โครงการการจัดการน้ำในพื้นที่การเกษตรโดยใช้เทคโนโลยีผสมผสานให้มีประสิทธิผลสูงสุด เพื่อลดต้นทุน และเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร

แบบเสนอโครงการ
โครงการการจัดการน้ำในพื้นที่การเกษตรโดยใช้เทคโนโลยีผสมผสานให้มีประสิทธิผลสูงสุด เพื่อลดต้นทุน และเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร

1. ชื่อโครงการ

โครงการการจัดการน้ำในพื้นที่การเกษตรโดยใช้เทคโนโลยีผสมผสานให้มีประสิทธิผลสูงสุด เพื่อลดต้นทุน และเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตรศูนย์บรรเทาภัยแล้ง กรมชลประทานศูนย์ส่งเสริมอุสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยชุมชนบ้านป่าแดงนายทวัตชัยอัยยะรัตน์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร0958729133กลุ่มเกษตรกร บ้านป่าแดง โนนสมบูณ์ หนองขาม

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ ยางตลาด ดอนสมบูรณ์ ชนบท

3. รายละเอียดชุมชน

ตําบลดอนสมบูรณ อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ มีลักษณะภูมิประเทศเปนที่ราบลุมพื้นที่ โดยรวมรอยละ 85 อยูในพื้นที่ชลประทานสามารถทําการเกษตรไดตลอดป นอกจากนั้นบางพื้นที่เปนที่ไรสวนซึ่ง ลักษณะภูมิประเทศเปนที่ราบยกสูงซึ่งอยูในพื้นที่ บานหนองขาม บานปาแดง บานดงเค็ง จากการสำรวจเบื้องต้น ร้อยละ 99 ที่ประกอบอาชีพทำนา ทำสวน ปลูกพืชฤดูแล้ง เลี้ยงสัตว์ รับจ้าง อุตสาหกรรมในครัวเรือน ซึ่งถือว่าเป็นเกษตรกรรายย่อย ที่มีอาชีพหลัก คือ ทำนา และอาชีพเสริม คือ การเลี้ยงสัตว์ และการปลูกพืชระยะสั้น เช่น พริก มะเขือเทศ แตงกวา ข้าวโพด และพืชผักต่างๆ เป็นต้น การทำการเกษตรจะเป็นแบบดั้งเดิม จากการพบปะพูดคุยปรึกษาปัญหาและลงพื้นที่สำรวจสภาพความเป็นอยู่ของคนในชุมชน รวมถึงพื้นที่ทางการเกษตรในเบื้องต้นของทีมวิจัย พบว่า เกษตรกรต้องการหาแนวทางการแก้ไขปัญหาการบริหารจัดการน้ำ รวมถึงการพัฒนาแหล่งน้ำ ให้เกษตรกรภายนอกพื้นที่เขตชลประทานสามารถนำน้ำมาใช้ได้ ได้น้อมนำแนวทางพระราชดำริ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร์มหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ ของการใช้น้ำอย่างไรให้พอเพียง และการพัฒนาชุมชนอย่างไรให้ยั่งยืน จึงเป็นที่มาให้เสนอโครงการใช้รูปแบบน้ำหยดกับพืชใช้น้ำน้อยเพื่อการบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการพัฒนาชุมชนที่ยั่งยืน พร้อมทั้งต่อยอดการใช้นวัตกรรมประหยัดพลังงานประเภทโซล่าเซลล์พลังงานแสงอาทิตย์ใช้เป็นพลังงานในเครื่องสูบน้ำ ในการจัดทำการเกษตรทฤษฎีใหม่โดยการพึ่งพาตนเองมากที่สุด และมีการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์และมีประสิทธิภาพสูงสูด ตลอดจนเรียนรู้เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อนำมาใช้ทดแทนพลังงานคนหรือลดการใช้แรงงานคนในการเกษตรเพื่อให้เกิดการทำระบบเกษตรกรรมแบบยั่งยืนร้อยละ 99 ที่ประกอบอาชีพทำนา ทำสวน ปลูกพืชฤดูแล้ง เลี้ยงสัตว์ รับจ้าง อุตสาหกรรมในครัวเรือน ซึ่งถือว่าเป็นเกษตรกรรายย่อย ที่มีอาชีพหลัก คือ ทำนา และอาชีพเสริม คือ การเลี้ยงสัตว์ และการปลูกพืชระยะสั้น เช่น พริก มะเขือเทศ แตงกวา ข้าวโพด และพืชผักต่างๆ เป็นต้น การทำการเกษตรจะเป็นแบบดั้งเดิมจากการพบปะพูดคุยปรึกษาปัญหาและลงพื้นที่สำรวจสภาพความเป็นอยู่ของคนในชุมชน รวมถึงพื้นที่ทางการเกษตรในเบื้องต้นของทีมวิจัย พบว่า เกษตรกรต้องการหาแนวทางการแก้ไขปัญหาการบริหารจัดการน้ำ รวมถึงการพัฒนาแหล่งน้ำ ให้เกษตรกรภายนอกพื้นที่เขตชลประทานสามารถนำน้ำมาใช้ได้ ได้น้อมนำแนวทางพระราชดำริ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร์มหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ ของการใช้น้ำอย่างไรให้พอเพียง และการพัฒนาชุมชนอย่างไรให้ยั่งยืนเสนอโครงการใช้รูปแบบน้ำหยดกับพืชใช้น้ำน้อยเพื่อการบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการพัฒนาชุมชนที่ยั่งยืน พร้อมทั้งต่อยอดการใช้นวัตกรรมประหยัดพลังงานประเภทโซล่าเซลล์พลังงานแสงอาทิตย์ใช้เป็นพลังงานในเครื่องสูบน้ำ ในการจัดทำการเกษตรทฤษฎีใหม่โดยการพึ่งพาตนเองมากที่สุด และมีการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์และมีประสิทธิภาพสูงสูด ตลอดจนเรียนรู้เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อนำมาใช้ทดแทนพลังงานคนหรือลดการใช้แรงงานคนในการเกษตรเพื่อให้เกิดการทำระบบเกษตรกรรมแบบยั่งยืน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การใช้รูปแบบน้ำหยดกับพืชใช้น้ำน้อยเพื่อการบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร (Drip Irrigation with low water plants for water management for agriculture)โดยมุ่งเน้นที่การบริหารจัดการน้ำในพื้นที่นอกเขตชลประทาน เพื่อให้ได้รูปแบบการให้น้ำกับพื้นที่ที่เหมาะสม และผลพลอยได้คือความเข้มแข้งของชุมชนในการร่วมมือการทำความเข้าใจในรูปแบบต่าง ๆ ของการบริหารจัดการน้ำ และการใช้นวัตกรรมการประหยัดพลังงานมาใช้ร่วมกัน ทั้งนี้จะมีการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการพัฒนาชุมชนที่ยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อริเริ่มรูปแบบการบริหารจัดการน้ำให้กับชุมชนเป็นฐาน ผสมผสานกับการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่เหมาะสมต่อการใช้น้ำของเกษตรกร โดยจะมีสถานที่ศึกษาสำหรับให้ทุกคนที่สนใจเข้ามาศึกษาเรียนรู้ และนำไปขยายผลต่อไป
1.1) หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2) หลักการสร้างชุมชุนให้เข้มแข็ง
3. การใช้รูปแบบน้ำหยดกับพืชใช้น้ำน้อยเพื่อการบริหารจัดการน้ำ
4) นวัตกรรมเครื่องสูบน้ำโดยโซล่าเซลล์พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อใช้ในระบบน้ำหยด

