การพัฒนาศักยภาพกลุ่มทำขนมกล้วยฉาบบ้านโนนรัง ตำบลเจ้าท่า อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
การพัฒนาศักยภาพกลุ่มทำขนมกล้วยฉาบบ้านโนนรัง ตำบลเจ้าท่า อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

การพัฒนาศักยภาพกลุ่มทำขนมกล้วยฉาบบ้านโนนรัง ตำบลเจ้าท่า อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่นมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ ส่งบุคลากรร่วมปฏิบัติงานโครงการ และอำนวยความสะดวกในพิ้นที่ชุมชนบ้านโนนรัง ตำบลเจ้าท่า อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ผู้ช่วยศาสตราจารย์เอกสิทธิ์ เซ็นหอม150 หมู่ 6 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น ถ.ศรีจันทร์ อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40000062-19588623400800348410 ผศ. เอกสิทธิ์ เซ็นหอม สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหการ มทร.อีสาน วิทยาเขตขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม (อาจารย์)
3409900333439 ดร.ฉัตรแก้ว สุริยะภา โปรแกรมวิชาช่างเครื่องมือกลอัตโนมัติ มทร.อีสาน วิทยาเขตขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม (อาจารย์)
3309900954027 ผศ.ดร.ทายวุฒิ โพธิ์ทองแสงอรุณ สาขาวิชาการตลาด มทร.อีสาน วิทยาเขตขอนแก่น คณะบริหารธุรกิจ (อาจารย์)
3469900235101 นายอุทัย ธารพรศรี สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ (อาจารย์)
3960300228348 นางจิราพร เซ็นหอม สำนักงานคณบดีคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มทร.อีสาน วิทยาเขตขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม (เจ้าหน้าที่)
1420900304817 นายยศวิชัย พลชา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหการ ชั้นปีที่ 3 มทร.อีสาน วิทยาเขตขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม (นักศึกษา)
1420900310001 นายจิตติยศ อาจปาสา สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหการ ชั้นปีที่ 3 มทร.อีสาน วิทยาเขตขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม (นักศึกษา)
1429900324336 นายกิตติพงศ์ ศรีบุรินทร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหการ ชั้นปีที่ 3 มทร.อีสาน วิทยาเขตขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม (นักศึกษา)
1420900299961 นายกฤตพจน์ กองสิงห์ สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหการ ชั้นปีที่ 3 มทร.อีสาน วิทยาเขตขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม (นักศึกษา)
1119600029889 นางสาว จิราพร คำแดงไสย์ สาขาวิชาการตลาด ชั้นปีที่ 2 มทร.อีสาน วิทยาเขตขอนแก่น คณะบริหารธุรกิจ (นักศึกษา)
1409901759191 นางสาว ธัญญรักษ์ เนื่องไชยศ สาขาวิชาการตลาด ชั้นปีที่ 2 มทร.อีสาน วิทยาเขตขอนแก่น คณะบริหารธุรกิจ (นักศึกษา)
1401600261978 นางสาว พรพิมล ศรีแก้ว สาขาวิชาการตลาด ชั้นปีที่ 2 มทร.อีสาน วิทยาเขตขอนแก่น คณะบริหารธุรกิจ (นักศึกษา)

