การพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยการถ่ายทอดเรียนรู้ร่วมกันเพื่อ “ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”

แบบเสนอโครงการ
การพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยการถ่ายทอดเรียนรู้ร่วมกันเพื่อ “ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”

1. ชื่อโครงการ

การพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยการถ่ายทอดเรียนรู้ร่วมกันเพื่อ “ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามศูนย์วิทยาศาสตร์์ตำบลหัวงัวผศ.ดร.เนตรชขนก จันทร์สว่าง ผศ.ดร.ยุวดี อินสำราญ (โทร 093-3616422) ดร.ภาณุวัตร รื่นเรืองฤทธิ์ (โทร 0-1-0640121)80 ถนนนครสวรรค์ ตำบลตลาด อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคามการติดต่อ jansawangn@yahoo.com โทร 043-742620 มือถือ 08695442941. 613410050101นางสาวคัชรินทร์ แสบงบาล สาขาวิชาเคมี คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม รหัสบัตรประชาชน 1461000201818 วิชาที่เทียบโอน (ได้ 100%) วิชา 2010364โครงการวิจัยทางเคมี 2(0-6-2) โทร 097-4470325
2. 613410050118นายชาคริต ฉวิกขุนรัมย์สาขาวิชาเคมี คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม รหัสบัตรประชาชน 1709800324340 วิชาที่เทียบโอน 2010364โครงการวิจัยทางเคมี 2(0-4-2) รหัสบัตรประชาชน1709800324340 วิชาที่เทียบโอน (ได้ 100%) วิชา 2010364โครงการวิจัยทางเคมี 2(0-6-2)โทร 090-2188985
3. 613410050126 นายพรทวี วันดี สาขาวิชาเคมี คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามรหัสบัตรประชาชน 110200312029วิชาที่เทียบโอน (ได้ 100%) วิชา 2010364โครงการวิจัยทางเคมี 2(0-6-2) โทร 088-5805580
4. 613410050127นายภาณุวิชญ์ โนบรรเทา สาขาวิชาเคมี สาขาวิชาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม รหัสบัตรประชาชน 1102003121029 วิชาที่เทียบโอน (ได้ 100%) วิชา 2010364โครงการวิจัยทางเคมี 2(0-6-2) โทร 098-2543561
5. 613120020103นางสาวจารุวรรณ ธรรมจิต สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม รหัสบัตรประชาชน 1110301346086วิชาที่เทียบโอน (ได้ 50%) วิชา 2014106 สาหร่ายวิทยา 3(2-2-5) โทร 092-7307457
6. 623120020112นายปณิธาน สุกพวงแก้ว สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม รหัสบัตรประชาชน 1449900493138วิชาที่เทียบโอน(ได้ 50%) วิชา 2014106 สาหร่ายวิทยา 3(2-2-5) โทร 099-4940878
7. 613120020119นางสาวอารียา จันทานิช สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม รหัสบัตรประชาชน 1459900825416(ได้ 50%) วิชา 2014106 สาหร่ายวิทยา 3(2-2-5) โทร 093-4703061
8. 613410090113นายกฤษณะ อนุฤทธิ์สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม รหัสบัตรประชาชน 1449900493138วิชาที่เทียบโอน (ได้ 100%) วิชา 2015323วิธีวิจัยวิทยาศาสตร์ 3(2-2-5) โทร 098-8810421
9. 613410090121 นายคณิน ศิริวงศ์สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม รหัสบัตรประชาชน 1409901856846 วิชาที่เทียบโอน (ได้ 100%) วิชา 2015323วิธีวิจัยวิทยาศาสตร์ 3(2-2-5) โทร 061-5160027
10. 613410090123 นายสุรัตน์ ผลเลไร สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม รหัสบัตรประชาชน 1409901713514วิชาที่เทียบโอน (ได้ 100%) วิชา 2015323วิธีวิจัยวิทยาศาสตร์ 3(2-2-5) โทร 093-7478448

