แบบเสนอโครงการ
โครงการชุมชนปลอดขยะ

1. ชื่อโครงการ

โครงการชุมชนปลอดขยะกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามศูนย์วิทยาศาสตร์บ้านหนองริวหนัง หมู่ 5 ตำบลลำหนองแสนผศ.ดร.วุฒิกร สายแก้ว หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์ และคณะเลขที่ 80 มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ต.ตลาด อ.เมือง จ.มหาสารคามe-mail: ajkornrmu@hotmail.com เบอร์โทร 083-7365458คณะผู้วิจัย
1. ผศ.ดร.พรณรงค์ สิริปิยะสิงห์ สาขาวิชาชีววิทยาศึกษา
2. ผศ.เชิดชัย สมบัติโยธา สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
3. นายปริญญาศักดิ์ เจียระแม สาขาวิชาชีววิทยา
4. นายอภิสิทธิ์ เกียรติเจริญ สาขาวิชาฟิสิกส์
นักศึกษาผู้ร่วมวิจัย/ผู้ช่วยวิจัย
1. นางสาวรัตติยาพร ศรีคุณ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ID 1440600256761
2. นางสาวสุพรรษา อ่างบุญตา สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ID 1440300223794
3. นางสาวชลธิชา บาริศรี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ID 1440900251217
4. นางสาวชุติมา คุ้มขลิบ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ID 1440200068169
5. นางสาวจิราภรณ์ ไชยพิมพ์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ID 1399900099082
6. นางสาวพันนิภา ซาเสน สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ID 1490300107166
7. นางสาวประภาพรรณ ใจแสน สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ID 1440500184997
8. นางสาวธนาภา หีบแก้ว สาขารัฐศาสตร์ ID 1460800102350
9. นางสาวเกสรา ทวยภา สาขารัฐศาสตร์ ID 1409902962500
10. นางสาวสุดารัตน์ ราชโคตร สาขารัฐศาสตร์ ID 1460800095426

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ หนองกุงศรี ลำหนองแสน

3. รายละเอียดชุมชน

สำหรับตำบลลำหนองแสน อยู่ในเขตการปกครองของอำเภอหนองกุงศรี จังหวัดกาฬสินธุ์ แบ่งการปกครอง 8 หมู่บ้าน มีหมู่บ้านที่อยู่ในเขตเทศบาล จำนวน 4 หมู่บ้าน นอกเขตเทศบาล 1 หมู่บ้าน และอยู่ในเขตเทศบาลบางส่วน 3 หมู่บ้าน ตำบลลำหนองแสน มีชื่อตามลำห้วยที่แบ่งเขตพื้นที่ระหว่างตำบลหนองกุงศรีกับลำหนองแสน อาชีพหลัก ได้แก่ การทำนา อาชีพเสริม ได้แก่ ทำไร่ มีระบบสาธารณูปโภค มีไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์สาธารณะ ครบทุกหมู่บ้าน การเดินทางไปยังตำบลนั้น อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอ 1 กม. โดยมีเส้นทางหลวงถนนสายห้วยเม็ก-ท่าคันโท ผ่านพื้นที่ตำบลลำหนองแสน ถนนเชื่อมระหว่างหมู่บ้านเป็นถนนลาดยางตลอดสายประชากรส่วนใหญ่ในหมู่บ้านมีที่ดินและที่ทำกินเป็นของตนเอง เป็นชุมชนที่มีความสามัคคี มีประเพณีวัฒนธรรมที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน และมีผู้นำท้องถิ่นที่ต้องการพัฒนาชุมชนในปัจจุบันมีอัตราการเพิ่มของปริมาณขยะจากครัวเรือนและการบริโภคอย่างมากขึ้นสาเหตุหลักเกิดจากการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร ซึ่งจะเห็นว่าขยะมูลฝอยมีอัตราเพิ่มขึ้นโดยอัตโนมัติตามจำนวนประชากรเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงไปสู่การผลิตแบบอุตสาหกรรมวัสดุบรรจุภัณฑ์สำหรับอาหารมีความสำคัญและจำเป็นทำให้มีวัสดุประเภทพลาสติกเกิดขึ้นมากมายและมีความหลากหลายอยู่ทั่วไปในท้องตลาดถุงพลาสติกทำให้เกิดความสะดวกมากขึ้นทั้งต่อผู้ขายและผู้ซื้อในขณะเดียวกันในชุมชนได้มีร้านจำหน่ายอาหารเกิดขึ้นหลายแห่งดังนั้นการเปลี่ยนแปลงของชุมชน และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภคมีส่วนทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบของขยะในปัจจุบัน
จากปัญหาที่เกิดขึ้นที่กล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยได้เล็งเห็นถึงความสำคัญจึงได้ทำการศึกษาเรื่องชุมชนปลอดขยะ โดยมุ่งเน้นที่จะศึกษาในส่วนการจัดการของหน่วยงาน และของประชาชนในพื้นที่ชุมชนชุมชนบ้านหนองริวหนัง หมู่ที่ 5 ต.ลำหนองแสน อ.หนองกรุงศรี จ.กาฬสินธุ์ และข้อมูลที่ได้รับจะได้นำไปสู่การศึกษาเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ให้แก่ประชาชนให้รู้จักการจัดการขยะมูลฝอยในระดับครัวเรือนให้เกิดความยั่งยืนต่อไปในอนาคตรวมทั้งการหนุนเสริมขององค์กรชุมชนในการจัดการขยะมูลฝอยในระดับครัวเรือนซึ่งจะส่งผลโดยรวมให้ชุมชนน่าอยู่มากยิ่งขึ้น
ความต้องการของชุมชนในการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยชุมชน ให้เกิดความยั่งยืน เป็นรูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยที่ครบวงจร ลดค่าใช้จ่ายในการกำจัดขยะของเทศบาล การเกิดรายได้จากการนำขยะมาแปลรูปให้เกิดมูลค่า ส่งเสริมรายได้ของชุมชน และลดปัญหามลพิษจากขยะที่เกิดขึ้น อันจะส่งผลกระทบต่อปัญหามลพิษในระดับที่สูงขึ้น