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ กมลาไสย เจ้าท่า

3. รายละเอียดชุมชน

ประวัติความเป็นมา
ตำบลเจ้าท่า ตั้งขึ้นเมื่อปี 2523 โดยแยกหมู่บ้านออกมาจากตำบลธัญญาและตำบลดงลิง มาตั้งเป็นตำบลเจ้าท่า ปัจจุบันตำบลเจ้าท่า มีหมู่บ้านในการปกครอง จำนวน 16 หมู่บ้าน
พื้นที่
ตำบลเจ้าท่าตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอำเภอกมลาไสย ห่างจากอำเภอประมาณ 15 กม. มีเนื้อที่ทั้งหมด 41 ตร.กม. หรือประมาณ 25,625 ไร่ สภาพภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม น้ำท่วมขังได้ง่าย มีคลองชลประทานไหลผ่าน เหมาะแก่การทำนา
เขตพื้นที่
ทิศเหนือ ติดกับ ตำบลธัญญา และ ตำบลดงลิง อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์
ทิศใต้ ติดกับ ตำบลลำชี กิ่ง อ.ฆ้องชัย และตำบลดินดำ อ.จังหาร จ.ร้อยเอ็ด
ทิศตะวันออก ติดกับ ตำบลดงลิง อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์
ทิศตะวันตก ติดกับ ตำบลธัญญา อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์
อาชีพ
อาชีพหลัก ทำนา
อาชีพเสริม หัตถกรรม
สาธารณูปโภค
จำนวนครัวเรือนที่มีไฟฟ้าใช้ในเขต อบต. 1,674 ครัวเรือน จำนวนบ้านที่มีโทรศัพท์ 26 หลังคาเรือน
การเดินทาง
การเดินทางเข้าสู่ตำบลเจ้าท่า มี 2 เส้นทาง คือ ถนนลาดยางจากอำเภอกมลาไสย ถึงตำบลเจ้าท่าระยะทาง 15 กม. และสายลาดยางจากจังหวัดร้อยเอ็ด ถึงตำบลเจ่าท่า ระยะทาง 33 กม. มีถนนคอนกรีตภายในหมู่บ้าน จำนวน 26 สาย ถนนลูกรัง 36 สาย
ผลิตภัณฑ์
ผ้ามัดหมี่โทเร , กล้วยฉาบ
ข้อมูลศักยภาพทรัพยากร ของบ้านโนนรัง ตำบลเจ้าท่า เป็นชุมชนเกษตรกรรรม และมีการรวมตัวเพื่อทำผลิตภัณฑ์ OTOP เป็นจำนวนมาก หนึ่งในนั้นคือการทำขนมกล้วยฉาบ ซึ่งใช้ผลผลิตกล้วยภายในชุมชน นำมาแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า โดยจัดจำหน่ายภายในชุมชน และเขตภาคอีสาน
ผลิตภัณฑ์ที่โดดเด่นได้แก่ การปลูกเห็ดขนมทองม้วนและผลิตภัณฑ์กล้วยฉาบ
ประเด็นปัญหาของกลุ่มทำขนมกล้วยฉาบบ้านโนนรัง ตำบลเจ้าท่า อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ์ มีดังนี้
1. ปัญหาการหั่นกล้วยที่เตรียมทอด ให้มีขนาดความหนาที่เท่ากันทุกแผ่นจะทำได้ยาก และอันตราย ซึ่งจะหั่นทั้งแนวตั้งและแนวขนาน ปัจจุบันใช้การหั่นด้วยมีดสไลด์ ทำให้เวลาการหั้นมาก และสามารถหั่นได้ทีละผล
2. ปัญหาเกี่ยวการทอดไม่ให้อมน้ำมัน น้ำมันที่ใช้ทอดดำเร็วจากการไหม้ของกล้วย ความร้อนของน้ำมันไม่สม่ำเสมอ ทำให้บางชิ้นไหม้ บางชิ้นไม่สุก ไม่กรอบ มีกลิ่นหืน และเปลืองแก๊สอย่างมาก
3. ปัญหาเรื่องของการตลาด จากการขายกล้วยฉาบ และปัญหาการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อให้โดดเด่นเป็นที่สะดุดตาของผู้บริโภค
จากการเก็บข้อมูลจากผู้นำชุมชนพบว่า ชุมชนมีความต้องการที่จะประกอบอาชีพในชุมชนให้มีความยั่งยืน เพื่อให้ชุมชนได้ดำรงชีวิต สามารถพึงพาตนเองได้ โดยการสร้างงานสร้างอาชีพให้ชุมชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ชาวบ้านบ้านโนนรัง ตำบลเจ้าท่า อ.กมลาไสย ได้รวมกลุ่มกันทำกล้วยฉาบเพื่อจำหน่ายเพื่อเสริมรายได้ และสร้างความมั่นคงในการประกอบอาชีพ การทำกล้วยฉาบเป็นสินค้าหนึ่งที่ทางชุมชนได้มีการดำเนินการ แต่ยังมีปัญหาในกระบวนการผลิตและการตลาด เช่น การวางแผนการผลิต กระบวนการผลิต การออกแบบผลิตภัณฑ์ชุมชนจึงมีความต้องการที่ใช้เครื่องมือ เครื่องจักรและเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการผลิต การออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่สวยงาม การจำหน่ายและการจัดส่งสินค้า การช่องทางการขายสินค้า เป็นต้น

