 4,500 1 4,500
    ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 คน 3,460 1 3,460
    ค่าถ่ายเอกสาร

    ค่าจัดพิมพ์คู่มือการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายในระดับครัวเรือน

    30 คน 150 1 4,500
    อื่น ๆ

    ค่าโทรศัพท์และค่าไปรษณีย์

    6 คน 1,000 1 6,000
    รวมค่าใช้จ่าย 93,300

    กิจกรรมที่ 3 การติดตั้งระบบการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายเพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูงในระดับครัวเรือนต้นแบบ

    ชื่อกิจกรรม
    การติดตั้งระบบการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายเพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูงในระดับครัวเรือนต้นแบบ
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      การติดตั้งระบบการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายเพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูงในระดับครัวเรือนต้นแบบ
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      1 เมษายน 2563 ถึง
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      จำนวนครัวเรือนต้นแบบที่มีการติดตั้งระบบเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายเพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูงจำนวน 30 ครัวเรือน
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร
      เจ้าหน้าที่ศูนย์ประสานงานโครงการพัฒนาแก้มลิงหนองเลิงเปือย อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลร่องคำ
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน 3,600 4 14,400
      ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ 1 คน 3,600 4 14,400
      ค่าอาหาร

      ค่าเบี้ยเลี้ยงนิสิตช่วยงาน

      5 คน 210 4 4,200
      ค่าที่พักตามจริง 3 คน 600 4 7,200
      ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า 2 คน 2,500 4 20,000
      ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

      ค่าวัสดุอุปกรณ์เพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลาย

      30 คน 10,000 1 300,000
      รวมค่าใช้จ่าย 360,200

      กิจกรรมที่ 4 การติดตามและประเมินผลโครงการ

      ชื่อกิจกรรม
      การติดตามและประเมินผลโครงการ
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        การติดตามและประเมินผลโครงการ
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        1 มิถุนายน 2563 ถึง
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร
        เจ้าหน้าที่ศูนย์ประสานงานโครงการพัฒนาแก้มลิงหนองเลิงเปือย อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลร่องคำ
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน 600 5 3,000
        ค่าตอบแทนวิทยากร

        ค่าตอบแทนวิทยากรภายนอก

        1 คน 800 5 4,000
        ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า 3 คน 2,500 2 15,000
        ค่าที่พักตามจริง 3 คน 600 2 3,600
        ค่าถ่ายเอกสาร 100 คน 20 1 2,000
        ค่าอาหาร

        ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางไปราชการ

        3 คน 240 3 2,160
        อื่น ๆ

        ค่าจ้างเหมาเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถาม

        100 คน 50 1 5,000
        รวมค่าใช้จ่าย 34,760

        รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

        ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
        ค่าใช้จ่าย (บาท) 45,400.00 3,460.00 134,200.00 304,500.00 12,440.00 500,000.00
        เปอร์เซ็นต์ (%) 9.08% 0.69% 26.84% 60.90% 2.49% 100.00%

        11. งบประมาณ

        500,000.00บาท

        12. การติดตามประเมินผล

        ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
        ผลผลิต (Output) 1) จำนวนเกษตรกรและประชาชนทั่วที่ผ่านการอบรมระบบการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายเพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูง 50 คน
        2) จำนวนเกษตรกรและประชาชนทั่วไปที่ผ่านการอบรมและติดตั้งระบบการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายเพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูง 30 ครัวเรือน
        มีความรู้เกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงหนอนแมลงวันลายเพื่อเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูงจากการลงมือปฏิบัติร่วมกับชุมชนที่เข้าร่วมอบรม
        ผลลัพธ์ (Outcome) 1) จำนวนปุ๋ยอินทรีย์ที่เกิดจากการย่อยสลายของหนอนแมลงวันลาย
        2) จำนวนหนอนโปรตีนสูงที่สามารถนำไปใช้ในการเลี้ยงสัตว์เลี้ยง
        ผลการเรียนรู้ด้านคุณลักษณะ (21st Century Themes) โดยผู้เรียนจะมีความเข้าใจและปฏิบัติได้ในด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Literacy) โดยผ่านการลงมือปฏิบัติด้วยตนเองตามนโยบายของรัฐบาล “คัดแยกก่อนทิ้ง” และก่อให้เกิดจิตสำนึกที่จะให้ความร่วมมือและปฏิบัติตนในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และทำให้อยู่ในสภาพที่ดีเหมาะสมต่อการดำรงชีวิตของทุกคน
        ผลกระทบ (Impact) 1) ลดปริมาณขยะอินทรีย์ที่จะไปนำไปกำจัด
        2) ลดค่าใช้จ่ายในการนำไปกำจัดขยะอินทรีย์
        3) ลดค่าอาหารในการเลี้ยงสัตว์
        ผลการเรียนรู้ด้านทักษะ (Skill) โดยส่งผลถึงทักษะด้านชีวิตและอาชีพ (Life and Career Skills) ทั้งนี้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองเพื่อยกระดับความรู้ความชำนาญ เพื่อขยายขอบเขตการเรียนรู้และโอกาสที่จะทำ ให้เกิดความเชี่ยวชาญ และเกิดกระบวนการ เรียนรู้ต่อเนื่องตลอดชีวิต
        นำเข้าสู่ระบบโดย ผศ.ดร.ศมณพร สุทธิบาก ผศ.ดร.ศมณพร สุทธิบาก เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 17:01 น.