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

- เทคโนโลยีการกำจัดขยะชุมชน
- การลิตปุ๋ยหมักชีวภาพของชุมชนแบบไม่กลับกองปุ๋ยหมัก
- นวัตกรรมการแปรรูปขยะ
- รูปแบบการจัดทำธนาคารขยะชุมชน
- ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
- นวัตกรรมในการขับเคลื่อนกิจกรรมโดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการมีส่วนร่วมของชุมชน
- การประชุมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) ในการดำเนินการจัดการและคัดแยกขยะมูลฝอยชุมชน และการจัดการมูลฝอยโดยชุมชน

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อจัดตั้งชุมชนต้นแบบด้านการจัดการขยะมูลฝอย

ร้อยละของความพึงพอใจของประชาชนในชุมชน มากกว่าร้อยละ 80 ของจำนวนครัวเรือน

0.00 0.00
2 เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้การจัดการขยะและกำจัดขยะที่มีประสิทธิภาพตั้งแต่ต้นทาง

คู่มือการจัดการขยะชุมชน, ผู้นำชุมชนและประชาชนได้รับการถ่ายทอดความรู้จำนวน 60 คน

0.00 0.00
3 เพื่อนำองค์ความรู้ด้านการจัดการขยะมาใช้พัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการกำจัดขยะชุมชนให้เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืน

ร้อยละความพึงพอใจของประชาชนในชุมชน และมีการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง

0.00 0.00
4 เพื่อให้นักศึกษานำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานจริง โดยใช้หลักการคิด วิเคราะห์ ประมวลผล และวางแผนได้

มีผลงานที่ได้รับการเผยแพร่อย่างน้อย 2 เรื่อง

0.00 0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
จำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม และถ่ายทอดเทคโนโลยี ได้แ 60

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 ศึกษารวบรวมข้อมูลเพื่อวางแผน โดยศึกษาสภาพและปัญหาการจัดการขยะมูลฝอย