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1) เพื่อหารูปแบบการใช้น้ำและเทคโนโลยีที่เหมาะสมต่อพื้นที่นอกและในเขตชลประทานตามหลักวิชาการ

ติดตั้งระบบน้ำหยดในพื้นที่ ระบบผสมผสานการให้น้ำ

3.00 5.00
2 2) เพื่อศึกษาวิจัยผลจากการใช้น้ำที่เหมาะสม และผลผลิตจากพืชที่ใช้น้ำน้อยเพื่อสร้างผลิตภัณฑ์และมูลค่าต่อชุมชน

อัตราการลดต้นทุนร้อยละ 3 ของแต่ละผู้เข้าร่วมโครงการ

5.00 5.00
3 3) เพื่อสร้างและบริหารศูนย์การเรียนรู้และนำไปใช้เพื่อให้เป็นชุมชนที่เข้มแข็ง และมีการพัฒนาที่ยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ผู้สนใจเข้าร่วมโครงการร้อยละ 30

1.00 5.00
4 นิสิตสาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ รายวิชา การประยุกต์ควบคุมใช้มอเตอร์ไฟฟ้า เครื่องมือวัดคุมทางไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ เข้าไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาวิเคราะห์และประมวลผลปัญหาของชุมชน และให้ความช่วยเหลือในการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน

จำนวนนิสิตที่เข้าร่วมโครงการมีเพิ่มขึ้นร้อยละ 30

5.00 5.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มเกษตรกร ชุมชนบ้านป่าแดง ดงเค็ง 5

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 1) วางแผนการศึกษาและสร้างรูปแบบการใช้น้ำให้เหมาะสมกับพื้นที่

ชื่อกิจกรรม
1) วางแผนการศึกษาและสร้างรูปแบบการใช้น้ำให้เหมาะสมกับพื้นที่
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    สำหรวจ หาข้อมูลเชิงลึก จำนวนพื้นที่ที่ใช้ทำโครงการ
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 มกราคม 2563 ถึง 15 มกราคม 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ได้รูปแบบการใช้น้ำให้เหมาะสมกับพื้นที่
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    โปรแกรมการใช้แบบจำลองพื้นที่
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    มกฉกส ศูนย์บรรเทาภัยแล้ง
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ให้ความรู้แก่นิสิต เป็นเวลา 6 ชั่วโมง ต่อกิจกรรม สำหรับการลงพื้นที่เก็บข้อมูลเพื่อการวินิจฉัย กลุ่มผู้เ้ข้าร่วมโครงการ

