การพัฒนาระบบการให้น้ำและปุ๋ยอัจริยะสำหรับปลูกเมล่อนในโรงเรือนกรณีศึกษา ตำบลหนองตอกแป้น อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
การพัฒนาระบบการให้น้ำและปุ๋ยอัจริยะสำหรับปลูกเมล่อนในโรงเรือนกรณีศึกษา ตำบลหนองตอกแป้น อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

การพัฒนาระบบการให้น้ำและปุ๋ยอัจริยะสำหรับปลูกเมล่อนในโรงเรือนกรณีศึกษา ตำบลหนองตอกแป้น อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมคณะเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามคณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ตำบลหนองตอกแป้น อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์อาจารย์ดร.ชนะชัย อวนวัง80 ตำบลตลาด อ.เมืองมหาสารคาม จ.มหาสารคาม 440000885615780ดร.ธวัชชัย สหพงษ์ อาจารย์รังสรรค์ พงษ์พัฒนอำไพ และนางสาวละอองดาว ภูสำรอง

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ ยางตลาด

3. รายละเอียดชุมชน

หมู่บ้านในตำบล หนองตอกแป้น ประกอบด้วย ๑๐ หมู่บ้าน คือ ๑) บ้านคำไฮ หมู่ที่ ๑ ๒)บ้านคำไฮ หมู่ที่๒ ๓)บ้านหนองบัวน้อย ๔)บ้านโนนตูม ๕) บ้านหนองตอกแป้น หมู่ที่๕ ๖)บ้านโคกสาย ๗)บ้านหนองบัวนาดี๘)บ้านหนองตอกแป้น หมู่ที่๘ ๙)บ้านหนองหมากฟัดและ๑๐) บ้านคำไฮ หมู่ที่๑๐ ประชากรมีจำนวนครัวเรือน ๙๗๓ ครัวเรือน มีประชากรทั้งสิ้น ๓,๗๓๘ คน เป็นชาย ๑,๘๘๓ คน หญิง ๑,๘๕๕ คน อาชีพ หลักทำนา อาชีพรอง การเลี้ยงสัตว์ การเย็บที่นอนหมอนขิดปัญหายังขาดแคลนน้ำในฤดูร้อนทำนาเป็นหลักปัญหายังขาดแคลนน้ำในฤดูร้อน ไม่มีทรัพยากรธรรมชาติที่เพียงพอในการพัฒนา กำลังแรงงานภาคเกษตร มีแนวโน้ม ลดลงผลผลิตทางการเกษตร มีคุณภาพค่อนข้างต่ำ ไม่ได้มาตรฐาน เกษตรกรขาดทักษะเทคโนโลยีทางการผลิต ปัญหาหนี้สิน รายได้ต่ำกว่ารายจ่ายส่งผลต่อปัญหาครอบครัวและสังคมความต้องการเพิ่มขีดความสามารถในการผลิตและแข่งขันสินค้าเกษตรและอาหารปลอดภัย สร้างอาชีพใหม่และรายได้เพิ่มในชุมชน การใช้เทคโนโลยี

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

ระบบการให้น้ำและปุ๋ยอัจริยะสำหรับปลูกเมล่อนในโรงเรือน

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาและทดลองระบบการให้น้ำและปุ๋ยอัจริยะสำหรับปลูกเมล่อนในระบบโรงเรือน

1

0.00 1.00
2 เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีอัจริยะการปลูก เมล่อนในระบบโรงเรือน

ระดับมาก

0.00 4.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 พัฒนาและทดลองระบบการให้น้ำและปุ๋ยอัจริยะสำหรับปลูกเมล่อนในระบบโรงเรือน

ชื่อกิจกรรม
พัฒนาและทดลองระบบการให้น้ำและปุ๋ยอัจริยะสำหรับปลูกเมล่อนในระบบโรงเรือน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาและทดลองระบบการให้น้ำและปุ๋ยอัจริยะสำหรับปลูกเมล่อนในระบบโรงเรือน
รายละเอียดกิจกรรม
สำรวจปัญหาและเลือกพื้นที่ จัดทำโครงการและติดตั้งระบบในพื้นที่วิจัย
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 31 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
นวัตกรรมการปลูกเมล่อนในระบบโรงเรือนอัจฉริยะ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าตอบแทนนักวิจัย ๔ คน คน ละ ๑๕,๐๐๐ บาท (๔ X๑๕,๐๐๐)