ชื่อกิจกรรม
ศึกษารวบรวมข้อมูลเพื่อวางแผน โดยศึกษาสภาพและปัญหาการจัดการขยะมูลฝอย
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้การจัดการขยะและกำจัดขยะที่มีประสิทธิภาพตั้งแต่ต้นทาง
  2. เพื่อนำองค์ความรู้ด้านการจัดการขยะมาใช้พัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการกำจัดขยะชุมชนให้เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืน
  3. เพื่อให้นักศึกษานำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานจริง โดยใช้หลักการคิด วิเคราะห์ ประมวลผล และวางแผนได้
รายละเอียดกิจกรรม
ศึกษารวบรวมข้อมูลเพื่อวางแผน โดยศึกษาสภาพและปัญหาการจัดการขยะมูลฝอย
ระยะเวลาดำเนินงาน
2 มีนาคม 2563 ถึง 6 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ทราบปัญหาการจัดการขยะมูลฝอย/ใช้วางแผนการจัดการขยะมูลฝอย
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
อปท.
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าเช่ารถ

ค่าเช่าเหมารถไปยังพื้นที่ชุมชน

5 ครั้ง 2,000 1 10,000
ค่าตอบแทนวิทยากร 5 คน 3,000 5 75,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารสำหรับวิทยากรและผู้ช่วยวิจัย

15 คน 150 5 11,250
ค่าวัสดุสำนักงาน

วัสดุสำนักงาน ในการจัดทำแบบสอบถามและในการรวบรวมข้อมูล

1 ชุด 3,000 5 15,000
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม 15 คน 250 5 18,750
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ครั้ง 5,000 1 5,000
รวมค่าใช้จ่าย 135,000

กิจกรรมที่ 2 จัดเวทีนำเสนอข้อมูลผลการวิจัยกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

ชื่อกิจกรรม
จัดเวทีนำเสนอข้อมูลผลการวิจัยกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้การจัดการขยะและกำจัดขยะที่มีประสิทธิภาพตั้งแต่ต้นทาง
  2. เพื่อนำองค์ความรู้ด้านการจัดการขยะมาใช้พัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการกำจัดขยะชุมชนให้เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืน
  3. เพื่อให้นักศึกษานำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานจริง โดยใช้หลักการคิด วิเคราะห์ ประมวลผล และวางแผนได้
รายละเอียดกิจกรรม
จัดเวทีนำเสนอข้อมูลผลการวิจัยกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
ระยะเวลาดำเนินงาน
23 มีนาคม 2563 ถึง 24 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ข้อมูลปัญหาการจัดการขยะชุมชน/นำไปใช้วางแผนการตัดการขยะ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
อปท.
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

การนำเสนอปัญหาการจัดการ และให้ข้อเสนอแนะ

5 คน 3,000 2 30,000
ค่าอาหาร 15 คน 150 2 4,500
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม 60 คน 250 2 30,000
ค่าวัสดุสำนักงาน 2 ครั้ง 3,000 2 12,000
รวมค่าใช้จ่าย 76,500

กิจกรรมที่ 3 ถ่ายทอดองค์ความรู้การจัดการขยะและกำจัดขยะที่มีประสิทธิภาพตั้งแต่ต้นทาง

ชื่อกิจกรรม
ถ่ายทอดองค์ความรู้การจัดการขยะและกำจัดขยะที่มีประสิทธิภาพตั้งแต่ต้นทาง
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้การจัดการขยะและกำจัดขยะที่มีประสิทธิภาพตั้งแต่ต้นทาง
  2. เพื่อนำองค์ความรู้ด้านการจัดการขยะมาใช้พัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการกำจัดขยะชุมชนให้เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืน
รายละเอียดกิจกรรม
ถ่ายทอดองค์ความรู้การจัดการขยะและกำจัดขยะที่มีประสิทธิภาพตั้งแต่ต้นทางให้กลุ่มเป้าหมาย
ระยะเวลาดำเนินงาน
6 เมษายน 2563 ถึง 9 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
คู่มือการจัดการขยะมูลฝอย เทคโนโลยีการจัดการขยะ/ความรู้ ก่ารปฏิบัติ และความตระหนักของชุมชน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
อปท.
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 5 คน 3,000 4 60,000
ค่าเช่ารถ 4 ครั้ง 2,000 1 8,000
ค่าอาหาร 60 คน 250 4 60,000
ค่าวัสดุสำนักงาน 4 ครั้ง 3,000 1 12,000
ค่าถ่ายเอกสาร 60 ชุด 50 4 12,000
รวมค่าใช้จ่าย 152,000