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1. องค์ความรู้ที่ใช้ในการดำเนินโครงการคือความรู้ด้านวิศวกรรมอุตสาหการด้านเครื่องจักรกลอัตโนมัติ
2. นวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงการคือ เครื่องหั่นกล้วยฉาบ เครื่องทอดกล้วยฉาบ และการออกแบบบรรจุภัณฑ์

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้มีทักษะในการผลิตกล้วยฉาบ

ร้อยละ 20

20.00 20.00
2 เพื่อสร้างนวัตกรรมในการทำกล้วยฉาบ

สร้างนวัตกรรมดังนี้ 1. เครื่องหั่นกล้วยฉาบ 2. เครื่องทอด

2.00 2.00
3 เพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านการตลาด การบริหารจัดการให้กับกลุ่มเกษตรกร

ถ่ายทอดเทคโนโลยีและความพึงพอใจของเกษตรกรไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

20.00 1.00
4 เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีนวัตกรรมในการผลิตกล้วยฉาบ

ถ่ายทอดเทคโนโลยีและความพึงพอใจของเกษตรกรไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

20.00 1.00
5 เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการปฏิบัติงาน

นักศึกษา อาจารย์ ผู้เข้าร่วมอบรมมีความพร้อมก่อนการปฏิบัติงาน

20.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มทำขนมกล้วยฉาบบ้านโนนรัง ตำบลเจ้าท่า อำเภอกมลา 20

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 อบรมการเตรียมความพร้อมและชี้แจงก่อนการปฏิบัติงาน

ชื่อกิจกรรม
อบรมการเตรียมความพร้อมและชี้แจงก่อนการปฏิบัติงาน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการปฏิบัติงาน
รายละเอียดกิจกรรม
อาจารย์และวิทยากรร่วมการอบรมเพื่อเตรียมความพร้อมและชี้แจงก่อนการปฏิบัติงาน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 15 มกราคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Output)
1. เพิ่มจำนวนบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถด้านการบริหารจัดการองค์กร
ผลลัพธ์ (Outcome)
1. เพิ่มองค์ความรู้และยกระดับชุมชน
เพื่อยกระดับชีวิต ความเป็นอยู่ ให้กับชุมชน และสังคม
ต่อนักศึกษา
1. ได้นักศึกษาที่มีความรู้ ความสามารถด้านการบริหารจัดการองค์กร 9 คน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (20 คน * 25 บาท * 4 มื้อ)

12 คน 25 2 600
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน (20 คน * 150 บาท * 2 มื้อ)

12 คน 150 1 1,800
อื่น ๆ

ค่าจ้างเหมาทำคู่มือปฏิบัติงาน (12 เล่ม * 100 บาท)

12 คน 100 1 1,200
รวมค่าใช้จ่าย 3,600

กิจกรรมที่ 2 การอบรม ให้ความรู้ กับกลุ่มเป้าหมาย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ชื่อกิจกรรม
การอบรม ให้ความรู้ กับกลุ่มเป้าหมาย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการปฏิบัติงาน
รายละเอียดกิจกรรม
อาจารย์และวิทยากรร่วมการอบรม ให้ความรู้ กับกลุ่มเป้าหมาย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ระยะเวลาดำเนินงาน
16 มกราคม 2563 ถึง 31 มกราคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Output)
1. เพิ่มจำนวนผู้ประกอบการ วิสาหกิจชุมชน และนักศึกษา
2. เพิ่มจำนวนบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถด้านการบริหารจัดการองค์กร
ต่อชุมชน
1. ได้กลุ่มผู้ประกอบการ และวิสาหกิจชุมชนเพิ่มมากขึ้น1 ชุมชน
2. ได้บุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถด้านการบริหารจัดการองค์กร 20 คน
ต่อนักศึกษา
1. ได้จำนวนนักศึกษาที่มีความรู้เพิ่มมากขึ้น9 คน
2. ได้นักศึกษาที่มีความรู้ ความสามารถด้านการบริหารจัดการองค์กร 9 คน
ผลลัพธ์ (Outcome)
1. เพิ่มองค์ความรู้และยกระดับชุมชน
เพื่อยกระดับชีวิต ความเป็นอยู่ ให้กับชุมชน และสังคม
ต่อชุมชน
1. ชุมชนสามารถพัฒนาองค์ความรู้และยกระดับชุมชนเพื่อยกระดับชีวิต ความเป็นอยู่ ให้กับชุมชน และสังคมจำนวน 1 กลุ่ม
ต่อนักศึกษา
1. นักศึกษาสามารถเทียบโอนรายวิชาได้ 3 หน่วยกิต
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

