การพัฒนาเศรษฐกิจบนความสมดุลระหว่างรายได้และความสุขโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

แบบเสนอโครงการ
การพัฒนาเศรษฐกิจบนความสมดุลระหว่างรายได้และความสุขโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1. ชื่อโครงการ

การพัฒนาเศรษฐกิจบนความสมดุลระหว่างรายได้และความสุขโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการสำนักงานเกษตรอำเภอชุมชนตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์รองศาสตราจารย์ ดร.วรายุทธพลาศรี95 ม.9ต.หนองแปนอ.กมลาไสยจ.กาฬสินธุ์โทร. 087 00222 17นางสาวพิมพิไลแสงจันดาหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์
นางสาวกนกรักษ์พลธิแสงหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์
นางสาวชลธิชาภานุรักษ์หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์
นางสาวพิมชนกหลีสกุลหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์
นางสาวพิมลวรรณเศษสมหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์
นางสาวรวิภาบำรุงไทยหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์
นางสาวสุกัญญาสุ่มมาตย์หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์
นางสาวมิตดาพรศิริมาลาหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์
นางสาวอลิสาวงศ์สิงห์หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาสถิติศาสตร์ประยุกต์
นายกิตติภพอุทัยแพนหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาสถิติศาสตร์ประยุกต์

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ กมลาไสย หนองแปน

3. รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน ตำบลหนองแปนอยู่ห่างจากอำเภอกมลาไสย13 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากจังหวัดกาฬสินธุ์26 กิโลเมตรตำบลหนองแปนประกอบด้วย9หมู่บ้าน มีประชากรจำนวน6,396 คน โดยมีพื้นที่ทั้งหมดจำนวน 19,687 ไร่ และมีพื้นที่เกษตรจำนวน 3,829 ไร่ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำนา โดยเป็นการทำการเกษตรเชิงเดี่ยว และใช้สารเคมีเป็นหลักตำบลหนองแปนเป็นพื้นที่ราบลุ่มที่มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การทำการเกษตรโดยเฉพาะการทำนา ดังวิสัยทัศน์ของตำบล “ตำบลหนองแปนเป็นเมืองน่าอยู่ อู่ข้าวแดนธรรมนำชุมชนเข้มแข็ง แหล่งเกษตรอินทรีย์”ชาวนาส่วนใหญ่ทำการเกษตรเชิงเดี่ยว และใช้สารเคมีเป็นหลัก จึงทำให้ชาวนาประสพกับปัญหาคุณภาพชีวิต การพึ่งพาสารเคมี ตลอดจนราคาข้าวตกต่ำเนื่องจากเป็นข้าวที่ใช้สารเคมีซึ่งผลผลิตมีจำนวนมากเกินความต้องการของตลาด ขณะที่พื้นที่ทำการเกษตรมีแนวโน้มเสื่อมคุณภาพลงเรื่อย ๆ อันเป็นผลจากสารเคมี นอกจากนี้การทำการเกษตรเชิงเดี่ยวจะนำมาซึ่งการว่างงานตามฤดูกาลโดยหลังจากการทำนาแล้วชาวนาก็จะว่างงานจึงขาดรายได้ที่นำมาเสริมอาชีพหลักอันนำมาซึ่งความยากจนของชาวนาอย่างดักดานยากแก่การแก้ปัญหา ก่อให้เกิดการเป็นหนี้เพราะรายได้ต่ำขณะที่สังคมเน้นวัตถุนิยมมากขึ้น ท้ายที่สุดระดับความสุขของชาวนาลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับอดีตจากการสำรวจเบื้องต้น ชาวนายังขาดองค์ความรู้แก่นที่แท้จริงเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการนำไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพ ประกอบกับชาวนาต้องการทำการเกษตรผสมผสาน ลดการใช้สารเคมี รวมทั้งการมีอาชีพเพื่อเสริมรายได้จากการทำนา ซึ่งจะทำให้ชาวนามีรายได้ตลอดทั้งปี ท้ายที่สุดจะนำมาซึ่งคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการประกอบอาชีพและการดำเนินชีวิตเพื่อยกระดับรายได้และความสุขด้วยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างชาวนาซึ่งเป็นผู้ที่ประกอบอาชีพจริงกับอาจารย์และนักศึกษาซึ่งเป็นผู้ที่มีความรู้จากศาสตร์ในตำรา นอกจากนี้ยังได้รับการถ่ายทอดจากวิทยากรที่ประสบความสำเร็จจากการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติ รวมทั้งการศึกษาดูงานและการลงมือปฏิบัติจริง
ทั้งนี้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงมีพระราชดำรัสชี้แนะแนวทางแก่พสกนิกรชาวไทยมีหลักแนวคิดในการดำเนินชีวิตและการพัฒนาประเทศที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานในทางสายกลางหรือความพอเพียงอนึ่งเศรษฐศาสตร์กระแสหลักโดยเฉพาะระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมจะเน้นเป้าหมายที่ความเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ (ผลผลิตหรือวัตถุ) ขณะที่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเน้นที่ความพอดีและเชื่อมโยงกับมิติทางด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นครอบครัวสังคมวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม โดยมีเป้าหมายที่ความอยู่เย็นเป็นสุขทั้งในระดับบุคคลและสังคม

