การพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ กฎหมายและเทคโนโลยีสารสนเทศของคนในชุมชนในการบริโภคอาหารสำเร็จรูป การใช้เครื่องสำอาง ยารักษาโรคและสารเคมีทางการเกษตร

แบบเสนอโครงการ
การพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ กฎหมายและเทคโนโลยีสารสนเทศของคนในชุมชนในการบริโภคอาหารสำเร็จรูป การใช้เครื่องสำอาง ยารักษาโรคและสารเคมีทางการเกษตร

1. ชื่อโครงการ

การพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ กฎหมายและเทคโนโลยีสารสนเทศของคนในชุมชนในการบริโภคอาหารสำเร็จรูป การใช้เครื่องสำอาง ยารักษาโรคและสารเคมีทางการเกษตรมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเทศบาลตำบลดงมูล โรงเรียนมัธยมภูฮังพัฒนวิทย์และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านภูฮังบ้านภูฮัง ต.ดงมูล อ.หนองกุงศรี จ.กาฬสินธุ์ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฌาณุกรณ์ ทับทิมใส๘๐ ถ.นครสวรรค์ ต.ตลาด อ.เมือง จ.มหาสารคาม ๔๔๐๐๐โทรศัพท์มือถือ ๐๘๖-๐๒๒๖๑๐๓ อีเมล์ tabtimsai.c@gmail.comอาจารย์ ดร.ธนวัชร์ สมตัว อาจารย์ประจำคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อาจารย์ ดร.วันดี รักไร่ อาจารย์ประจำคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อาจารย์บุษยมาส รัตนดอน อาจารย์ประจำคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นายเจษฎาพร อุดมไชย เลขบัตรประจำตัวประชาชน 1449900506043 หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาเคมี วิชาที่จะเทียบโอน โครงการวิจัยทางเคมี จำนวน 2 หน่วยกิต
นายศรายุธ คำไพ เลขบัตรประจำตัวประชาชน 1489900328234 หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาเคมี วิชาที่จะเทียบโอน โครงการวิจัยทางเคมี จำนวน 2 หน่วยกิต
นายวสันต์สานัดถ์ เลขบัตรประจำตัวประชาชน 1341400171526 หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาเคมี วิชาที่จะเทียบโอน โครงการวิจัยทางเคมี จำนวน 2 หน่วยกิต
นายภาณุวัฒน์บาระชล เลขบัตรประจำตัวประชาชน 1350100490544 หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาเคมี วิชาที่จะเทียบโอน โครงการวิจัยทางเคมี จำนวน 2 หน่วยกิต
นางสาวณิภารัตน์ ปัญญา เลขบัตรประจำตัวประชาชน 1469900424802 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน วิชาที่จะเทียบโอน การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 2 จำนวน 2 หน่วยกิต
นางสาวรุ่งอรุณ บุญใบ เลขบัตรประจำตัวประชาชน 1460300212296 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน วิชาที่จะเทียบโอน การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 2 จำนวน 2 หน่วยกิต
นาย อภิชาติ นันทะแสง เลขที่บัตรประจำตัวประชาชน 1461100096382 หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขานิติศาสตร์ วิชาที่จะเทียบโอน การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพกฏหมาย จำนวน 2 หน่วยกิต
นายวิศรุต มะลิต้น เลขที่บัตรประจำตัวประชาชน 1461400096361หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขานิติศาสตร์ วิชาที่จะเทียบโอน การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพกฏหมาย จำนวน 2 หน่วยกิต