ค่าจ้างเหมารถตู้ (1 คัน × 2 วัน × 1,800 บาท)

1 เที่ยว 1,800 2 3,600
อื่น ๆ

ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง

1 คน 1,500 1 1,500
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าวิทยากร (5 คน * 600 บาท * 8 ชั่วโมง * 2 วัน)

5 คน 600 16 48,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (20 คน * 25 บาท * 4 มื้อ)

20 คน 25 4 2,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน (20 คน * 150 บาท * 2 มื้อ)

20 คน 150 2 6,000
อื่น ๆ

ค่าจ้างเหมาทำคู่มือปฏิบัติงาน (20 เล่ม * 100 บาท)

20 ชุด 100 1 2,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา (7 คน × 2 วัน × 180 บาท)

7 คน 180 2 2,520
รวมค่าใช้จ่าย 65,620

กิจกรรมที่ 3 การสำรวจสภาพปัจจุบันและความต้องการของกลุ่มทำขนมกล้วยฉาบ

ชื่อกิจกรรม
การสำรวจสภาพปัจจุบันและความต้องการของกลุ่มทำขนมกล้วยฉาบ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการปฏิบัติงาน
รายละเอียดกิจกรรม
อาจารย์ นักศึกษา และเกษตรกรของกลุ่มขนมกล้วยฉาบร่วมกันสำรวจสภาพปัจจุบันและความต้องการของกลุ่มทำขนมกล้วยฉาบ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 15 กุมภาพันธ์ 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Output)
1. เพิ่มจำนวนผู้ประกอบการ วิสาหกิจชุมชน และนักศึกษา
2. เพิ่มจำนวนบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถด้านการบริหารจัดการองค์กร
ต่อชุมชน
1. ได้กลุ่มผู้ประกอบการ และวิสาหกิจชุมชนเพิ่มมากขึ้น1 ชุมชน
2. ได้บุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถด้านการบริหารจัดการองค์กร 20 คน
ต่อนักศึกษา
1. ได้จำนวนนักศึกษาที่มีความรู้เพิ่มมากขึ้น9 คน
2. ได้นักศึกษาที่มีความรู้ ความสามารถด้านการบริหารจัดการองค์กร 9 คน
ผลลัพธ์ (Outcome)
1. เพิ่มองค์ความรู้และยกระดับชุมชน
เพื่อยกระดับชีวิต ความเป็นอยู่ ให้กับชุมชน และสังคม
ต่อชุมชน
1. ชุมชนสามารถพัฒนาองค์ความรู้และยกระดับชุมชนเพื่อยกระดับชีวิต ความเป็นอยู่ ให้กับชุมชน และสังคมจำนวน 1 กลุ่ม
ต่อนักศึกษา
1. นักศึกษาสามารถเทียบโอนรายวิชาได้ 3 หน่วยกิต
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ร่วมสำรวจข้อมูลกลุ่มผู้ผลิตขนมกล้วยฉาบ
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

ค่าจ้างเหมารถตู้ (1 คัน × 2 วัน × 1,800 บาท × 2 ครั้ง)

1 เที่ยว 1,800 4 7,200
อื่น ๆ

ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง

1 เที่ยว 1,500 1 1,500
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์และเจ้าหน้าที่ (5 คน × 2 วัน × 240 บาท × 2 ครั้ง)

5 คน 240 4 4,800
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา (7 คน × 2 วัน × 180 บาท × 2 ครั้ง)

7 คน 180 4 5,040
ค่าที่พักตามจริง

ค่าที่พัก (จำนวน 12 คน × 1 คืน × 400 บาท × 2 ครั้ง)