กิจกรรมที่ 4 พัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการกำจัดขยะชุมชนให้เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืน

ชื่อกิจกรรม
พัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการกำจัดขยะชุมชนให้เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อจัดตั้งชุมชนต้นแบบด้านการจัดการขยะมูลฝอย
  2. เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้การจัดการขยะและกำจัดขยะที่มีประสิทธิภาพตั้งแต่ต้นทาง
  3. เพื่อนำองค์ความรู้ด้านการจัดการขยะมาใช้พัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการกำจัดขยะชุมชนให้เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืน
  4. เพื่อให้นักศึกษานำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานจริง โดยใช้หลักการคิด วิเคราะห์ ประมวลผล และวางแผนได้
รายละเอียดกิจกรรม
พัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการกำจัดขยะชุมชนให้เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2563 ถึง 4 มิถุนายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ได้เทคโนโลยีการจัดการขยะตามประเภท ธนาคารขยะ/การนำเทคโนโลยีมาใช้ในชุมชน และการดำเนินการธนาคารขยะ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
อปท
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 5 คน 3,000 4 60,000
ค่าเช่ารถ 1 เที่ยว 2,000 4 8,000
ค่าอาหาร 60 คน 150 4 36,000
ค่าตอบแทนวิทยากร 15 คน 250 4 15,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน 1 คน 5,000 1 5,000
ค่าถ่ายเอกสาร 60 ชุด 50 4 12,000
ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 500 1 500
รวมค่าใช้จ่าย 136,500

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 293,750.00 5,000.00 161,750.00 39,500.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 58.75% 1.00% 32.35% 7.90% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) - การแยกขยะตามประเภท การทำปุ๋ยหมักจากขยะอืนทรีย์ การแปรรูปขยะให่้เกิดมูลค่า
- ชุดฝึกอบรมการจัดการขยะมูลฝอย
- ความรู้ด้านการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนและการวางแผนการจัดการขยะชุมชน
ผลลัพธ์ (Outcome) - การปฏิบัติการแยกขยะหรือลดขยะที่ต้นทาง การกำจัดขยะที่ถูกต้องตามประเภท
- การให้บริการวิชาการแก่สังคมโดยชุดเรื่องการจัดการขยะมูลฝอย
- ชุมชนปลอดขยะ (zero waste community) หรือมีขยะเหลือเพื่อกำจัดน้อยที่สุด
- สามารถนำองค์ความรู้จากโครงการมาเทียบหน่วยกิตกับรายวิชาดังต่อไปนี้ คือ
1) การกำจัดขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย 3019323 (เลือกเสรี 3(2-2-5) สอนโดย ผศ.เชิดชัย สมบัติโยธา)
2) มลพิษและมหันตภัยโลกร้อน 1409903 (การศึกษาทั่วไป 3(2-2-5) สอนโดย ผศ.ดร.วุฒิกร สายแก้ว)
3) หลักและวิธีการทางอนามัยสิ่งแวดล้อม 2019314 (เอกเลือก 3(2-2-5) สอนโดย ผศ.ดร.วุฒิกร สายแก้ว)
4) โครงการวิจัยวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม 3019463 (เอกบังคับ 3(0-6-6))
5) สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม 2019244 (เลือกเสรี 2(2-0-4) สอนโดย ผศ.ดร.วุฒิกร สายแก้ว)
- การรับผิดชอบต่อสังคม และมีผลงานทางวิชาการที่ทำการเผยแพร่แก่สังคม
ผลกระทบ (Impact) - เป็นชุมชนต้นแบบปลอดขยะ
- ชุมชนมีความตะหนักการจัดการขยะมูลฝอย
- การจัดการขยะมูลฝอยอย่างยั่งยืน สามารถพึ่งพาตนเองได้
- ความสามัคคีของชุมชน
- การมีส่วนร่วม และความตะหนักถึงปัญหาสิ่งแวดล้อม
นำเข้าสู่ระบบโดย wutthikorn wutthikorn เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 14:59 น.