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ชาวนาในพื้นที่ตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ มีความรู้และเข้าใจปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการนำไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพและการดำเนินชีวิต

ชาวนนาเข้าร่วมอบรม จำนวน 80  คน มีความรู้และเข้าใจเพิ่มขึ้น โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ

0.00
2 เพื่อให้ชาวนาในพื้นที่ตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ สามารถมีรายได้เสริมด้วยการทำเกษตรผสมผสาน และการลดการใช้สารเคมี

จากการสัมภาษณ์ผู้เข้าอบรม เกี่ยวกับแนวทางการทำเกษตรผสมผสาน และการลดการใช้สารเคมี

0.00
3 เพื่อให้อาจารย์และนักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้ไปบูรณาการการจัดการเรียนการสอนกับการปฏิบัติงานจริงได้ด้วยการใช้ชุมชนเป็นฐานในการพัฒนา

อาจารย์และนักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้ไปบูรณาการการจัดการเรียนการสอนกับการปฏิบัติงานจริงได้ โดยใช้แบบรายงานโครงการในการประเมิน

0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ชาวนาในพื้นที่ตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬส 80
นักศึกษา 10
อาจารย์ 4

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การวิเคราะห์ศักยภาพชาวนาในพื้นที่ตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์

ชื่อกิจกรรม
การวิเคราะห์ศักยภาพชาวนาในพื้นที่ตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    การอบรมเชิงปฏิบัติการในการวิเคราะห์ศักยภาพทรัพยากรในท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาอาชีพ
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 15 กุมภาพันธ์ 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ได้รับรู้ปัญหาเกี่ยวกับการทำนารวมทั้งอุปสรรค โอกาสและแนวทางการแก้ไขในรูปแบบการสังเคราะห์เชิงลึก
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    (2 คน x 1,200 บาท x 6 ชม x 1 วัน)

    2 คน 1,200 6 14,400
    ค่าอาหาร

    (80 คน x 240 x 1 วัน)

    80 คน 240 1 19,200
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

    (2 คัน x 3,000 x 1 วัน)

    2 ชิ้น 3,000 1 6,000
    ค่าเช่าสถานที่

    (1 วัน x 8,000)

    1 ครั้ง 8,000 1 8,000
    ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

    (80 คน x 100 )

    80 คน 100 1 8,000
    ค่าถ่ายเอกสาร

    (80 ชุด x 50 )

    80 ชุด 50 1 4,000
    ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

    (4 ชิ้น x 1,300)

    4 ชิ้น 1,300 1 5,200
    อื่น ๆ

    ค่าเบี้ยเลี้ยง อาจารย์ (4 คน x 240 บาท x 1 วัน)