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ หนองกุงศรี ดงมูล

3. รายละเอียดชุมชน

บ้านภูฮัง ต.ดงมูล อ. หนองกุงศรี จ. กาฬสินธุ์ ก่อตั้งขึ้นประมาณปี พ.ศ. ๒๕๑๓ ปัจจุบันแยกออกเป็น ๔ หมู่ จำนวนครัวเรือนประมาณ ๑,๒๐๐ ครัวเรือน มีจำนวนประชากรประมาณ ๖,๕๐๐ คน หมู่บ้านตั้งอยู่บนถนน ห้วยเม็ก-ท่าคันโธ เขตเทศบาลตำบลดงมูล ตั้งอยู่ที่ หมู่ ๖ บ้านโคกกลาง ต. ดงมูล อ.หนองกุงศรี จ. กาฬสินธุ์ มีพื้นที่ทางการเกษตรนับพันไร่ ประชากรส่วนใหญ่จึงประกอบอาชีพทางการเกษตร เช่น ทำนา ปลูกถั่ว ข้าวโพด แตงโม ดอกดาวเรือง เป็นต้นภายในหมู่บ้านมีร้านค้าชุมชนที่จำหน่ายผลิตภัณฑ์กลุ่มเครื่องสำอาง ยารักษาโรคและสารเคมีทางการเกษตรประมาณ ๓๐ ร้าน มีโรงเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านภูฮังช่วยดูแลเด็กก่อนเกณฑ์เข้าเรียน มีโรงเรียนภูฮังวิทยาคารมัธยม เปิดสอนในระดับอนุบาล-ประถมศึกษา โรงเรียนภูฮังพัฒนวิทย์ที่เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น-มัธยมศึกษาตอนปลาย เยาวชนในชุมชนได้รับการศึกขั้นพื้นฐานประมาณร้อยละ ๙๕ มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลภูฮังให้บริการด้านสุขภาพ มีจุดบริการอินเทอร์เน็ตฟรีจำนวนหลายจุดและมีแอดมินที่สร้างเพจและดูแลข้อมูลประจำหมู่บ้านปัจจุบันการซื้อขายสินค้าในร้านค้าชุมชนหรือการซื้อขายสินค้าออนไลน์ของประชากรในชุมชนยังขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับฉลากบนผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป เครื่องสำอางยารักษาโรคและสารเคมีทางการเกษตร เช่น ส่วนประกอบ การรับรองผลิตภัณฑ์ ขนาดและวิธีการใช้ สรรพคุณ การเก็บรักษา สัญลักษณ์บนฉลาก คำเตือน วันผลิต วันหมดอายุ ข้อควรระวัง อันตรายและการปฐมพยาบาลเบื้องต้นที่อาจจะเกิดขึ้นจากการใช้ ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค รวมถึงการไม่มีการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือด้วยสื่อสารสนเทศ ประชากรในชุมชนจึงไม่คำนึงถึงผลกระทบด้านสุขภาพหลังจากการใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีสารเคมีอันตราย คุณภาพชีวิตด้านสุขภาพที่เกิดจากการใช้ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวจึงจัดอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างต่ำและสมควรได้รับการพัฒนาจากข้อมูลประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน ดังนั้นชุมชนจึงมีความต้องการที่พัฒนาคุณภาพชีวิตด้านวิทยาศาสตร์ สุขภาพ สาธารณสุข เทคโนโลยีสารสนเทศและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคอาหารสำเร็จรูป การใช้ผลิตภัณฑ์กลุ่มเครื่องสำอาง ยารักษาโรคและสารเคมีทางการเกษตร โดยการได้รับความรู้และทำความเข้าใจจากวิทยากรที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญกับปัญหาดังกล่าวเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างจริงจังและยั่งยืน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