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ ยางตลาด หัวงัว

3. รายละเอียดชุมชน

หัวงัว และหมู่ที่ 8 ตำบลยางตลาด อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ 46120 โดยมีประชากรประมาณ 1,200 คน อาชีพหลักของคนในพื้นที่คือทำนา และอาชีพเสริม คือ เลี้ยงสัตว์ ลักษณะพื้นที่ ไม่ใช่ที่ดอน ไม่เหมาะกับการทำไร่ หรือปลูกพืช ผัก ฤดูฝนพื้นที่ส่วนใหญ่จะเกิดน้ำท่วม มีระบบชลประทานสะดวก เหมาะกับการทำนาปรัง การเลี้ยงสัตว์หมู่ที่ 3 บ้านลาดสระบัวตำบลหัวงัว อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ 46120 มีประชากรประมาณ 1,000 คน อาชีพหลักของคนในพื้นที่คือทำนา และอาชีพเสริม คือ เลี้ยงสัตว์ ลักษณะพื้นที่ ไม่ใช่ที่ดอน ไม่เหมาะกับการทำไร่ หรือปลูกพืช ผัก ฤดูฝนพื้นที่ส่วนใหญ่จะเกิดน้ำท่วม มีระบบชลประทานสะดวก เหมาะกับการทำนาปรัง การเลี้ยงสัตว์หมู่ที่ 3 บ้านลาดสระบัวตำบลหัวงัว อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ 46120 มี 239 ครัวเรือน ประชากรประมาณ 1,000 คน อาชีพหลักของคนในพื้นที่คือทำนา และอาชีพเสริม คือ เลี้ยงสัตว์ ลักษณะพื้นที่ ไม่ใช่ที่ดอน ไม่เหมาะกับการทำไร่ หรือปลูกพืช ผัก ฤดูฝนพื้นที่ส่วนใหญ่จะเกิดน้ำท่วม มีระบบชลประทานสะดวก เหมาะกับการทำนาปรัง การเลี้ยงสัตว์ ผู้ชายในหมู่บ้านส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพก่อสร้าง ทั้งในเขตจังหวัดกาฬสินธุ์และจังหวัดใกล้เคียงประชากรจำนวน 239 ครัวเรือน ส่วนใหญ่ในหมู่บ้านมีที่ดิน และที่ทำกินเป็นของตนเอง มีคลองชลประทานที่มาจากเขื่อนลำปาว อาชีพหลักคือ การทำนา โดยเฉพาะการทำนาปรัง และอาชีพเสริมคือ การเลี้ยงสัตว์นอกจากนี้ใจกลางหมู่บ้านยังมีหนองน้ำขนาดใหญ่ เป็นแหล่งน้ำสำคัญของหมู่บ้าน ในหมู่บ้านมีการปลูกกล้วยน้ำว้ามาก แต่ไมีมีการนำไปแปรรูป
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีโรงเรียนลาดสระบัวหนองลุมพุกวิทยา ให้บริการจัดการศึกษาทั้งหมู่ 3 บ้านสระบัว และหมู่ 6 บ้านหนองโจด ในปีการศึกษา 2562 มีนักเรียนระดับอนุบาล ถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีนักเรียนอนุบาล 2 และ 3 รวม 22 คน ประถมศึกษาปีที่ 1-6 จำนวน 13,14,11,10,11,6 รวม 65 คน มีครูประจำการ 6 คน (รวมผู้อำนวยการโรงเรียน) และ ลูกจ้าง 3 คน ถึงแม้จะมีจำนวนครูครบชั้น แต่ขาดครูที่จบตรงสาขาทางด้านวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ บริเวณหน้าโรงเรียนมีสุขศาลา ให้บริการพื้นฐานทางด้านสุขภาพ
พื้นที่ตั้งของหมู่บ้านอยู่ห่างจากตลาดอำเภอประมาณ 10 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดประมาณ 22 กิโลเมตร มีแหล่งน้ำและพื้นที่ที่สามารถเพาะปลูกพืชผักสวนครัวได้ แต่ประชาชนชอบความสะดวก ขาดความรู้ความเข้าใจในการปลูกและใช้พืชผักสมุนไพรในครัวเรือนในการดำรงชีวิต รุ่นพ่อแม่ ไปทำงานต่างแดน ปู่ย่าตายาย เลี้ยงหลานๆ ที่บ้าน ผู้ชายในหมู่บ้านไปรับจ้างก่อสร้างทั้งในจังหวัดกาฬสินธุ์และจังหวัดใกล้เคียง ประชากรอายุน้อยกว่า 6 ขวบ มีประมาณร้อยละ 4 ขณะที่ผู้สูงอายุ มีถึง ร้อยละ 11 มีผู้ป่วยเบาหวานในระบบสุขภาพร้อยละ 3 ความดันโลหิตสูง ร้อยละ 1.5 และเป็นโรคเรื้อรัง ร้อยละ 1
นอกจากนี้โรงเรียนที่อยู่ในเขตพื้นที่ขาดครูเฉพาะวิชา จึงอาจจะให้ความรู้และพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ให้กับนักเรียนได้ไม่เต็มศักยภาพ ดังนั้นการให้ครูและนักเรียนมีความรู้ด้านพืชผักพื้นเมือง และการใช้ประโยชน์ ตลอดจนการแปรรูป โดยผ่านการเรียนรู้แลกเปลี่ยนจากผู้รู้ หรือภูมิปัญญาในท้องถิ่น
ประชาชนในหมู่บ้านต้องการปลูกและใช้พืชผักสมุนไพร ต้องการทราบประโยชน์ และวิธีการแปรรูปเพื่อให้สะดวกในการใช้และลดการใช้สารเคมีในการปรุงอาหาร หรือการปลูกพืชผัก นอกจากนี้โรงเรียนที่อยู่ในเขตพื้นที่ขาดครูเฉพาะวิชา จึงอาจจะให้ความรู้และพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ให้กับนักเรียนได้ไม่เต็มศักยภาพ ดังนั้นการให้ครูและนักเรียนมีความรู้ด้านพืชผักพื้นเมือง และการใช้ประโยชน์ ตลอดจนการแปรรูป โดยผ่านการเรียนรู้แลกเปลี่ยนจากผู้รู้ หรือภูมิปัญญาในท้องถิ่นอันจะทำให้มีการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยการถ่ายทอดเรียนรู้ร่วมกัน “ให้มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงประชาชนในหมู่บ้านต้องการปลูกและใช้พืชผักสมุนไพร ต้องการทราบประโยชน์ และวิธีการแปรรูป เพื่อให้สะดวกในการใช้และลดการใช้สารเคมีในการปรุงอาหาร หรือการปลูกพืชผัก โดยทำกิจกรรมร่วมกันระหว่าง เด็กนักเรียน เยาวชน และผู้ใหญ่หรือผู้สูงวัย จะทำให้ลดการรับประทานยา ส่งผลให้สุขภาพของผู้สูงวัยดีขึ้น นอกจากนี้โรงเรียนที่อยู่ในเขตพื้นที่ขาดครูเฉพาะวิชา จึงอาจจะให้ความรู้และพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ให้กับนักเรียนได้ไม่เต็มศักยภาพ ดังนั้นการให้ครูและนักเรียนมีความรู้ด้านพืชผักพื้นเมือง และการใช้ประโยชน์ ตลอดจนการแปรรูป โดยผ่านการเรียนรู้แลกเปลี่ยนจากผู้รู้ หรือภูมิปัญญาในท้องถิ่น อันจะทำให้มีการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยการถ่ายทอดเรียนรู้ร่วมกัน “ให้มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

