โครงการอาสาประชารัฐ เพื่อพัฒนาศักยภาพในการบริหารจัดการเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันอย่างยั่งยืน ของผู้ประกอบการปลากัดไทยในเขตภาคเหนือ

แบบเสนอโครงการ
โครงการอาสาประชารัฐ เพื่อพัฒนาศักยภาพในการบริหารจัดการเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันอย่างยั่งยืน ของผู้ประกอบการปลากัดไทยในเขตภาคเหนือ

1. ชื่อโครงการ

โครงการอาสาประชารัฐ เพื่อพัฒนาศักยภาพในการบริหารจัดการเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันอย่างยั่งยืน ของผู้ประกอบการปลากัดไทยในเขตภาคเหนือมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปางสาขาการบัญชีสาขาประมงมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาลำปางกรมประมง, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, เครือข่ายปลากัดไทยภาคเหนือตอนบน, เครือข่ายปลากัดไทยภาคเหนือตอนล่างเครือข่ายปลากัดไทยภาคเหนือนางสายนทีทรัพย์มี200หมู่ 17ต.พิชัยอ.เมืองจ.ลำปาง082-033-4693, 085-863-2255,นายสรวิทย์ ปานพินิจ การตลาด/คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์
นายวชิระ หล่อประดิษฐ์เทคโนโลยีสารสนเทศ/คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์
นายศราวุธ เอกบางวิศวกรรมอุตสาหการ/คณะวิศวกรรมศาสตร์
นายเรืองพันธุ์ ทรัพย์มีประมง/คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
นางพรพิมล จุลพันธ์ประมง/คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
นางสาวสุภัทรชาธุระกิจ ประมง/คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
นายสมเกียรติ ตันตาประมง/คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
นายจตุพร โปธาคำฝ่ายประชาสัมพันธ์ มทร. ล้านนา ลำปาง
นางสาวจารุวรรณ สุยะฝ่ายประชาสัมพันธ์ มทร. ล้านนา ลำปาง
ดร. อมรรัตน์ เสริมวัฒนากุล ที่ปรึกษาโครงการ ผู้เชี่ยวชาญ กรมประมง
ดร. สุกัญญา เชิดชูงามที่ปรึกษาโครงการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
นายศราวุธสมสุข ที่ปรึกษาโครงการ ประธานเครือข่ายปลากัดไทยภาคเหนือตอนบน
ดร. สนามเอกวิลัยที่ปรึกษาโครงการ ประธานเครือข่ายปลากัดไทยภาคเหนือตอนล่าง

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
ภาคเหนือ

3. รายละเอียดชุมชน

ผู้ประกอบธุรกิจการเลี้ยงปลากัด กลุ่ม Cluster Plakad ในเขตภาคเหนือ ส่วนใหญ่เป็นผู้ประกอบการรายย่อยระดับครัวเรือน ศักยภาพในการเพาะเลี้ยง การสร้างอาหารให้กับปลากัดยังมีปริมาณไม่เพียงพอต่อความต้องการในการสร้างคุณภาพในการเพาะเลี้ยงในแต่ละช่วงวัยของปลากัด รวมถึงยังไม่มีการพัฒนานวัตกรรมในการเพาะเลี้ยงผู้ประกอบการธุรกิจเพาะเลี้ยงปลากัดในเขตภาคเหนือ มีผู้ที่สนใจในการเพาะเลี้ยงเป็นจำนวนมากมีศักยภาพในการเพาะเลี้ยง แต่ทรัพยากรในการเพาะเลี้ยงไม่เพียงพอ ได้แก่อาหารธรรมชาติที่จำเป็นได้แก่ ไรแดง หนอนแดง ไส้เดือนดิน ทำให้ต้นทุนในการเพาะเลี้ยงสูงกว่าผู้ประกอบการในภาคกลางที่มีปริมาณอาหารธรรมชาติที่เพียงพอต่อความต้องการในการเพาะเลี้ยงการขาดความรู้พื้นฐานในการพัฒนาปลากัดสายพันธ์ใหม่ ๆ
ปัญหาในการเพาะเลี้ยงที่ขาดแหล่งอาหารที่มีชีวิต ได้แก่ ไรแดง
การดูแลปลา
การกำจัดโรคปลาที่มักระบาดในฤดูฝน
ขาดช่องทางการจัดจำหน่ายที่ยั่งยืน
พบปัญหาการตายของปลาเมื่อเข้าสู่ฤดูหนาว
การสนับสนุนทางด้านวิชาการด้านการผลิต (เพาะเลี้ยงปลากัด)
การตลาดออนไลน์

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การเพาะเลี้ยงปลากัดไทย
การผลิตอาหาร ไรแดง หนอนแดง ไส้เดือนน้ำ
การตลาดออนไลน์
สารสนเทศปลากัดไทย

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางวิชาชีพประมง ทางการบัญชีบูรณาการกับความสามารถของสถานประกอบการในการลงมือปฏิบัติทางวิชาชีพเก็บรวบรวมข้อมูลต้นทุนและผลตอบแทนรวมถึงข้อมูลที่จำเป็นทางการบัญชีอื่นกับสถานประกอบการจริง สามารถค้นคว้า รวบรวมเพื่อการคิดวิเคราะห์และประมวลผลสร้างสรรค์ผลจากความรู้ทางวิชาชีพเพื่อการปฏิบัติงาน มีความฉลาดในการปรับตัวให้เข้ากับสังคมที่หลากหลายและเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ มีสำนึกในความเป็นธรรมและมีจิตสาธารณะ รวมทั้งมีนิสัยใฝ่เรียนใฝ่รู้อันจะก่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2. เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาผู้ประกอบการเพาะเลี้ยงปลากัดไทยในเขตภาคเหนือ โดยการสร้างหรือนำองค์ความรู้ที่หลากหลายในสถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาบูรณาการในการแก้ปัญหา 3. เพื่อนำองค์ความรู้จากหลากหลายสาขาหรือนำนวัตกรรมที่มีในสถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มาใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมให้ผู้ประกอบการเพาะเลี้ยงปลากัดไทยในเขตภาคเหนือตอนบน ให้สามารถพึ่งพาตนเองและจัดการตนเองได้

ผู้ประกอบการที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 10%

80.00 0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ผู้ประกอบการเพาะเลี้ยงปลากัดไทยในเขตภาคเหนือ 30

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 0.00 บาท

รวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 0.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 100.00%

11. งบประมาณ

300.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output)
ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลกระทบ (Impact)
นำเข้าสู่ระบบโดย kriengkrai sriprasert kriengkrai sriprasert เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 15:12 น.