โครงการมีจุดมุ่งหมายที่จะถ่ายทอดความรู้พื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ สุขภาพ สาธารณสุข เทคโนโลยีสารสนเทศ นวัตกรรมและกฏหมายคุ้มครองผู้บริโภคไปถ่ายทอดสู่ชุมชนที่มีขนาดใหญ่ ที่มีร้านค้าชุมชนและการซื้อขายออนไลน์เกี่ยวกับสินค้าอุปโภค บริโภค อาหารสำเร็จรูป เครื่องสำอาง ยารักษาโรคและสารเคมีที่ใช้ทางการเกษตรจำนวนมาก โดยใช้การถ่ายทอดจากผู้เชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์ สุขภาพ สาธารณสุขในการทำความเข้าใจและการให้ความสำคัญเกี่ยวกับข้อมูลพื้นฐานที่ปรากฎบนฉลากผลิตภัณฑ์ เช่น สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบ การรับรองผลิตภัณฑ์ ขนาดและวิธีการใช้ สรรพคุณ การเก็บรักษา สัญลักษณ์บนฉลาก คำเตือน วันผลิต วันหมดอายุ ข้อควรระวัง อันตรายและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น การสร้างนวัตกรรมง่ายๆ เพื่อทดสอบสารเคมีพื้นฐานที่เป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์ การถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นหลังจากได้รับอันตรายจากการใช้สารเคมี การถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น การสืบค้นข้อมูลเกี่ยวฉลากบนผลิตภัณฑ์โดยใช้สื่อินเทอร์เน็ตจากแหล่งข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ ระบบให้คำปรึกษาผ่านทางแอพลิเคชั่นรวมถึงการถ่ายทอดความรู้ด้านกฏหมายคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้านการศึกษา ภาษา สุขภาพและการแพทย์ สร้างสังคมดิจิทัลและกลายเป็นชุมชนต้นแบบที่มีความเข้มแข็งที่ยั่งยืน

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสำรวจผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป เครื่องสำอาง ยารักษาโรคและสารเคมีทางการเกษตรที่คนในชุมชนเลือกใช้ รวมถึงสำรวจความรู้ความเข้าใจเกี่ยวการอ่านฉลากผลิตภัณฑ์ดังกล่าวของคนในชุมชน เช่น สารเคมีส่วนประกอบ การรับรองผลิตภัณฑ์ ขนาดและวิธีการใช้ สรรพคุณ การเก็บรักษา สัญลักษณ์บนฉลาก คำเตือน วันผลิต วันหมดอายุ ข้อควรระวัง อันตรายและการปฐมพยาบาลเบื้องต้นที่อาจจะเกิดขึ้นจากการอุปโภคบริโภคผลิตภัณฑ์

จำนวนสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ที่มีฉลากติด

100.00 200.00
2 เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจด้านวิทยาศาสตร์ สุขภาพและสาธารณสุขเกี่ยวข้อมูลที่ปรากฏบนฉลากผลิตภัณฑ์

จำนวนประชากรในชุมชนที่มีความรู้ความเข้าใจด้านวิทยาศาสตร์ สุขภาพและสาธารณสุขเกี่ยวข้อมูลที่ปรากฏบนฉลากผลิตภัณฑ์

100.00 200.00
3 เพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลที่ปรากฏบนฉลากผลิตภัณฑ์และจากแหล่งข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ สามารถนำเทคโนโลยีสารสนเทศนั้นเผยแพร่ความรู้ให้คนในชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืนได้และการสร้างระบบให้คำปรึกษาผ่านทางแอพลิเคชั่น

จำนวนประชากรที่มีความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลที่ปรากฏบนฉลากผลิตภัณฑ์และจากแหล่งข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ สามารถนำเทคโนโลยีสารสนเทศนั้นเผยแพร่ความรู้ให้คนในชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืนได้และการสร้างระบบให้คำปรึกษาผ่านทางแอพลิเคชั่น

100.00 200.00
4 เพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านกฎหมายที่คุ้มครองผู้บริโภคให้กับคนในชุมชน

ประชากรในชุมชนมีความรู้ด้านกฎหมายที่คุ้มครองผู้บริโภค โดยทำข้อสอบจำนวน 50 ข้อ และมีผู้ได้คะแนนเกินร้อยละ 60 เกินครึ่ง