องค์ความรู้
-พืชสมุนไพร สาหร่ายเทา/สาหร่ายไก
-การทำผงปรุงรสจากพืชสมุนไพร
- การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
- การทำข้าวเกรียบเห็ด, แหนมเห็ด, ซาลาเปาเห็ด ข้าวเกรียบเห็ด, ข้าวเกรียบสาหร่ายไก, น้ำพริกแคบหมูสาหร่ายไก, น้ำพริกเผาสาหร่ายไก, น้ำพริกตาแดงสาหร่ายไกและการทำน้ำดื่มสมุนไพร เป็นต้น
- อนุกรมวิธานพืช
-ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
นวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงการ
ขับเคลื่อนกิจกรรมโดยการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้รู้ในท้องถิ่น ประชาชน อาจารย์ นักศึกษา ครู และนักเรียน
รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล
ประเทศไทยตั้งอยู่บริเวณศูนย์สูตร มีสภาพเหมาะสมกับการเจริญเติบโตของพืช มีความหลากหลายทางชีวภาพของพืชพันธุ์ไม้ และต้นไม้ ทั้งที่ขึ้นเองตามธรรมชาติ หรือปลูกขึ้น พืชหลายชนิดนำมาบริโภคโดยการรับประทานสด ปรุงอาหารโดยตรง หรือแปรรูป หลายชนิดเป็นสมุนไพรใช้รักษาโรค ทั้งใช้โดยตรง นำไปสกัด หรือแปรรูป ปัจจุบันโรคมะเร็งเป็นโรคที่สำคัญที่คุกคามและเป็นสาเหตุการตายของมนุษย์จากสภาพแวดล้อมในปัจจุบันและปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งมีการทำนายว่า ในปี 2030 ในประเทศที่พัฒนาแล้ว โรคมะเร็งจะเพิ่มขึ้นมากกว่า75% และ ในประเทศกำลังพัฒนา มากกว่า 90% นอกจากนี้ยังพบว่ายาสมุนไพรพื้นบ้าน โดยเฉพาะผลไม้ที่มีสีเข้ม และผัก จะสามารถต้านการเกิดโรคมะเร็งได้(Farrukh Aqil et al., 2014) ผัก ผลไม้ และอาหารที่มีวิตามินซี วิตามินเอ วิตามิน อี กรดไลโปอิค ไลโคพีน คาโรทีนอยด์ หรือสารจำพวกเม็ดสี ฟลาโวนอยด์ เช่น quercetin ที่พบมากในผัก ผิวของผลไม้ และหัวหอม อาหารที่มีซีลีเนียมสูง เช่น ปู ปลา กุ้ง หอย เนื้อแดง เนื้อไก่ ไข่ กระเทียม เมล็ดดอกทานตะวัน และถั่วชนิดต่าง ๆ อาหารเหล่านี้เป็นแหล่งของสารต้านอนุมูลอิสระที่ต้านการเกิดเซลล์มะเร็ง การรับประทานผัก ผลไม้ หรืออาหารที่มีสารต้านอนุมูลอิสระสามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งได้ดีกว่าการรับประทานสารต้านอนุมูลอิสระโดยตรง ผัก ผลไม้ และอาหารที่มีกากใยมากจะช่วยลดการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้ดี (วัชรี หาญยิ่ง, 2549) นอกจากนี้กากใยหรือเส้นใยมีบทบาททำให้อิ่มง่าย ด้วยความอิ่มที่เท่ากัน ถ้ากินเส้นใยมาก แคลอรี่ที่รับเข้าร่างกายจะน้อยกว่า จึงป้องกันและรักษาเบาหวานได้เส้นใยยังช่วยดูดซับไขมันส่วนเกินในอาหารมื้อนั้นที่เกินเข้าไป หรือกระทั่งซับไขมันที่ขับออกมาพร้อมกับกรด น้ำดี ไม่ให้ดูดซึมกลับเข้าสู่ร่างกาย คอยให้ขับถ่ายทิ้งไป อาหารเส้นใยสูงจึงช่วยป้องกันรักษาเบาหวาน โรคไขมันสูง ทั้งช่วยรักษาความดันเลือดสูง หรือโรคหัวใจได้ในระยะยาว (อ้อมใจ วงษ์มณฑา, ออนไลน์)
ในการปรุงรสอาหารมีการผลิตสารชูรส สำเร็จรูปเพื่อจำหน่าย สารชูรสที่ใช้กันมานานได้แก่ กรด กลูตามิกและเกลือของกรดกลูตามิกซึ่งเป็นกรดอะมิโนที่พบได้ในอาหารหลายชนิดในธรรมชาติ มีรายงานว่าการรับประทานสารชูรสในกลุ่มกรดกลูตามิกอาจก่อให้เกิดอาการภัตตาคารจีน (Chinese Restaurant Syndrome; CRS) ในผู้บริโภคบางกลุ่มได้ ซึ่งปัจจุบันยังเป็นที่ถกเถียงกันในทางการแพทย์ ทั้งนี้สารชูรสกลุ่มกรดกลูตามิกเป็นวัตถุเจือปนอาหารควบคุมในหลายประเทศ ผู้ผลิตอาหารสำเร็จรูปต้องระบุไว้บนฉลากให้ชัดเจนเพื่อเป็นข้อมูลให้กับผู้บริโภค ผงชูรส (Monosodium Glutamate หรือ MSG) ซึ่งเป็นเกลือของกรดกลูตามิก ไม่มีประโยชน์ทางโภชนาการ เนื่องจากเป็นกรดอะมิโนที่ไม่จำเป็น เพราะร่างกายผลิตเองได้ นอกจากนี้ผงชูรสเป็นสารเคมีคนละชนิดกับกรดกลูตามิคที่มีอยู่ในธรรมชาติและในอาหารประเภทโปรตีน การที่ผงชูรสเป็นเกลือโซเดียมเช่นเดียวกับเกลือแกง นอกจากไม่มีประโยชน์แล้ว ผงชูรสยังมีโทษและพิษภัยอันตราย อันเกิดจากเกลือโซเดียม เช่น ทำให้ภูมิต้านทานหรือภูมิคุ้มกันของร่างกายมนุษย์ลดลง เป็นอันตรายต่อหญิงมีครรภ์ และบุคคลที่มีโรคประจำตัว เช่น โรคไต เป็นต้น นอกจากนี้ยังเป็นพิษที่เกิดจากตัวผงชูรสเอง เช่น เกิดอาการแพ้ ทำลายระบบประสาท เป็นต้น (พิชัย โตวิวิชญ์, ออนไลน์)
อดีตภูมิปัญญาท้องถิ่นอีสานนำพืชผักบางชนิดมาใช้ปรุงอาหารเพื่อเพิ่มรสชาติให้อร่อย เช่น การนำใบหม่อน ใบน้อยหน่า มาใส่ต้มไก่ ต่อมาผู้นำพืชผักสมุนไพรหลายชนิดมาแปรรูปเพื่อใช้เป็นเครื่องปรุงรสเรียกว่า"ผงนัว"เก็บไว้ใช้ทำต้มแกง อ่อม ลาบ และอาหารอื่นๆ ทำให้ใช้ได้สะดวกและสามารถเก็บไว้ได้นาน เช่น ในจังหวัดสกลนคร มีการทำผงนัว โดยใช้สมุนไพร 12 ชนิดได้แก่ ใบผักหวาน ใบมะรุม ใบหม่อน ใบกระเทียม ใบหอม ใบมะขาม ใบกระเจี๊ยบ ผักโขมทั้งต้น ใบส้มป่อย ใบน้อยหน่า ใบชะมวง และใบกุยช่าย โดยนำมาตากแดดให้แห้ง (ผงนัว, ออนไลน์) ตำให้ละเอียดแล้วผสมกันเก็บไว้ใส่อาหารเวลาต้มแกง สำหรับจังหวัดมหาสารคาม และใกล้เคียง มีพืชผักพื้นบ้านหลายชนิดที่สามารถนำมาปรุงรสอาหารและสามารถแปรรูปให้สะดวกในการใช้และเก็บไว้ได้นาน นอกจากนี้ยังมีรสชาติอาหารดีโดยไม่ต้องใส่ผงชูรส ซึ่งอาจจะก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้บริโภคแล้วพืชผักเหล่านี้ยังมีสรรพคุณทางยาอีกด้วย เนตรชนกจันทร์สว่าง(2557) ทำการศึกษาและสมบัติของผงปรุงรสจากสมุนไพรพื้นบ้าน ได้แก่หัวหอม หัวกระเทียม ใบหม่อน กุยช่าย น้อยหน่า มะรุม มะกล่ำ สะเดาผงปรุงรสจากสมุนไพรพื้นบ้าน ผักโขม ติ้วขาว ผักหวานป่า ผักหวานบ้าน ย่านางอ่อมแซบ และดอกขจรตัวประสาน มี 2 ชนิด คือ ข้าวเหนียวขัดสี และข้าวกล้องเหนียว สัดส่วน 4 : 0; 1 : 3 ; 1 : 1 ; 3 : 1และ 0 : 4 ตามลำดับ พันธุ์ข้าวเหนียวที่ใช้เป็นชนิดเดียวกัน คือ กข-6 ผลการศึกษาสมบัติของผงปรุงรสจากพืชสมุนไพร ดังนี้ ค่า pH มีค่าอยู่ระหว่าง 4.5-5.3 ความชื้น เถ้า โปรตีน ไขมัน และเยื่อใย มีค่าอยู่ระหว่าง 6.7-8.52, 2.58-4.8, 0.007-0.027, 0.47-2.41 และ 2.58-4.58 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ปริมาณธาตุอาหารหลัก โปแตสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม มีค่าอยู่ระหว่าง 6,594-8,888, 335-1,388, 945.96-2,014 มิลลิกรัม/กิโลกรัมของน้ำหนักแห้ง ตามลำดับ ธาตุอาหารรอง ได้แก่ เหล็ก สังกะสี แมงกานีส มีค่าอยู่ระหว่าง 29.55-253.15, 59.24-124.03 และ 33.39-68.69 มิลลิกรัม/กิโลกรัมของน้ำหนักแห้ง ตามลำดับ การยับยั้งอนุมูลอิสระใช้วิธี ดีพีพีเอช (DPPH) วัดการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 515 nmผงปรุงรสจากพืชสมุนไพรมีความสามารถในการยับยั้งอนุมูลอิสระ DPPH และ ABTS รายงานในเทอมของไมโครโมลทรอลอกซ์ ต่อน้ำหนักแห้ง 1 กรัม อยู่ระหว่าง 0.93-1.73 และ 0.33-0.59 ไมโครโมลทรอลอกซ์ ตามลำดับ โดยตัวประสานที่เป็นข้าวเหนียวขัดสี ต่อ ข้าวเหนียวกล้อง อัตราส่วน 1: 3 และ 0 : 4 มีค่าสูงใกล้เคียงกัน คือ 1.73 และ 1.67, 0.59 และ 0.58ไมโครโมลทรอลอกซ์ ตามลำดับ
ดังนั้นการปลูกพืชสมุนไพรเพื่อบริโภคเองโดยไม่ใช้ปุ๋ยเคมี จึงสามารถช่วยทำให้ห่างจากโรคภัยไข้เจ็บ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น การนำพืชสมุนไพรมีแปรรูปเป็นผงปรุงรส นอกจากช่วยให้สุขภาพดีแล้วยังช่วยลดรายจ่ายในครัวเรือน หากสามารถผลิตขายจะทำให้เกิดรายได้แก่ครัวเรือน นอกจากนี้การพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยการถ่ายทอดเรียนรู้ร่วมกัน “ให้มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”ยังช่วยสร้างความสัมพันธ์ที่ดีของผู้สูงวัย ผู้ใหญ่ เด็ก และเยาวชนได้เป็นอย่างดีอีกด้วย นักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมนี้จะสามารถเรียนรู้จากพื้นที่และสถานการณ์จริง ทำให้สามารถนำมาทำวิจัยทางวิทยาศาสตร์ได้

