โครงการ นวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุเหลือใช้ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น เทศบาลเมืองตาก อำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก

แบบเสนอโครงการ
โครงการ นวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุเหลือใช้ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น เทศบาลเมืองตาก อำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก

1. ชื่อโครงการ

โครงการ นวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุเหลือใช้ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น เทศบาลเมืองตาก อำเภอเมืองตาก จังหวัดตากกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมวิทยาลัยนอร์ทเทิร์น ตาก1. เทศบาลตำบลหนองบัวใต้ อำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก 2. องค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัวใต้ 3. ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงงานจังหวัดตาก 4. พัฒนาชุมชนจังหวัดตาก 5. พาณิชย์จังหวัดตาก6. อุตสาหกรรมจังหวัดตาก 7. หอการค้าจังหวัดตากหนองบัวใต้วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น ตากวิทยาลัยนอร์ทเทิร์นเลขที่ 888 หมู่ 2 ตำบลหนองบัวใต้ อำเภอเมือง จังหวัดตาก 63000วิทยาลัยนอร์ทเทิร์นเลขที่ 888 หมู่ 2 ตำบลหนองบัวใต้ อำเภอเมือง จังหวัดตาก 63000วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
ตาก เมืองตาก หนองบัวใต้
ตาก เมืองตาก หนองบัวใต้ ในเมือง

3. รายละเอียดชุมชน

ขยะเป็นปัญหาสำคัญที่ประเทศต้องเร่งดำเนินการป้องกันแก้ไข เนื่องจากขยะมูลฝอยทั้งจากครัวเรือนและโรงงานอุตสาหกรรมมีปริมาณเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ปัจจุบันการดูแลเก็บขนขยะมูลฝอยอยู่ในความรับผิดชอบขององค์กรส่วนท้องถิ่น ซึ่งชุมชนไม่สามารถจัดเก็บขยะได้ ทำให้มีปริมาณขยะตกค้างและสะสมในแต่ละวันจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตพื้นที่ที่เป็นชุมชนขนาดใหญ่ มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่น ขยะมูลฝอยยังส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนทั้งทางตรงและทางอ้อม เนื่องจากขยะมูลฝอยเป็นแหล่งอาหารและแหล่งเพาะพันธ์ของแมลงนำโรคหลายชนิด อีกทั้งยังก่อให้เกิดกลิ่นเหม็น เหตุรำคาญ บ้านเมืองสกปรก ขาดความสวยงาม เป็นที่รังเกียจของผู้พบเห็น เทศบาลตำบลหนองบัวใต้ได้แสวงหาความร่วมมือกับชุมชน ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาการจัดการขยะและนำหลัก 3Rs คือ REDUCE (การลดการใช้)REUSE (การใช้ซ้ำ)และ RECYCLE (การนำมาแปรรูปใหม่)มาใช้ให้เกิดประโยชน์ก็จะสามารถช่วยลดปริมาณขยะได้วิธีการดังกล่าวจะเป็นทางออกที่ดีในสภาวะปัจจุบันที่จะสามารถกำจัดขยะได้อย่างครบวงจร และยังได้รับผลประโยชน์จากการกำจัดขยะนี้อีกมากมาย อาทิ การสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่จากกระบวนการกำจัดและผลิต การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้แก่ชุมชน การสร้างรายได้เสริม การสร้างความสามัคคี และความริเริ่มสร้างสรรค์ให้แก่ชุมชนธนาคารขยะรีไซเคิลเทศบาลตำบลหนองบัวใต้ คือแนวทางหนึ่งที่จะทำให้ เกิดการคัดแยกขยะอย่างเป็นระบบและมีการบริหารจัดการขยะรีไซเคิลอย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยปลูกฝังจิตสำนึกให้กำลังพลและครอบครัวตลอดจนชุมชนเทศบาลตำบลหนองบัวใต้ รู้จักและมีส่วนร่วมในการจัดการขยะและรักษาสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ เทศบาลตำบลหนองบัวใต้ สะอาด สวยงาม น่าอยู่อาศัย ตลอดไปปัญหาการจัดการขยะ เป็นปัญหาที่นับวันแต่จะเพิ่มความยุ่งยาก ให้กับผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องในทุกองค์กรและทุกชุมชน
ชุมชนเทศบาลตำบลหนองบัวใต้ เป็นหน่วยงานหนึ่งที่ต้องประสบปัญหาเกี่ยวกับการจัดการขยะ ที่มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นทุกวัน ทำให้ต้องสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายจำนวนมากในการขนย้าย และยุ่งยากมากในการหาสถานที่กำจัด
การจัดการขยะอย่างเป็นระบบ เพื่อนำขยะที่สามารถใช้ประโยชน์ได้อีกครั้งหนึ่ง กลับมาใช้ประโยชน์
( Recycle )จึงเป็นหนทางหนึ่ง ที่จะช่วยลดจำนวนขยะ และลดภาระความสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย ในการจัดการขยะลงได้