60.00 120.00
5 เพื่อให้คนในชุมชนสามารถพิจารณา แยกแยะและทดสอบคุณภาพเบื้องต้นของผลิตภัณฑ์ต่างๆ ด้วยนวัตกรรมง่ายๆ ที่สามารถทำเองได้

จำนวนนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในโครงการ

2.00 5.00
6 เพื่อให้คนในชุมชนสามารถปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อได้รับอันตรายที่เกิดจากการใช้ผลิตภัณฑ์

จำนวนประชากรที่มีความรู้ความเข้าใจเเกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อได้รับอันตรายที่เกิดจากการใช้ผลิตภัณฑ์

20.00 50.00
7 เพื่อให้คนในชุมชนสามารถคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์และสามารถตัดสินใจเลือกบริโภคอาหารสำเร็จรูป การใช้เครื่องสำอาง ยารักษาโรคและสารเคมีทางการเกษตรได้อย่างถูกต้อง

จำนวนประชากรสามารถคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์และสามารถตัดสินใจเลือกบริโภคอาหารสำเร็จรูป การใช้เครื่องสำอาง ยารักษาโรคและสารเคมีทางการเกษตรได้อย่างถูกต้อง

50.00 100.00
8 เพื่อถอดบทเรียนที่ได้เมื่อใกล้ถึงเวลาสิ้นสุดการดำเนินโครงการ ซึ่งจะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้านการศึกษา ภาษา สุขภาพและการแพทย์ สร้างสังคมดิจิทัลและกลายเป็นชุมชนต้นแบบที่มีความเข้มแข็งที่ยั่งยืน

จำนวนตัวอย่างบทเรียนที่เกิดขึ้นโครงการ

3.00 5.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 สำรวจผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป เครื่องสำอาง ยารักษาโรคและสารเคมีทางการเกษตรภายในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
สำรวจผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป เครื่องสำอาง ยารักษาโรคและสารเคมีทางการเกษตรภายในชุมชน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อสำรวจผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป เครื่องสำอาง ยารักษาโรคและสารเคมีทางการเกษตรที่คนในชุมชนเลือกใช้ รวมถึงสำรวจความรู้ความเข้าใจเกี่ยวการอ่านฉลากผลิตภัณฑ์ดังกล่าวของคนในชุมชน เช่น สารเคมีส่วนประกอบ การรับรองผลิตภัณฑ์ ขนาดและวิธีการใช้ สรรพคุณ การเก็บรักษา สัญลักษณ์บนฉลาก คำเตือน วันผลิต วันหมดอายุ ข้อควรระวัง อันตรายและการปฐมพยาบาลเบื้องต้นที่อาจจะเกิดขึ้นจากการอุปโภคบริโภคผลิตภัณฑ์
รายละเอียดกิจกรรม
เพื่อสำรวจผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป เครื่องสำอาง ยารักษาโรคและสารเคมีทางการเกษตรที่คนในชุมชนเลือกใช้ รวมถึงสำรวจความรู้ความเข้าใจเกี่ยวการอ่านฉลากผลิตภัณฑ์ดังกล่าวของคนในชุมชน เช่น สารเคมีส่วนประกอบ การรับรองผลิตภัณฑ์ ขนาดและวิธีการใช้ สรรพคุณ การเก็บรักษา สัญลักษณ์บนฉลาก คำเตือน วันผลิต วันหมดอายุ ข้อควรระวัง อันตรายและการปฐมพยาบาลเบื้องต้นที่อาจจะเกิดขึ้นจากการอุปโภคบริโภคผลิตภัณฑ์
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง 8 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ชุมชนและนักศึกษาได้ทำกิจกรรมร่วมกัน/คนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจ นักศึกษามีประสบการณ์ในการถ่ายทอดความรู้
ทรัพยากรอื่น ๆ
แบบสำรวจและแบบสอบถาม
ภาคีร่วมสนับสนุน
-
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