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาชุมชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยการนำองค์ความรู้ที่หลากหลายใน สถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และจัดกิจกรรมโดยการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้รู้ในท้องถิ่น ประชาชน อาจารย์ นักศึกษา ครู นักเรียน มาบูรณาการในการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้เกิดความยั่งยืน

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 70 คน ประกอบด้วย ประชาชน/ผู้รู้ในท้องถิ่น ครู นักเรียน นักศึกษา รวม 70 คน

0.00
2 เพื่อนำองค์ความรู้ เกี่ยวกับ การทำผงปรุงรสจากพืชสมุนไพร การทำปุ๋ยชีวภาพ การแปรรูป อาหารสุขภาพ เช่น การทำข้าวเกรียบสาหร่าย, ข้าวเกรียบเห็ด, การแปรรูปกล้วย, เครื่องดื่มสมุนไพร เป็นต้น มาใช้ประโยชน์ในการส่งเสริม ให้ชุมชนร่วมกับนักเรียน นักศึกษา ผลิตเพื่อบริโภคเอง หรือจำหน่ายเพื่อสร้างรายได้ให้กับครัวเรือน

ชุมชน จำนวน 23 ครัวเรือน ปลูกพืชผัก ทำปุ๋ยชีวภาพ และแปรรูปอาหาร เพื่อใช้ในครัวเรือน

0.00
3 เพื่อให้นักศึกษาได้ประยุกต์องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานจริง มีความสามารถในการค้นคว้า คิด วิเคราะห์ ประมวลผล มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถออกแบบระบบงาน จนสามารถทำการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ได้ และสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคม และมีจิตสาธารณะ รวมทั้งมีความใฝ่รู้อันจะก่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต

จำนวนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์/เผยแพร่ในการชุมวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติ 4 เรื่อง

0.00
4 เพื่อให้นักเรียนและนักศึกษา ได้ร่วมกันทำงานการศึกษา วางแผนการสำรวจ ทดลอง จัดกระทำข้อมูล และนำเสนอผลการศึกษา โดยใช้เทคโนโลยีกับชุมชน ทำให้ได้กระบวนการได้มาซึ่งองค์ความรู้โดยวิธีการสำรวจ ค้นคว้า และกระบวนการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ ส่งผลให้พัฒนาทักษะกระบวนการคิด และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการ

จำนวนบทความวิจัย 1 เรื่อง ตีพิมพ์/นำเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติหรือในวารสาร

0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
นักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 37
ประชาชน/ผู้รู้ท้องถิ่น 23

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 สร้างความตระหนักและการปลูกพืชผักสมุนไพร