    4 คน 240 1 960
    อื่น ๆ

    ค่าเบี้ยเลี้ยง นักศึกษา (10 คน x 180 บาท x 1 วัน)

    10 คน 180 1 1,800
    ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 840 1 840
    รวมค่าใช้จ่าย 68,400

    กิจกรรมที่ 2 การสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในบริบทของชาวนาในพื้นที่ตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยอยู่บนความสมดุลระหว่างรายได้และความสุข

    ชื่อกิจกรรม
    การสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในบริบทของชาวนาในพื้นที่ตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยอยู่บนความสมดุลระหว่างรายได้และความสุข
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      การอบรมเชิงปฏิบัติการโดยการถ่ายทอดความรู้จากวิทยากร ตลอดจนการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน โดยการสร้างรูปแบบการประกอบอาชีพทำนาตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในบริบทของชาวนาในพื้นที่ตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      16 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2563
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      ได้รูปแบบการประกอบอาชีพการทำนาเกษตรผสมผสานแบบปลอดสารเคมี
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      ค่าตอบแทนวิทยากร

      (2 คน x 1,200 บาท x 6 ชม x 2 วัน)

      2 คน 1,200 12 28,800
      ค่าที่พักตามจริง

      (2 ห้อง x 800 บาท x 1 วัน)

      2 ชุด 800 1 1,600
      ค่าอาหาร

      (80 คน x 240 บาท x 2 วัน)

      80 คน 240 2 38,400
      ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

      (2 คัน x 3,000 บาท x 2 วัน)

      2 ชุด 3,000 2 12,000
      ค่าเช่าสถานที่

      (1 ห้อง x 8,000 บาท x 2 วัน)

      1 ครั้ง 8,000 2 16,000
      ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

      (80 คน x 100 บาท x 2 วัน)

      80 คน 100 2 16,000
      ค่าถ่ายเอกสาร

      (80 ขุด x 50 บาท x 2 วัน)

      80 ชุด 50 2 8,000
      ค่าวัสดุสำนักงาน 2 ชุด 2,840 1 5,680
      อื่น ๆ

      ค่าเบี้ยเลี้ยง อาจารย์ (4 คน x 240 บาท x 2 วัน)

      4 คน 240 2 1,920
      อื่น ๆ

      ค่าเบี้ยเลี้ยง นักศึกษา (10 คน x 180 บาท x 2 วัน)

      10 คน 180 2 3,600
      รวมค่าใช้จ่าย 132,000

      กิจกรรมที่ 3 การสร้างอาชีพเสริมจากการทำนา

      ชื่อกิจกรรม
      การสร้างอาชีพเสริมจากการทำนา
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        อบรมเชิงปฏิบัติการโดยการถ่ายทอดความรู้จากวิทยากรพร้อมลงมือปฏิบัติจริง เช่น การเพาะเห็ด การปลูกพืชสมุนไพร และการปลูกพืชผักสวนครัวปลอดสาร เป็นต้น ซึ่งผู้เข้ารับการอบรมจะได้รับวัสดุอุปกรณ์ในการประกอบอาชีพเสริม
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        1 มีนาคม 2563 ถึง 15 มีนาคม 2563
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเพาะเห็ด การปลูกพืชสมุนไพร และการปลูกพืชผักสวนครัวปลอดสารได้
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        เกษตรอำเภอ
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        ค่าตอบแทนวิทยากร

        (2 คน x 1,200 บาท x 6 ชม x 2 วัน)

        2 คน 1,200 12 28,800
        ค่าที่พักตามจริง

        (2 ห้อง x 800 บาท)

        2 ชุด 800 1 1,600
        ค่าอาหาร

        (80 คน x 240 บาท x 2 วัน)

        80 คน 240 2 38,400
        ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

        (2 คัน x 3,000 บาท x 2 วัน)

        2 ชิ้น 3,000 2 12,000
        ค่าเช่าสถานที่

        (1 ห้อง x 8,000 x 2 วัน)