- ค่าตอบแทนวิทยากรและวิทยากรร่วม (4 คน x 600 บาท x 8 ชม. x 2 วัน) จำนวนเงิน 38,400 บาท

4 คน 4,800 2 38,400
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนผู้นำชุมชน จำนวน 4 หมู่ คนละ 1000 บาท

4 คน 1,000 1 4,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ค่าจ้างทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธืโครงการ

1 ชิ้น 2,000 1 2,000
ค่าเช่าสถานที่

ค่าเช่าหอประชุมและตกแต่งสถานที่ 2 วัน x 5,000 บาท = 10,000 บาท

1 ครั้ง 5,000 2 10,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับประชากรจำนวน 150 คน x 200 บาท x 2 วัน

150 คน 200 2 60,000
ค่าถ่ายเอกสาร 200 ชุด 5 1 1,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

รถยนต์ส่วนตัว 4 คัน x 2 วัน x 1,000 บาท

4 คน 1,000 2 8,000
อื่น ๆ

ค่าถ่ายทำ VDC สร้างสื่อการเรียนรู้ในโครงการ

1 คน 2,000 2 4,000
รวมค่าใช้จ่าย 127,400

กิจกรรมที่ 2 การถ่ายทอดความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ สุขภาพ สาธารณสุข สารสนเทศ นวัตกรรมและกฎหมายสู่ชุมชน

ชื่อกิจกรรม
การถ่ายทอดความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ สุขภาพ สาธารณสุข สารสนเทศ นวัตกรรมและกฎหมายสู่ชุมชน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจด้านวิทยาศาสตร์ สุขภาพและสาธารณสุขเกี่ยวข้อมูลที่ปรากฏบนฉลากผลิตภัณฑ์
  2. เพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลที่ปรากฏบนฉลากผลิตภัณฑ์และจากแหล่งข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ สามารถนำเทคโนโลยีสารสนเทศนั้นเผยแพร่ความรู้ให้คนในชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืนได้และการสร้างระบบให้คำปรึกษาผ่านทางแอพลิเคชั่น
  3. เพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านกฎหมายที่คุ้มครองผู้บริโภคให้กับคนในชุมชน
  4. เพื่อให้คนในชุมชนสามารถพิจารณา แยกแยะและทดสอบคุณภาพเบื้องต้นของผลิตภัณฑ์ต่างๆ ด้วยนวัตกรรมง่ายๆ ที่สามารถทำเองได้
  5. เพื่อให้คนในชุมชนสามารถปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อได้รับอันตรายที่เกิดจากการใช้ผลิตภัณฑ์
  6. เพื่อให้คนในชุมชนสามารถคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์และสามารถตัดสินใจเลือกบริโภคอาหารสำเร็จรูป การใช้เครื่องสำอาง ยารักษาโรคและสารเคมีทางการเกษตรได้อย่างถูกต้อง
รายละเอียดกิจกรรม
1. เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจด้านวิทยาศาสตร์ สุขภาพและสาธารณสุขเกี่ยวข้อมูลที่ปรากฏบนฉลากผลิตภัณฑ์
2. เพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลที่ปรากฏบนฉลากผลิตภัณฑ์และจากแหล่งข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ สามารถนำเทคโนโลยีสารสนเทศนั้นเผยแพร่ความรู้ให้คนในชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืนได้และการสร้างระบบให้คำปรึกษาผ่านทางแอพลิเคชั่น
3. เพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านกฎหมายที่คุ้มครองผู้บริโภคให้กับคนในชุมชน
4. เพื่อให้คนในชุมชนสามารถพิจารณา แยกแยะและทดสอบคุณภาพเบื้องต้นของผลิตภัณฑ์ต่างๆ ด้วยนวัตกรรมง่ายๆ ที่สามารถทำเองได้
5. เพื่อให้คนในชุมชนสามารถปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อได้รับอันตรายที่เกิดจากการใช้ผลิตภัณฑ์
6. เพื่อให้คนในชุมชนสามารถคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์และสามารถตัดสินใจเลือกบริโภคอาหารสำเร็จรูป การใช้เครื่องสำอาง ยารักษาโรคและสารเคมีทางการเกษตรได้อย่างถูกต้อง
ระยะเวลาดำเนินงาน
9 มีนาคม 2563 ถึง 14 มิถุนายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
- ชุมชนได้รับการศึกษาและพัฒนาในด้านวิทยาศาสตร์ สุขภาพ สาธารณสุข เทคโนโลยีสารสนเทศ นวัตกรรมและกฏหมายคุ้มครองผู้บริโภค
- นิสิตสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ หรือคิดวิเคราะห์แก้ปัญหาจากประสบการณ์ของตนเอง
- เกิดนวัตกรรมใมห่ในชุมชน
ทรัพยากรอื่น ๆ
เทคโนโลยีและนวัตกรรม
ภาคีร่วมสนับสนุน
-
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