12 คน 400 2 9,600
รวมค่าใช้จ่าย 28,140

กิจกรรมที่ 4 การออกแบบ สร้างเครื่องมือ และติดตั้งอุปกรณ์ช่วยในการผลิตขนมกล้วยฉาบ

ชื่อกิจกรรม
การออกแบบ สร้างเครื่องมือ และติดตั้งอุปกรณ์ช่วยในการผลิตขนมกล้วยฉาบ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อสร้างนวัตกรรมในการทำกล้วยฉาบ
รายละเอียดกิจกรรม
อาจารย์ นักศึกษา และเกษตรกรของกลุ่มขนมกล้วยฉาบร่วมออกแบบ สร้างเครื่องมือ และเครื่องจักรเข้ามาช่วยในการทำกล้วยฉาบ
ระยะเวลาดำเนินงาน
15 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 15 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Output)
1. เพิ่มจำนวนผู้ประกอบการ วิสาหกิจชุมชน และนักศึกษา
2. เพิ่มจำนวนบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถด้านการบริหารจัดการองค์กร
ต่อชุมชน
1. ได้กลุ่มผู้ประกอบการ และวิสาหกิจชุมชนเพิ่มมากขึ้น1 ชุมชน
2. ได้บุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถด้านการบริหารจัดการองค์กร 20 คน
ต่อนักศึกษา
1. ได้จำนวนนักศึกษาที่มีความรู้เพิ่มมากขึ้น9 คน
2. ได้นักศึกษาที่มีความรู้ ความสามารถด้านการบริหารจัดการองค์กร 9 คน
ผลลัพธ์ (Outcome)
1. เพิ่มองค์ความรู้และยกระดับชุมชน
เพื่อยกระดับชีวิต ความเป็นอยู่ ให้กับชุมชน และสังคม
ต่อชุมชน
1. ชุมชนสามารถพัฒนาองค์ความรู้และยกระดับชุมชนเพื่อยกระดับชีวิต ความเป็นอยู่ ให้กับชุมชน และสังคมจำนวน 1 กลุ่ม
ต่อนักศึกษา
1. นักศึกษาสามารถเทียบโอนรายวิชาได้ 3 หน่วยกิต
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ร่วมออกแบบเครื่องสำหรับผลิตขนมกล้วยฉาบ
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

ค่าจ้างเหมารถตู้ (1 คัน × 2 วัน × 1,800 บาท × 3 ครั้ง)

1 เที่ยว 1,800 6 10,800
อื่น ๆ

ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง

1 คน 1,500 3 4,500
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์และเจ้าหน้าที่ (5 คน × 2 วัน × 240 บาท × 3 ครั้ง)

5 คน 240 6 7,200
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา (7 คน × 2 วัน × 180 บาท × 3 ครั้ง)

7 คน 180 6 7,560
ค่าที่พักตามจริง

ค่าที่พัก (จำนวน 12 คน × 1 คืน × 400 บาท × 3 ครั้ง)

12 คน 400 3 14,400
อื่น ๆ

ค่าจ้างเหมาผลิตระบบควบคุมเครื่องฝานกล้วยฉาบ

1 ชุด 47,870 1 47,870
อื่น ๆ

ค่าจ้างเหมาผลิตชุดหั่นฝานกล้วยฉาบ

1 ชุด 47,500 1 47,500
อื่น ๆ

ค่าจ้างเหมาประกอบเครื่องฝานกล้วยฉาบ

1 ชุด 47,000 1 47,000
อื่น ๆ

ค่าจ้างเหมาผลิตชุดความร้อนเครื่องทอด

1 ชุด 45,000 1 45,000
อื่น ๆ

ค่าจ้างเหมาผลิตอ่างความร้อน

1 ชิ้น 47,000 1 47,000
อื่น ๆ

ค่าจ้างเหมาประกอบเครื่องทอด

1 ชุด 44,360 1 44,360
รวมค่าใช้จ่าย 323,190

กิจกรรมที่ 5 การถ่ายทอดความรู้ด้านการบริหารจัดการองค์กร และนวัตกรรมการใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์ช่วยในการผลิตขนมกล้วยฉาบ