ชื่อกิจกรรม
สร้างความตระหนักและการปลูกพืชผักสมุนไพร
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาชุมชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยการนำองค์ความรู้ที่หลากหลายใน สถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และจัดกิจกรรมโดยการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้รู้ในท้องถิ่น ประชาชน อาจารย์ นักศึกษา ครู นักเรียน มาบูรณาการในการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้เกิดความยั่งยืน
รายละเอียดกิจกรรม
1.จัดประชุมเพื่อสร้างความตระหนักถึงความสำคัญของพืชผักสมุนไพร
2.ขออาสาสมัครร่วมกิจกรรมการปลูกพืชผักสมุนไพร
(กิจกรรมนี้จะปลูกและดูแลพืชผักสมุนไพรตลอดระยะเวลาโครงการ ให้เกิดความยั่งยืน)
ระยะเวลาดำเนินงาน
16 มีนาคม 2563 ถึง 16 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต
1.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของพืชผักสมุนไพร
2. ประชาชน/เยาวชน/นักเรียน ในพื้นที่ จำนวน 23 หลังคาเรือน ปลูกพืชผักสมุนไพรไว้รับประทานเองและแปลงผักและสวนสมุนไพรโรงเรียน 1 แห่ง
3. นักเรียนและนักศึกษาทำการสำรวจว่าแต่ละบ้านมีพืชสมุนไพรอะไรบ้าง ใช้ประโยชน์อะไรบ้าง และนำเสนอข้อมูลให้กับชุมชน
ผลลัพธ์
1. ผู้สูงวัย ผู้ใหญ่ เยาวชน นักเรียนและนักศึกษาร่วมกันทำกิจกรรมการเตรียม การปลูก และการดูแลพืชผักสมุนไพร
2. นักเรียนและนักศึกษา ได้ร่วมกันทำงาน วางแผนการทำการสำรวจ จัดกระทำข้อมูล และนำเสนอผลการศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีกับชุมชน
3. นักเรียนและนักศึกษาได้กระบวนการได้มาซึ่งองค์ความรู้โดยวิธีการสำรวจ ค้นคว้า
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
โรงเรียนลาดสระบัวหนองลุมพุกวิทยา สนับสนุนให้ครู/นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม อบต.หัวงัว สนับสนุนเจ้าหน้าที่ อสม.ให้ความรู้
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน x 600 บาท x 6 xชั่วโมง x 1วัน

2 คน 3,600 1 7,200
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนผู้ช่วยวิทยากร จำนวน 3 คน x 300บาท x6 ชั่วโมง x1 วัน

3 คน 1,800 1 5,400
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าเดินทางเหมาจ่าย กม.ละ 4 บาท ระยะทาง 34 กม.x2

5 คน 272 1 1,360
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

ค่าพาหนะนักศึกษา 10 คน *272 บาท * 1 ครั้ง

10 คน 272 1 2,720
ค่าอาหาร

ค่าอาหาร/อาหารว่าง 150 บาท/วัน 70 คน * 1 วัน

70 คน 150 1 10,500
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าเอกสาร 5 ชุด ถัวเฉลี่ย

70 คน 30 1 2,100
ค่าเช่าสถานที่ 1 ชุด 1,000 1 1,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าวัสดุโครงการ ทำการปลูกพืชสมุนไพร

1 ชุด 10,000 1 10,000
ค่าวัสดุสำนักงาน 1 คน 1,000 1 1,000
รวมค่าใช้จ่าย 41,280

กิจกรรมที่ 2 การทำและใช้ปุ๋ยชีวภาพ การแยกขยะและใช้ประโยชน์จากเศษใบไม้

ชื่อกิจกรรม
การทำและใช้ปุ๋ยชีวภาพ การแยกขยะและใช้ประโยชน์จากเศษใบไม้
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อนำองค์ความรู้ เกี่ยวกับ การทำผงปรุงรสจากพืชสมุนไพร การทำปุ๋ยชีวภาพ การแปรรูป อาหารสุขภาพ เช่น การทำข้าวเกรียบสาหร่าย, ข้าวเกรียบเห็ด, การแปรรูปกล้วย, เครื่องดื่มสมุนไพร เป็นต้น มาใช้ประโยชน์ในการส่งเสริม ให้ชุมชนร่วมกับนักเรียน นักศึกษา ผลิตเพื่อบริโภคเอง หรือจำหน่ายเพื่อสร้างรายได้ให้กับครัวเรือน
  2. เพื่อให้นักศึกษาได้ประยุกต์องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานจริง มีความสามารถในการค้นคว้า คิด วิเคราะห์ ประมวลผล มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถออกแบบระบบงาน จนสามารถทำการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ได้ และสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคม และมีจิตสาธารณะ รวมทั้งมีความใฝ่รู้อันจะก่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
รายละเอียดกิจกรรม
1. ให้ความรู้เกี่ยวกับการแยกขยะ การนำขยะสดทำปุ่ยน้ำหมัก
2. การทำและการใช้ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ
3. ขออาสาสมัครบ้านร่วมการทำปุ๋ยชีวภาพเพื่อใช้งาน จำนวน 23 หลังคาเรือน 2 โรงเรียน
4. สาธิตการทำปุ่ยจากใบไม้
ระยะเวลาดำเนินงาน
20 มีนาคม 2563 ถึง 20 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. ชาวบ้าน จำนวน 23 หลังคาเรือน และ 2 โรงเรียนฯ ทำปุ๋ยชีวภาพสำหรับใช้บำรุงต้นไม้ โดยความร่วมมือของนักเรียนและนักศึกษา
2. นักเรียน นักศึกษา ศึกษาประสิทธิภาพของการใช้ปุ๋ยชีวภาพในการปลูกพืชผักสมุนไพร
3. นักเรียน นักศึกษาได้กระบวนการในการศึกษาและทำโครงงานวิทยาศาสตร์
4. สาธิตการทำปุ๋ยจากใบไม้
ผลลัพธ์
1. ผู้สูงวัย ผู้ใหญ่ เยาวชน นักเรียนและนักศึกษาร่วมกันทำกิจกรรมการเตรียม การปลูก และการดูแลพืชผักสมุนไพร
2. นักเรียน นักศึกษา ได้ร่วมกันทำงาน วางแผนการติดตามผลการใช้ปุ๋ยชีวภาพ จัดกระทำข้อมูล และนำเสนอข้อมูล
3. โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้การเกิดดินจากการย่อยสลายซากพืช
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม สนับสนุนวิทยากร
โรงเรียนลาดสระบัวหนองลุมพุกวิทยา สนับสนุนให้ครู/นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม
โรงเรียนบ้านกุดสังข์ สนับสนุนให้ครู/นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