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 2.1 เพื่อเสริมสร้างความรู้และทักษะในการคัดเลือกเศษวัสดุเหลือใช้ ของนักศึกษา และชุมชน 2.2 เพื่อพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนและกระบวนการเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุเหลือใช้ 2.3 เพื่อจัดตั้งธนาคารขยะรีไซเคิลจากเศษวัสดุเหลือใช้ 2.4 เพื่อสร้างเครือข่าย ช่องทางตลาด การจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุเหลือใช้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น 2.5 เพื่อพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็ง และเพิ่มรายได้กับชุมชน ด้วยการสร้างนวัตกรรมผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุเหลือใช้ของภูมิปัญญาท้องถิ่น

ผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุเหลือใช้ ธนาคารขยะรีไซเคิล ช่องทางการตลาดิจิทัล

5.00
2 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้และทักษะในการคัดเลือกเศษวัสดุเหลือใช้ ของนักศึกษา และชุมชน 2.เพื่อพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนและกระบวนการเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุเหลือใช้ 3. เพื่อจัดตั้งธนาคารขยะรีไซเคิลจากเศษวัสดุเหลือใช้ 4. เพื่อสร้างเครือข่าย ช่องทางตลาด การจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุเหลือใช้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น 5. เพื่อพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็ง และเพิ่มรายได้กับชุมชน ด้วยการสร้างนวัตกรรมผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุเหลือใช้ของภูมิปัญญาท้องถิ่น
  1. ความรู้และทักษะในการคัดเลือกเศษวัสดุเหลือใช้ ของนักศึกษา และชุมชน
  2. การมีส่วนร่วมของชุมชนและกระบวนการเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุเหลือใช้
    3.จัดตั้งธนาคารขยะรีไซเคิลจากเศษวัสดุเหลือใช้
  3. เครือข่าย ช่องทางตลาด การจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุเหลือใช้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น
  4. รายได้ของชุมชนเพิ่มขึ้น
0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ชุมชน 250
นักศึกษา 50
อาจารย์และบุคลากร 50

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 1. จัดอบรมให้ความรู้แก่ชุมชนเรื่องการคัดแยกขยะ

ชื่อกิจกรรม
1. จัดอบรมให้ความรู้แก่ชุมชนเรื่องการคัดแยกขยะ
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 มิถุนายน 2563 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    รวมค่าใช้จ่าย 0

    กิจกรรมที่ 2 2. ออกแบบผลิตภัณฑ์

    ชื่อกิจกรรม
    2. ออกแบบผลิตภัณฑ์
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      1 กรกฎาคม 2563 ถึง
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      รวมค่าใช้จ่าย 0

      กิจกรรมที่ 3 2.2 อบรมเชิงปฏิบัติการการออกแบบผลิตภัณฑ์

      ชื่อกิจกรรม
      2.2 อบรมเชิงปฏิบัติการการออกแบบผลิตภัณฑ์
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        1 สิงหาคม 2563 ถึง
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        ค่าตอบแทนวิทยากร 10 คน 15,000 2 300,000
        รวมค่าใช้จ่าย 300,000

        กิจกรรมที่ 4 3. การจัดธนาคารขยะรีไซเคิล

        ชื่อกิจกรรม
        3. การจัดธนาคารขยะรีไซเคิล
        วัตถุประสงค์
          รายละเอียดกิจกรรม
          ระยะเวลาดำเนินงาน
          1 กันยายน 2563 ถึง
          ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
          ทรัพยากรอื่น ๆ
          ภาคีร่วมสนับสนุน
          รายละเอียดงบประมาณ
          ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
          ค่าตอบแทนวิทยากร 10 คน 14,000 3 420,000
          รวมค่าใช้จ่าย 420,000

          กิจกรรมที่ 5 4. การตลาดดิจิทัล

          ชื่อกิจกรรม
          4. การตลาดดิจิทัล
          วัตถุประสงค์
            รายละเอียดกิจกรรม
            ระยะเวลาดำเนินงาน
            30 กันยายน 2563 ถึง
            ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
            ทรัพยากรอื่น ๆ
            ภาคีร่วมสนับสนุน
            รายละเอียดงบประมาณ
            ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
            ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน 50,000 1 150,000
            รวมค่าใช้จ่าย 150,000