ชื่อกิจกรรม
การถ่ายทอดความรู้ด้านการบริหารจัดการองค์กร และนวัตกรรมการใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์ช่วยในการผลิตขนมกล้วยฉาบ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านการตลาด การบริหารจัดการให้กับกลุ่มเกษตรกร
  2. เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีนวัตกรรมในการผลิตกล้วยฉาบ
รายละเอียดกิจกรรม
อาจารย์และวิทยากรร่วมถ่ายทอดความรู้ด้านการบริหารจัดการองค์กร และ ถ่ายทอดนวัตกรรมการใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์ช่วยในการผลิตกล้วยฉาบ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Output)
1. เพิ่มจำนวนผู้ประกอบการ วิสาหกิจชุมชน และนักศึกษา
2. เพิ่มจำนวนบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถด้านการบริหารจัดการองค์กร
ต่อชุมชน
1. ได้กลุ่มผู้ประกอบการ และวิสาหกิจชุมชนเพิ่มมากขึ้น1 ชุมชน
2. ได้บุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถด้านการบริหารจัดการองค์กร 20 คน
ต่อนักศึกษา
1. ได้จำนวนนักศึกษาที่มีความรู้เพิ่มมากขึ้น9 คน
2. ได้นักศึกษาที่มีความรู้ ความสามารถด้านการบริหารจัดการองค์กร 9 คน
ผลลัพธ์ (Outcome)
1. เพิ่มองค์ความรู้และยกระดับชุมชน
เพื่อยกระดับชีวิต ความเป็นอยู่ ให้กับชุมชน และสังคม
ต่อชุมชน
1. ชุมชนสามารถพัฒนาองค์ความรู้และยกระดับชุมชนเพื่อยกระดับชีวิต ความเป็นอยู่ ให้กับชุมชน และสังคมจำนวน 1 กลุ่ม
ต่อนักศึกษา
1. นักศึกษาสามารถเทียบโอนรายวิชาได้ 3 หน่วยกิต
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ร่วมถ่ายทอดเทคโนโลยี
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า

ค่าจ้างเหมารถตู้ (1 คัน × 2 วัน × 1,800 บาท)

2 เที่ยว 1,800 1 3,600
อื่น ๆ

ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง

1 ครั้ง 1,500 1 1,500
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าวิทยากร (5 คน * 600 บาท * 8 ชั่วโมง * 2 วัน)

5 คน 600 16 48,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (25 คน * 25 บาท * 4 มื้อ)

25 คน 25 4 2,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน (25 คน * 150 บาท * 2 มื้อ)

25 คน 150 2 7,500
อื่น ๆ

ค่าจ้างเหมาทำคู่มือปฏิบัติงาน (25 เล่ม * 100 บาท

25 ชุด 100 1 2,500
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา (7 คน × 2 วัน × 180 บาท)

7 คน 180 2 2,520
ค่าที่พักตามจริง

ค่าที่พัก (จำนวน 12 คน × 1 คืน × 400 บาท)

12 คน 400 1 4,800
ค่าวัสดุสำนักงาน

กระดาษ A4 80 แกรม (10 รีม * 103 บาท)

10 ชิ้น 103 1 1,030
ค่าวัสดุสำนักงาน

หมึกพิมพ์ HP LaserJet 6P (1 กล่อง * 4,500 บาท)

1 ชิ้น 4,500 1 4,500
อื่น ๆ

ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิล

1 ชิ้น 1,000 1 1,000
รวมค่าใช้จ่าย 79,450

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 96,000.00 74,400.00 5,530.00 324,070.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 19.20% 14.88% 1.11% 64.81% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) 1. ได้กลุ่มผู้ประกอบการ และวิสาหกิจชุมชนเพิ่มมากขึ้น1 ชุมชน
2. ได้บุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถด้านการจัดการการตลาด ออกแบบบรรจุภัณฑ์ 20 คน
1. ได้จำนวนนักศึกษาที่มีความรู้เพิ่มมากขึ้น 9 คน
2. ได้นักศึกษาที่มีความรู้ ความสามารถด้านการจัดการการตลาด ออกแบบบรรจุภัณฑ์ 9 คน
ผลลัพธ์ (Outcome) 1. ชุมชนสามารถพัฒนาองค์ความรู้และยกระดับชุมชนเพื่อยกระดับชีวิต ความเป็นอยู่ ให้กับชุมชน และสังคมจำนวน 1 ชุมชน 1. นักศึกษาสามารถเทียบโอนรายวิชาได้ 3 หน่วยกิต
วิชา 50-407-242-401 โครงงานเทคโนโลยีอุตสาหการจำนวน 3 หน่วยกิต
หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ
วิชา 05-031-403 การศึกษาความเป็นไปได้เพื่อโครงการการตลาดจำนวน 3 หน่วยกิต
ผลกระทบ (Impact) 1. ลดปัญหา ความยากจนของชุมชน และลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม และ เศรษฐกิจ 1. นักศึกษานำความรู้ไปสู่ชุมชนของตนเอง และจะลดปัญหา ความยากจนของชุมชน และลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม และ เศรษฐกิจได้
นำเข้าสู่ระบบโดย akkasit akkasit เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 15:34 น.