- ค่าตอบแทนวิทยากรและวิทยากรร่วม (4 คน x 600 บาท x 8 ชม. x 4 วัน) จำนวนเงิน 76,800 บาท

4 คน 4,800 4 76,800
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนผู้นำชุมชน 4 หมู่ คนละ 1000 บาท

4 คน 1,000 4 16,000
ค่าเช่าสถานที่

ค่าเช่าหอประชุมและตกแต่งสถานที่ 4 วัน x 5000 บาท = 20,000 บาท

1 ครั้ง 5,000 4 20,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มตัวอย่าง 100 คน x 200 บาท x 4 วัน

100 คน 200 4 80,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

ปริีนเตอร์ หมึก ปากกา กระดาษ กระเป๋าและอื่นๆ

5 ชิ้น 2,000 1 10,000
ค่าถ่ายเอกสาร 110 ชุด 15 4 6,600
ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ

ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ 2 คน x 3 ชม. x 600 บาท

2 คน 1,800 1 3,600
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

รถยนต์ส่วนตัว 4 คัน x 4 วัน x 1,000 บาท

4 คน 1,000 4 16,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ซื้อเครื่องสำอาง ยารักษาโรค อาหารสำเร็จรูป สารเคมีทางการเกษตร วัสดุสำหรับสร้างนวัตกรรมในโครงการ เช่น วัสดุทำสมุนไพรจากธรรมชาติ น้ำยาล้างจานจากธรรมชาติ และการทดสอบต่างๆ

50 ชิ้น 100 4 20,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ค่าจ้่างทำ Backdrop

1 ชิ้น 20,000 1 20,000
อื่น ๆ

ค่าถ่ายทำ VDO ประชาสัมพันธ์โครงการและสร้างสื่อการเรียนรู้

1 คน 1,600 4 6,400
รวมค่าใช้จ่าย 275,400

กิจกรรมที่ 3 เสวนาและถอดบทเรียนที่ได้จากการจัดโครงการ

ชื่อกิจกรรม
เสวนาและถอดบทเรียนที่ได้จากการจัดโครงการ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อถอดบทเรียนที่ได้เมื่อใกล้ถึงเวลาสิ้นสุดการดำเนินโครงการ ซึ่งจะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้านการศึกษา ภาษา สุขภาพและการแพทย์ สร้างสังคมดิจิทัลและกลายเป็นชุมชนต้นแบบที่มีความเข้มแข็งที่ยั่งยืน
รายละเอียดกิจกรรม
จัดการเสวนาและถอดบทเรียนที่ได้เมื่อใกล้ถึงเวลาสิ้นสุดการดำเนินโครงการ ซึ่งจะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้านการศึกษา ภาษา สุขภาพและการแพทย์ สร้างสังคมดิจิทัลและกลายเป็นชุมชนต้นแบบที่มีความเข้มแข็งที่ยั่งยืน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
- ชุมชนได้แนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน
- นักศึกษาเกิดแรงบันดาลใจในการช่วยเหลือสังคมและพัฒนาประเทศต่อไป
ทรัพยากรอื่น ๆ
-
ภาคีร่วมสนับสนุน
อุปกรณ์และสารเคมีประกอบการอบรมบางส่วน ได้รับการสนับสนุนจากสาขาวิชาเคมี มหาวิทยาลัยราชภัฌมหาสารคาม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