            กิจกรรมที่ 6 5. จัดอบรมคืนองค์ความรู้สู่ชุมชน

            ชื่อกิจกรรม
            5. จัดอบรมคืนองค์ความรู้สู่ชุมชน
            วัตถุประสงค์
              รายละเอียดกิจกรรม
              ระยะเวลาดำเนินงาน
              25 ตุลาคม 2563 ถึง
              ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
              ทรัพยากรอื่น ๆ
              ภาคีร่วมสนับสนุน
              รายละเอียดงบประมาณ
              ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
              ค่าตอบแทนวิทยากร 10 คน 20,000 1 200,000
              รวมค่าใช้จ่าย 200,000

              รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 1,070,000.00 บาท

              ค่าตอบแทนรวมเงิน
              ค่าใช้จ่าย (บาท) 1,070,000.00 1,070,000.00
              เปอร์เซ็นต์ (%) 100.00% 100.00%

              11. งบประมาณ

              1,070,000.00บาท

              12. การติดตามประเมินผล

              ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
              ผลผลิต (Output) 1. ได้รับการพัฒนาให้มีความหลากหลายและผลิตภัณฑ์ใหม่จากเศษวัตถุดิบเหลือใช้ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น
              2. องค์ความรู้/ตัวแบบสำหรับต่อยอดงานวิจัยสู่การถ่ายทอดองค์ความรู้กระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อการเพิ่มขีดความสามารถของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทยหรือหน่วยงานภาครัฐและเอกชน 1. สร้างองค์ความรู้ให้กับผู้ประกอบการใหม่โดยได้องค์รวม (Body of Knowledge) ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในด้านการเรียนการสอนและผู้ที่สนใจ สถาบันนการศึกษา ผู้ประกอบการ
              2. สร้างศักยภาพของวิสาหกิจชุมชน ผู้ประกอบการ SMEs ให้การตัดสินใจลงทุน เพื่อลดค่าใช้จ่ายของธุรกิจ และเพิ่มรายได้จากผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นที่ได้รับการพัฒนาให้มีความหลากหลายและผลิตภัณฑ์ใหม่จากเศษวัตถุดิบเหลือใช้ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น 1. ชุมชนได้องค์ความรู้และภูมิปัญญาที่สามารถสร้างความเข้มแข็งและต่อยอดของชุมชน สังคม ประเทศ
              2. ความภาคภูมิใจในชุมชนและตัวแบบของการถ่ายทอดองค์ความรู้
              3. การมีศักยภาพองค์ความรู้ที่เพิ่มขึ้นทำให้เกิดการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพของวิสาหกิจ
              4. การขยายองค์ความรู้สู่กิจการหรือธุรกิจอื่นๆ เพื่อใหเกิดการดำเนินงานต่อยอดงานวิจัยเชิงพานิชย์
              ผลลัพธ์ (Outcome) 1. ผลิตภัณฑ์ใหม่จากเศษวัสดุหลือใช้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น ผลิตภัณฑ์ใหม่จากเศษวัสดุเหลือใช้อย่างน้อย 1 ผลิตภัณฑ์ ได้คุณภาพชีวิตและสินค้าบริหารที่มีคุณภาพที่เกิดจากภูมิปัญญาท้องถิ่น
              2. ช่องทางการตลาดดิจิทัล ได้ความภาคภูมิใจและการเป็นตัวแบบ
              ผลกระทบ (Impact) 1. สามารถบรรเทาปัญหาของชุมชนได้ สร้างความมั่งคงในชุมชน ด้วยการพัฒนาองค์ความรู้เรื่องการพัฒนา ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ชุมชนและสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น จากเศษวัสดุเหลือใช้ โดยประยุกต์ใช้กลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล เพื่อส่งเสริมสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างสมดุล
              2. สร้างสมรรถนะในการพัฒนากลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล เพื่อส่งเสริมสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น
              3. สร้างมูลค่าเพิ่มแก่ผลิตภัณฑ์จากกลยุทธ์ทางการตลาดแบบบูรณาการและการจัดการการตลาดดิจิทัล เพื่อส่งเสริมสร้างภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น
              4. องค์ความรู้จากโครงการฯ นำมาวิเคราะห์และสร้างมูลค่าผ่านผลิตภัณฑ์ชุมชนได้ และเมื่อมีผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุเหลือใช้ เป็นสร้างรายได้ในครัวเรือน การเข้าถึงแหล่งทุนและการทำการตลาดเชิงรุกให้กับชุมชน และถ่ายทอดองค์ความรู้ให้เกิดความความยั่งยืนต่อไปในอนาคต
              นำเข้าสู่ระบบโดย buaphan buaphan เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 16:04 น.