        1 ชุด 8,000 2 16,000
        ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

        (80 คน x 100 บาท x 2 วัน)

        80 คน 100 2 16,000
        ค่าถ่ายเอกสาร

        (80 ชุด x 50 บาท x 2 วัน)

        80 ชุด 50 2 8,000
        ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

        (80 ชุด x 500 บาท)

        80 ชุด 500 1 40,000
        ค่าวัสดุสำนักงาน 2 ชุด 2,840 1 5,680
        อื่น ๆ

        ค่าเบี้ยเลี้ยง อาจารย์ (4 คน x 240 บาท x 2 วัน)

        4 คน 240 2 1,920
        อื่น ๆ

        ค่าเบี้ยเลี้ยง นักศึกษา (10 คน x 180 บาท x 2 วัน)

        10 คน 180 2 3,600
        รวมค่าใช้จ่าย 172,000

        กิจกรรมที่ 4 การสร้างตลาดการเกษตรสมัยใหม่

        ชื่อกิจกรรม
        การสร้างตลาดการเกษตรสมัยใหม่
        วัตถุประสงค์
          รายละเอียดกิจกรรม
          อบรมเชิงปฏิบัติการการขายสินค้าพืชผลการเกษตรจากผู้ผลิตสู่ผู้บริโภคโดยตรง ซึ่งประกอบไปด้วยการกำหนดราคา การแสวงหาช่องทางการตลาดทั้งแบบ offline และ online
          ระยะเวลาดำเนินงาน
          16 มีนาคม 2563 ถึง 15 เมษายน 2563
          ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
          ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และสามารถแสวงหาช่องทางการตลาดทางการเกษตรในรูปแบบที่เหมาะสมได้
          ทรัพยากรอื่น ๆ
          ภาคีร่วมสนับสนุน
          รายละเอียดงบประมาณ
          ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
          ค่าตอบแทนวิทยากร

          (2 คน x 1,200 บาท x 6 ชม)

          2 คน 1,200 6 14,400
          ค่าอาหาร

          (80 คน x 240 บาท x 1 วัน)

          80 คน 240 1 19,200
          ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

          (2 คัน x 3,000 บาท)

          2 ชุด 3,000 1 6,000
          ค่าเช่าสถานที่

          (1 ห้อง x 8,000 บาท)

          1 ชุด 8,000 1 8,000
          ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

          (80 คน x 100 บาท)

          80 คน 100 1 8,000
          ค่าถ่ายเอกสาร

          (80 ชุด x 50 บาท)

          80 ชุด 50 1 4,000
          ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 4,840 1 4,840
          อื่น ๆ

          ค่าเบี้ยเลี้ยง อาจารย์ (4 คน x 240 บาท x 1 วัน)

          4 คน 240 1 960
          อื่น ๆ

          ค่าเบี้ยเลี้ยง นักศึกษา (10 คน x 180 บาท x 1 วัน)

          10 คน 180 1 1,800
          รวมค่าใช้จ่าย 67,200

          กิจกรรมที่ 5 การให้ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์เศรษฐกิจและการจัดทำบัญชีครัวเรือน

          ชื่อกิจกรรม
          การให้ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์เศรษฐกิจและการจัดทำบัญชีครัวเรือน
          วัตถุประสงค์
            รายละเอียดกิจกรรม
            อบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับวิธีการแสวงหาข้อมูลทางเศรษฐกิจ การวิเคราะห์เศรษฐกิจทั้งในระดับจุลภาคและมหภาค การกำหนดราคาโดยกฎของอุปสงค์และอุปทาน ตลอดจนการจัดทำบัญชีครัวเรือน
            ระยะเวลาดำเนินงาน
            16 เมษายน 2563 ถึง 20 พ.ค. 2563
            ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
            ผู้เข้าอบรมมีความรู้และสามารถวิเคราะห์เศรษฐกิจทั้งในระดับจุลภาคและมหภาค การกำหนดราคาพืชผลการเกษตรโดยกฎของอุปสงค์และอุปทาน ตลอดจนสามารถจัดทำบัญชีครัวเรือนได้
            ทรัพยากรอื่น ๆ
            ภาคีร่วมสนับสนุน
            รายละเอียดงบประมาณ
            ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
            ค่าตอบแทนวิทยากร