4 คน 15,000 1 60,000
ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ

ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิในการตรวจสอบเครื่องมือวิจัย จำนวน ๕ คน คนละ ๒,๕๐๐ บาท

5 คน 2,500 1 12,500
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าเบี้ยเลี้ยง (๓๔ คน X ๒๔๐ บาท X ๕ ครั้ง )

34 คน 240 1 8,160
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าใช้สอย ค่าพาหนะ (๒ คัน X ๑,๐๐๐ บาท ๕ ครั้ง )

2 ครั้ง 1,000 5 10,000
อื่น ๆ

ค่าวัสดุ โรงเรือน ขนาด ๔ X ๑๑ เมตร ๒ โรง (๒ X๗๐,๐๐๐ บาท)

2 ชุด 70,000 1 140,000
อื่น ๆ

ชุดระบบการให้น้ำและปุ๋ยอัจริยะ จำนวน ๒ ชุด (๒ X ๔๐,๐๐๐ บาท)

2 ชุด 40,000 1 80,000
อื่น ๆ

ปุ๋ยและวัสดุปลูก (๒ X ๑๐,๐๐๐ บาท)

2 ชุด 10,000 1 20,000
ค่าอาหาร 30 คน 90 50 135,000
รวมค่าใช้จ่าย 465,660

กิจกรรมที่ 2 การถ่ายทอดเทคโนโลยีอัจริยะการปลูก เมล่อนในระบบโรงเรือน

ชื่อกิจกรรม
การถ่ายทอดเทคโนโลยีอัจริยะการปลูก เมล่อนในระบบโรงเรือน
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนและเรียนรู้พื้นที่โครงการวิจัย
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 มิถุนายน 2563 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    รายได้ของผู้เข้าร่วมโครงการปลูกเมล่อนในระบบโรงเรือน/ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการและกิจกรรม
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าตอบแทน ค่าตอบวิทยากร ๒ คน คนละ ๘๐๐ บาท (๒ คนX๘๐๐ บาท)

    2 คน 800 1 1,600
    ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ

    ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิจัดกิจกรรม ๕ คน คนละ ๑,๐๐๐ บาท (๕ คนX๑,๐๐๐ บาท)

    5 คน 1,000 1 5,000
    อื่น ๆ

    ค่าเบี้ยเลี้ยง ๑๐๐ คน ๒๔๐ บาท (๑๐๐ คนX๒๔๐ บาท)

    100 คน 240 1 24,000
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

    ค่าใช้สอย ค่าพาหนะ (๒ คัน X๑,๐๐๐ บาท ๑ ครั้ง )

    2 เที่ยว 1,000 1 2,000
    อื่น ๆ

    ค่าวัสดุ กระดาษ ปริ้นงาน และการเขียนรายงาน โครงการวิจัย

    1 ชุด 5,000 1 5,000
    รวมค่าใช้จ่าย 37,600

    รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 503,260.00 บาท

    ค่าตอบแทนค่าใช้สอยอื่น ๆรวมเงิน
    ค่าใช้จ่าย (บาท) 27,260.00 147,000.00 329,000.00 503,260.00
    เปอร์เซ็นต์ (%) 5.42% 29.21% 65.37% 100.00%

    11. งบประมาณ

    503,260.00บาท

    12. การติดตามประเมินผล

    ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
    ผลผลิต (Output) นวัตกรรมการปลูกเมล่อนในระบบโรงเรือนอัจฉริยะ 30
    ผลลัพธ์ (Outcome) กลุ่มเกษตรกร SME OTOPผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้วิจัยและนักศึกษา 30 คน
    ผลกระทบ (Impact) กลุ่มเกษตรกร SME, OTOP, และผู้ประกอบการไม่น้อยกว่า ๑๐๐ คน สร้างมูลค่าเพิ่มและโอกาสทางการตลาดให้กับชุมชนท้องถิ่น /ผู้วิจัย นักศึกษาได้ผลงานวิจัย และนำนวัตกรรมการปลูกเมล่อนในระบบโรงเรือนอัจฉริยะสู่ชุมชนท้องถิ่น/ลดความเลื่อมล้ำและโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากรและมีอาชีพเสริมและรายได้เพิ่มขึ้น 30 คน
    นำเข้าสู่ระบบโดย chanachai chanachai เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 15:21 น.