2 คน*600บาท*6ชั่วโมง

2 คน 600 6 7,200
ค่าตอบแทนวิทยากร

ผู้ช่วยวิทยากร 300บาท*3คน*6ชั่วโมง

3 คน 300 6 5,400
ค่าอาหาร

ราคารวมอาหารว่าง

70 คน 150 1 10,500
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

วิทยากร/ผู้ช่วยวิทยากร 5 คน ระยะทาง 34 กม.ไปกลับ

5 คน 272 1 1,360
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่

ระยะทาง 34 กม.*4 บาท ไปกลับ

10 คน 272 1 2,720
ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 1,000 1 1,000
ค่าถ่ายเอกสาร 1 ครั้ง 1,900 1 1,900
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 1 ครั้ง 10,000 1 10,000
ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ครั้ง 1,000 1 1,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา 160บาท/วัน/คน

9 คน 160 1 1,440
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชุด 1,400 1 1,400
รวมค่าใช้จ่าย 43,920

กิจกรรมที่ 3 การทำผงปรุงรสจากพืชสมุนไพร

ชื่อกิจกรรม
การทำผงปรุงรสจากพืชสมุนไพร
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อนำองค์ความรู้ เกี่ยวกับ การทำผงปรุงรสจากพืชสมุนไพร การทำปุ๋ยชีวภาพ การแปรรูป อาหารสุขภาพ เช่น การทำข้าวเกรียบสาหร่าย, ข้าวเกรียบเห็ด, การแปรรูปกล้วย, เครื่องดื่มสมุนไพร เป็นต้น มาใช้ประโยชน์ในการส่งเสริม ให้ชุมชนร่วมกับนักเรียน นักศึกษา ผลิตเพื่อบริโภคเอง หรือจำหน่ายเพื่อสร้างรายได้ให้กับครัวเรือน
รายละเอียดกิจกรรม
1. ให้ความรู้ประโยชน์และวิธีการทำผงปรุงรสจากพืชสมุนไพร
2. รวบรวมพืชผักและผลิตผงปรุงรส ครั้งที่ 1
3. ผลิตผงปรุงรส ครั้งที่ 2
ระยะเวลาดำเนินงาน
5 พ.ค. 2563 ถึง 6 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต
1.ชาวบ้าน ครู นักเรียนและนักศึกษา รวมจำนวน 70 คน มีความรู้เกี่ยวกับประโยชน์และวิธีการทำผงปรุงรสจากพืชสมุนไพร
2. ชาวบ้าน ครู นักเรียนและนักศึกษา รวมจำนวน 70 คน กันทำผงปรุงรสจากพืชสมุนไพร
3. ชาวบ้าน ครู นักเรียนและนักศึกษา ทดลองใช้ผงปรุงรสจากพืชสมุนไพรในการปรุงอาหารในชีวิตประจำวัน
4. นักเรียนและนักศึกษา สำรวจความพึงพอใจในการใช้ผงปรุงรสจากพืชสมุนไพรในการปรุงอาหาร
ผลลัพธ์
1.สูงวัย ผู้ใหญ่ เยาวชน นักเรียนและนักศึกษาร่วมกันทำมีความรู้เกี่ยวกับประโยชน์และวิธีการทำผงปรุงรสจากพืชสมุนไพร
2. นักเรียน นักศึกษา ได้ร่วมกันวางแผน และสำรวจความพึงพอใจในการใช้ผงปรุงรสจากพืชสมุนไพรในการปรุงอาหาร จัดกระทำข้อมูล และนำเสนอข้อมูล
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
โรงเรียนลาดสระบัวหนองลุมพุกวิทยา สนับสนุนให้ครู/นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

2 วัน

2 คน 600 12 14,400
ค่าตอบแทนวิทยากร

ผู้ช่วยวิทยากร 2 วัน

3 คน 300 12 10,800
ค่าอาหาร 70 คน 150 2 21,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ระยะทาง 34 กม.

5 คน 272 1 1,360
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 10 คน 240 1 2,400
ค่าถ่ายเอกสาร 1 ครั้ง 3,000 1 3,000
ค่าเช่าสถานที่ 2 ครั้ง 1,000 1 2,000
ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ครั้ง 1,000 1 1,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 1 ครั้ง 10,000 1 10,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

9 คน 160 1 1,440
รวมค่าใช้จ่าย 67,400

กิจกรรมที่ 4 การแปรรูปอาหารสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
การแปรรูปอาหารสุขภาพ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อนำองค์ความรู้ เกี่ยวกับ การทำผงปรุงรสจากพืชสมุนไพร การทำปุ๋ยชีวภาพ การแปรรูป อาหารสุขภาพ เช่น การทำข้าวเกรียบสาหร่าย, ข้าวเกรียบเห็ด, การแปรรูปกล้วย, เครื่องดื่มสมุนไพร เป็นต้น มาใช้ประโยชน์ในการส่งเสริม ให้ชุมชนร่วมกับนักเรียน นักศึกษา ผลิตเพื่อบริโภคเอง หรือจำหน่ายเพื่อสร้างรายได้ให้กับครัวเรือน
  2. เพื่อให้นักศึกษาได้ประยุกต์องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานจริง มีความสามารถในการค้นคว้า คิด วิเคราะห์ ประมวลผล มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถออกแบบระบบงาน จนสามารถทำการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ได้ และสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคม และมีจิตสาธารณะ รวมทั้งมีความใฝ่รู้อันจะก่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
รายละเอียดกิจกรรม
1. ให้ความรู้
2. สำรวจความต้องการของชุนและความพร้อมของวัตถุดิบในชุมชนในการทำอาหารแปรรูป
3.ฝึกปฏิบัติการแปรรูปอาหาร ประเภทอาหาร ของขบเคี้ยว และเครื่องดื่มสมุนไพรเช่น
วันที่ 1 การทำข้าวเกรียบสาหร่ายไก, การทำข้าวเกรียบเห็ด
วันที่ 2 การทำแหนมเห็ด / สาหร่ายอบกรอบ
วันที่ 3 การทำน้ำพริกตาแดง / น้ำพริกเผา / น้ำพริกแคบหมูสาหร่ายไก
วันที่ 4 การแปรรูปกล้วย
วันที่ 5 การทำเครื่องดื่มสมุนไพร
ระยะเวลาดำเนินงาน
18 พ.ค. 2563 ถึง 22 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต
1.ชาวบ้าน นักเรียนและนักศึกษา ได้ความรู้และฝึกปฏิบัติการแปรรูปอาหาร ประเภทอาหาร ของขบเคี้ยว และเครื่องดื่มสมุนไพร จำนวน ไม่น้อยกว่า 7รายการ
ผลลัพธ์
1.สูงวัย ผู้ใหญ่ เยาวชน นักเรียนและนักศึกษาร่วมกันฝึกปฏิบัติการแปรรูปอาหาร ประเภทอาหาร ของขบเคี้ยว และเครื่องดื่มสมุนไพร
2. ร้อยละ 20 ของชาวบ้าน สามารถแปรรูปอาหาร ไม่น้อยกว่า 5 รายการ เชิงการค้าได้
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
โรงเรียนลาดสระบัวหนองลุมพุกวิทยา สนับสนุนให้ครู/นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