            (2 คน x 600 บาท x 6 ชม)

            2 คน 600 6 7,200
            ค่าอาหาร

            (80 คน x 240 บาท)

            80 คน 240 1 19,200
            ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

            (2 คัน x 3,000 บาท)

            2 ชิ้น 3,000 1 6,000
            ค่าเช่าสถานที่

            (1 ห้อง x 8,000 บาท)

            1 ชุด 8,000 1 8,000
            ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

            (80 คน x 100 บาท)

            80 คน 100 1 8,000
            ค่าถ่ายเอกสาร

            (80 ชุด x 50 บาท)

            80 ชุด 50 1 4,000
            ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 3,640 1 3,640
            ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

            (80 ชุด x 20 บาท)

            80 ชุด 20 1 1,600
            อื่น ๆ

            ค่าเบี้ยเลี้ยง อาจารย์ (4 คน x 240 บาท x 1 วัน)

            4 คน 240 1 960
            อื่น ๆ

            ค่าเบี้ยเลี้ยง นักศึกษา (10 คน x 180 บาท x 1 วัน)

            10 คน 180 1 1,800
            รวมค่าใช้จ่าย 60,400

            รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

            ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
            ค่าใช้จ่าย (บาท) 149,600.00 5,200.00 263,600.00 62,280.00 19,320.00 500,000.00
            เปอร์เซ็นต์ (%) 29.92% 1.04% 52.72% 12.46% 3.86% 100.00%

            11. งบประมาณ

            500,000.00บาท

            12. การติดตามประเมินผล

            ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
            ผลผลิต (Output) ชาวนาเข้าร่วมอบรม จำนวน 80คน มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการนำไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพและการดำเนินชีวิต นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้ไปบูรณาการกับการปฏิบัติงานจริงได้ด้วยการใช้ชุมชนเป็นฐานในการพัฒนา
            ผลลัพธ์ (Outcome) ชาวนาในพื้นที่ตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ สามารถมีรายได้เสริมด้วยการทำเกษตรผสมผสาน และการลดการใช้สารเคมี โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. นักศึกษาได้รับองค์ความรู้ใหม่จากสถานที่ปฏิบัติงานจริง ก่อให้เกิดการเรียนรู้นอกห้องเรียน
            2. นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการแสดงถึงองค์ความรู้ที่ได้รับจากการลงพื้นที่ปฏิบัติจริงและจากการรับฟังการบรรยายจากวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญ จึงสามารถนำมาเทียบโอนกับรายวิชา ดังนี้ได้
            -วิชาเศรษฐศาสตร์ท้องถิ่นรหัส 4040112จำนวนหน่วยกิต 3(3-0-6)
            -วิชาสถิติศาสตร์เพื่อการวิจัยรหัส 2018308จำนวนหน่วยกิต 3(3-0-6)
            ผลกระทบ (Impact) ชาวนาในพื้นที่ตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ สามารถหลุดพ้นจากความยากจน และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นจากการลดการใช้สารเคมีหรือการทำเกษตรปลอดสารเคมี สามารถดำเนินชีวิตตามแนวทางของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอันนำมาซึ่งสังคมวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้น ซึ่งจะส่งผลต่อความอยู่เย็นเป็นสุขทั้งในระดับบุคคลและสังคม นักศึกษามีศักยภาพและสามารถค้นคว้า คิด วิเคราะห์ และประยุกต์ความรู้ในศาสตร์ที่ได้เรียนมาใช้ในการแก้ปัญหาจากการทำงานจริงได้ ตลอดจนทำให้นักศึกษามีความรักและภาคภูมิใจในบ้านเกิดของตนเอง
            นำเข้าสู่ระบบโดย warayut warayut เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 15:41 น.