- ค่าตอบแทนวิทยากรและวิทยากรร่วม (4 คน x 600 บาท x 8 ชม. x 1 วัน) จำนวนเงิน 19,200 บาท

4 คน 4,800 1 19,200
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนผู้นำชุมชน 4 หมู่ คนละ 1000 บาท

4 คน 1,000 1 4,000
ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 5,000 1 5,000
ค่าอาหาร 100 คน 200 1 20,000
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษาจำนวน 8 คน x 240 บาท x 30 วัน (ระยะเวลา 4 เดือน)

8 คน 180 30 43,200
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

รถยนต์ส่วนบุคคล 4 คัน x 1 เที่ยว x 1000 บาท

4 คน 1,000 1 4,000
ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ

ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิวันปิดโครงการ

1 คน 1,800 1 1,800
รวมค่าใช้จ่าย 97,200

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 207,000.00 22,000.00 230,600.00 30,000.00 10,400.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 41.40% 4.40% 46.12% 6.00% 2.08% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) ชุมชนและนักศึกษาได้ทำกิจกรรมร่วมกันเพื่อการพัฒนาชุมชนเข้มแข็ง 1. นักศึกษาได้เรียนรู้และเข้าใจชุมชน พัฒนาทักษะด้านการสื่อสารและการใช้ชีวิตประจำวันของคนในชุมชน
2. นักศึกษามีประสบการณ์จริงในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ
ผลลัพธ์ (Outcome) ชุมชนได้รับความรู้ความเข้าใจเรื่องสุขภาพ สาธารณสุข เทคโนโลยีสารสนเทศ นวัตกรรมและกฏหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค การใช้เครื่องสำอาง การใช้ยารักษาโรคและสารเคมีในการเกษตร นักศึกษาสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ สร้างนวัตกรรม รวมถึงการคิดวิเคราะห์แก้ปัญหาที่เกิดจากประสบการณ์ของตนเอง
ผลกระทบ (Impact) - ชุมชนได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการเลือกใช้สินค้าชนิดต่างๆ ภายในชุมชน
- ชุมชนได้แนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและกลายเป็นชุมชนเข้มแข็งที่ยั่งยืน
- ชุมชนสามารถสร้าสินค้าและนวัตกรรมการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
- ลดปัญหาที่เกิดจากการใช้สินค้าที่่ผิดวิธี
- นักศึกษามีประสบการณ์และเกิดแรงบันดาลใจในการช่วยเหลือสังคมและพัฒนาประเทศ
- นักศึกษาสามารถนำทักษะการใช้ชีวิตร่วมกันในสังคมไปปรับใช้ได้ในชีวิตประจำวัน
- นักศึกษาเกิดภาวะการเป็นผู้นำเกี่ยวกับเรื่องที่มีความเชี่ยวชาญ
- นำความรู้และประสบการณ์ที่ได้ไปถ่ายทอดยังชุมชนของตนเองและชุมชนอื่นๆ
- นักศึกษาเข้าใจและรู้จักบริหารจัดการการทำงานร่วมกันคนอื่น
- >นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาเคมี สามารถเทียบโอนรายวิชา โครงการวิจัยทางเคมี จำนวน 2 หน่วยกิต
> นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน สามารถเทียบโอนรายวิชาการเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 2 จำนวน 2 หน่วยกิต
> นักศึกษาหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขานิติศาสตร์ สามารถเทียบโอนรายวิชาการเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพกฏหมาย จำนวน 2 หน่วยกิต
นำเข้าสู่ระบบโดย chanukorn chanukorn เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 15:07 น.