2 คน 5 วัน 6 ชั่วโมง/วัน 600 บาท/ชั่วโมง

2 คน 600 30 36,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ผู้ช่วยวิทยากร 5วันๆละ6ชั่วโมง*300บาท*ชั่วโมง

3 คน 300 30 27,000
ค่าอาหาร

จัดอบรม 5 วัน 70คน*อาหาร 80บาท/คน/วัน อาาหรว่าง 50บาท/คน/วัน

70 คน 150 5 52,500
ค่าถ่ายเอกสาร 1 ครั้ง 2,000 1 2,000
ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 1,000 5 5,000
ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ครั้ง 1,000 1 1,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 1 ครั้ง 20,000 1 20,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 5 คน 272 1 1,360
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 10 คน 272 1 2,720
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชุด 1,800 1 1,800
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

9 คน 160 5 7,200
รวมค่าใช้จ่าย 156,580

กิจกรรมที่ 5 การวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์

ชื่อกิจกรรม
การวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้นักศึกษาได้ประยุกต์องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานจริง มีความสามารถในการค้นคว้า คิด วิเคราะห์ ประมวลผล มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถออกแบบระบบงาน จนสามารถทำการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ได้ และสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคม และมีจิตสาธารณะ รวมทั้งมีความใฝ่รู้อันจะก่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
  2. เพื่อให้นักเรียนและนักศึกษา ได้ร่วมกันทำงานการศึกษา วางแผนการสำรวจ ทดลอง จัดกระทำข้อมูล และนำเสนอผลการศึกษา โดยใช้เทคโนโลยีกับชุมชน ทำให้ได้กระบวนการได้มาซึ่งองค์ความรู้โดยวิธีการสำรวจ ค้นคว้า และกระบวนการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ ส่งผลให้พัฒนาทักษะกระบวนการคิด และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการ
รายละเอียดกิจกรรม
1. นักศึกษาแบ่งกลุ่ม เสนอเค้าโครงการวิจัย (วางแผนการทดลอง)
2. นักศึกษาแต่ละกลุ่มเก็บตัวอย่าง เช่น ผงปรุงรสจากพืชสมุนไพร อาหารแปรรูป ดิน ตามที่กำหนด
3. นำตัวอย่างไปวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ที่ห้องปฏิบัติการ ตามพารามิเตอร์ที่กำหนด เช่น คุณค่าทางโภชนาการของผงปรุรสจากพืชสมุนไพร อาหารแปรรูป สมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน เป็นต้น
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2563 ถึง 20 มกราคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต
1. ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ เช่น คุณค่าทางโภชนาการของผงปรุรสจากพืชสมุนไพร อาหารแปรรูป สมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน เป็นต้น
2. รายงานวิจัย จำนวนไม่น้อยกว่า 3 เรื่อง
ผลลัพธ์
บทความวิจัย จำนวน 4 เรื่อง เพื่อเผยแพร่ในการนำเสนอในที่ประชุมวิชาการระดับชาติ หรือตีพิมพ์เผยแพร่ไม่น้
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม สนับสนุนเครื่องมือวิเคราะห์ขั้นสูง/อุปกรณ์การทดลองวิทยาศาสตร์
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าวัสดุการทดลองทางวิทยาศาสตร์ เช่น การวิเคราะห์โลหะหนัก หาโปรตีน ไขมัน เถ้า ความชื้น แร่ธาตุอาหารหลัก สารต้านอนุมูลอิสระ เป็นต้น

1 ชุด 37,480 1 37,480
รวมค่าใช้จ่าย 37,480

กิจกรรมที่ 6 ติดตามและนำเสนอผลการวิจัย

ชื่อกิจกรรม
ติดตามและนำเสนอผลการวิจัย
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้นักเรียนและนักศึกษา ได้ร่วมกันทำงานการศึกษา วางแผนการสำรวจ ทดลอง จัดกระทำข้อมูล และนำเสนอผลการศึกษา โดยใช้เทคโนโลยีกับชุมชน ทำให้ได้กระบวนการได้มาซึ่งองค์ความรู้โดยวิธีการสำรวจ ค้นคว้า และกระบวนการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ ส่งผลให้พัฒนาทักษะกระบวนการคิด และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการ
รายละเอียดกิจกรรม
1.ประชุมนำเสนอรายงานสรุปผลการดำเนินงาน และผลการวิจัยแต่ละเรื่อง
2.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสะท้อนผลการจัดกิจกรรม
3. ประเมินผลการจัดกิจกรรม
ระยะเวลาดำเนินงาน
14 กรกฎาคม 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต
รายงานสรุปผลการดำเนินงาน
ผลลัพธ์
บทความวิจัย จำนวน 1 เรื่อง เพื่อเผยแพร่ในการนำเสนอในที่ประชุมวิชาการระดับชาติ หรือตีพิมพ์เผยแพร่
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
โรงเรียนบ้านลาดสระบัวหนองลุมพุก และโรงเรียนวังมนวิทยาคาร ให้ความอนุเคราะห์บุคลากรร่วมกิจกรรม
ผู้บริหาร อบต.หัวงัว อนุเคราะห์เข้าร่วมกิจกรรม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 600 6 7,200
ค่าตอบแทนวิทยากร

ผู้ช่วยวิทยากร

3 คน 300 6 5,400
ค่าอาหาร 70 คน 150 1 10,500
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 5 คน 272 1 1,360
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 10 คน 272 1 2,720
ค่าเช่าสถานที่ 1 คน 1,000 1 1,000
ค่าถ่ายเอกสาร 70 ชุด 100 1 7,000
อื่น ๆ

ค่าพิมพ์

1 ครั้ง 3,000 1 3,000
อื่น ๆ

ค่าจัดทำรายการวิจัย 4 เล่ม บทความ 4 เรื่อง

1 คน 20,000 1 20,000
อื่น ๆ

ค่าจัดทำรายงานสรุป

1 คน 10,000 1 10,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน

มหาวิทยาลัย ร้อยละ 10

1 ครั้ง 50,000 1 50,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

9 คน 160 1 1,440
รวมค่าใช้จ่าย 119,620

กิจกรรมที่ 7 พัฒนาทักษะศตวรรษที่ 21 แก่เยาวชน

ชื่อกิจกรรม
พัฒนาทักษะศตวรรษที่ 21 แก่เยาวชน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้นักศึกษาได้ประยุกต์องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานจริง มีความสามารถในการค้นคว้า คิด วิเคราะห์ ประมวลผล มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถออกแบบระบบงาน จนสามารถทำการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ได้ และสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคม และมีจิตสาธารณะ รวมทั้งมีความใฝ่รู้อันจะก่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
  2. เพื่อให้นักเรียนและนักศึกษา ได้ร่วมกันทำงานการศึกษา วางแผนการสำรวจ ทดลอง จัดกระทำข้อมูล และนำเสนอผลการศึกษา โดยใช้เทคโนโลยีกับชุมชน ทำให้ได้กระบวนการได้มาซึ่งองค์ความรู้โดยวิธีการสำรวจ ค้นคว้า และกระบวนการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ ส่งผลให้พัฒนาทักษะกระบวนการคิด และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการ
รายละเอียดกิจกรรม
1. เตรียมนักศึกษาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบเชิงรุก เพื่อนำไปสู่การบูรณาการการเรียนการสอนแบบสะเต็มศึกษา
2. นักศึกษาแต่ละคนเลือกถ่ายทอดเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ นักเรียนระดับชั้น ตามที่ได้รับมอบหมาย หรือให้ความช่วยเหลือเด็กที่อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้เป็นกลุ่มเล็ก
3. นักเรียนชั้น ป.3-ป.6 สอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ก่อนเรียน(ก่อนร่วมกิจกรรม)
4. สอนตามที่ได้รับมอบหมาย จากโรงเรียน คนละ 2-3 ชั่วโมง ต่อวัน เป็นเวลาอย่างน้อย 20 ชั่วโมง
(หมายเหตุ กิจกรรมนี้เป็นลำดับที่ 6 จัดก่อนประเมินผล)
ระยะเวลาดำเนินงาน
25 พ.ค. 2563 ถึง 29 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. นักเรียนระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1-3 มีความสนใจเรียนและทำกิจกรรมวิทยาศาสตร์
2. นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-5 มีความสนใจเรียนและทำกิจกรรมวิทยาศาสตร์และได้รับการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการโดยใช้กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์เชิงรุก
3.นักศึกษามีทักษะในการถ่ายทอดความรู้แก่นักเรียน และมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการสูงขึ้น
ผลลัพธ์
นักศึกษามีความรู้ เข้าใจ ในการวัดประเมินผลทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
โรงเรียนลาดสระบัวหนองลุมพุกวิทยา ให้ควมอนุเคราะห์ให้ทำการทดลองสอน/ทำกิจกรรมวิทยาศาสตร์
โรงเรียนวังมนวิทยาคารให้ความอนุเคราะห์ให้ทำการทดลองสอน/ทำกิจกรรมวิทยาศาสตร์
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา 240 บาท/วัน

10 คน 240 5 12,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถโดยสารประจำทาง 10 คน 272 1 2,720
ค่าถ่ายเอกสาร 1 ครั้ง 4,000 1 4,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าสื่อ วัสดุการศึกษา 8 ระดับ ชั้น

1 ครั้ง 15,000 1 15,000
รวมค่าใช้จ่าย 33,720

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 176,000.00 3,200.00 169,800.00 69,000.00 82,000.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 35.20% 0.64% 33.96% 13.80% 16.40% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) ไม่น้อยกว่า 23 ครัวเรือน ที่ร่วมกิจกรรมปลูกพืชสมุนไพร การทำปุ๋ยชีวภาพ ผลิตผงปรุงรสจากสมุนไพร การแปรรูปอาหาร และโรงเรียนที่ได้แหล่งเรียนรู้ (สวนสมุนไพร) นักศึกษาที่ร่วมกิจกรรม จำนวน 7 คนสามารถโอนหน่วยกิตของผลการเรียนได้ 1 รายวิชา จำนวน 3 คน เทียบได้ร้อยละ 50 ของวิชา
นักศึกษาที่ร่วมกิจกรรม ทำโครงการวิจัยทางเคมี หรือทางวิทยาศาสตร์ จำนวน 4 เรื่อง
ผลลัพธ์ (Outcome) ประชาชน นักเรียน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้สมุนไพร ปลูกไว้รับประทานโดยไม่ใช้สารเคมีสังเคราะห์ และสามารถแปรรูปเพื่อใช้งานในครัวเรือนได้
ประชาชนบางคนอาจนำความความรู้จากการอบรม เช่น การทำน้ำพริกสาหร่าย การทำข้าวเกรียบ ไปใช้ในการหารายได้เสริม
ได้บทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารหรือการประชุมวิชาการระดับชาติ จำนวน 4 เรื่อง
ผลกระทบ (Impact) สนองความต้องการของประชาชนที่ต้องการปลูกและใช้พืชผักสมุนไพร ต้องการทราบประโยชน์ และวิธีการแปรรูปเพื่อให้สะดวกในการใช้และลดการใช้สารเคมีในการปรุงอาหาร หรือการปลูกพืชผัก โดยผ่านการเรียนรู้แลกเปลี่ยนจากผู้รู้ หรือภูมิปัญญาในท้องถิ่นอันจะทำให้มีการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยการถ่ายทอดเรียนรู้ร่วมกัน “ให้มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการร่วมกันเรียนรู้ปฏิบัติทำให้ครอบครัวอบอุ่น เยาวชน นักเรียนรู้จักประโยชน์ของสมุนไพร ได้เรียนรู้จากพี่นักศึกษา อันจะส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะศตวรรษที่ 21 และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ผ่านการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการสะเต็มศึกษา นักศึกษา ได้ร่วมกันทำงานการศึกษา วางแผนการสำรวจ ทดลอง จัดกระทำข้อมูล และนำเสนอผลการศึกษา โดยใช้เทคโนโลยีกับชุมชน ทำให้ได้กระบวนการได้มาซึ่งองค์ความรู้โดยวิธีการสำรวจ ค้นคว้า และกระบวนการทำโครงงานวิจัย และได้ประสบการณ์ในการถ่ายทอดความรู้โดยการสอนเด็กจริง ส่งผลให้พัฒนาทักษะกระบวนการคิด และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะการสื่อสารและปรับตัวอยู่ร่วมกัน
นำเข้าสู่ระบบโดย Natechanok Natechanok เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 14:48 น.