    1 คน 7,200 2 14,400
    ค่าเช่ารถ

    สำรวจ เก็บข้อมูล พื้นที่การทำโครงการ

    4 เที่ยว 2,800 1 11,200
    ค่าถ่ายเอกสาร

    เอกสารสำรวจ ข้อมูล สัมภาษณ์ ผู้ร่วมโครงการแต่ละราย เพื่อ ทำการวินิจฉัย ปัญหา ข้อมูลพื้นฐาน และปัญหา

    20 ชุด 100 1 2,000
    ค่าที่พักตามจริง

    ค่าห้องพักในการเก็บข้อมูล 3 วัน ในการลงพื้นที่เก็บข้อมูล พื้นที่โครงการ

    10 คน 800 3 24,000
    รวมค่าใช้จ่าย 51,600

    กิจกรรมที่ 2 2) ถ่ายทอดองค์ความรู้ และเทคโนโลยีการใช้น้ำรูปแบบการใช้น้ำหยดในพืชที่ใช้น้ำน้อย

    ชื่อกิจกรรม
    2) ถ่ายทอดองค์ความรู้ และเทคโนโลยีการใช้น้ำรูปแบบการใช้น้ำหยดในพืชที่ใช้น้ำน้อย
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      อบรมรายงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และขั้นตอนการทำงานตามบทสรุปของกิจกรรมที่ 1
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      20 มกราคม 2563 ถึง 24 มกราคม 2563
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      ข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อปรับปรุงแก้ไขระบบ
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ห้องประชุมสัมนา ค่าอาหาร ค่าเอกสาร
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      มกฉกส.
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      ค่าตอบแทนวิทยากร

      เข้ารับการอบรมสรุปผลการ วินิฉัยการแก้ปัญหาให้ผู้เข้าร่วมโครงการแต่ละราย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การทำงาน และขั้นตอนการทำงานของโครงการ ตลอดจนเทคนิคระบบการใช้น้ำนอกเขตชลประทาน

      2 คน 4,800 1 9,600
      ค่าอาหาร

      จัดอบรม ค่าอาหารวันละ 3 มื้อ จำนวน 2 วัน วันละ 400 บาทต่อคน

      20 คน 300 2 12,000
      ค่าถ่ายเอกสาร

      ผลสรุป วินิจฉัย รายละเอียดการแก้ปัญหาของแต่ละผู้เข้าร่วมโครงการ

      10 ชุด 100 1 1,000
      ค่าที่พักตามจริง

      ค่าที่พัก 1 คืนในการอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสรุปผลการวินิจฉัยปัยหาและแนวทางการแก้ไข

      10 คน 500 1 5,000
      ค่าเช่ารถ

      เดินทางอบรมแลกแปลี่ยนเรียนรู้ 2 วัน

      2 เที่ยว 2,800 1 5,600
      รวมค่าใช้จ่าย 33,200

      กิจกรรมที่ 3 3) นิสิตไปร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาวิเคราะห์ ประมวลผลปัญหา นำนวัตกรรม ติดตั้ง ใช้งานและปฏิบัติงานให้ความช่วยเหลือในการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน ลดต้นทุนการผลิตไม่น้อยกว่าร้อยละ 3

      ชื่อกิจกรรม
      3) นิสิตไปร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาวิเคราะห์ ประมวลผลปัญหา นำนวัตกรรม ติดตั้ง ใช้งานและปฏิบัติงานให้ความช่วยเหลือในการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน ลดต้นทุนการผลิตไม่น้อยกว่าร้อยละ 3
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        ก่อสร้างตามแบบและระบบการบริหารจัดการน้ำที่ออกแบบไว้นำไปติดตั้งใช้กับชุมชน
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        27 มกราคม 2563 ถึง 8 กุมภาพันธ์ 2563
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        ระบบ และนวัตกรรมโครงสร้างการจัดการน้ำเพื่อการเกษตร
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        1) อุปกรณ์ระบบน้ำหยดพื้นที่ 5 ไร่ อาทิเช่น เทปน้ำหยด support
        2) วัสดุประกอบ และสนับสนุนการติดตั้ง อาทิเช่น ปั้มน้ำ ท่อน้ำ ข้อต่อ วาล์ว โซลาร์เซลล์ แบตเตอรี่ เซนเซอร์ (Sensor) โครงสร้างถังสูง ต่างๆ เป็นต้น
        3) ค่าวัสดุไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ อาทิเช่น สายไฟปลั๊กไฟ อุปกรณ์สำหรับบันทึกข้อมูล เป็นต้น
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        มกฉกส
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        ค่าอาหาร

        ค่าอาหาร การดำเนินการติดตั้งระบบการจัดการน้ำ ของโครงการที่ออกแบบไว้ เป็นเวลา 10 วัน

        10 คน 300 5 15,000
        อื่น ๆ

        1) อุปกรณ์ระบบน้ำหยดพื้นที่ 5 ไร่ อาทิเช่น เทปน้ำหยด support 2) วัสดุประกอบ และสนับสนุนการติดตั้ง อาทิเช่น ปั้มน้ำ ท่อน้ำ ข้อต่อ วาล์ว โซลาร์เซลล์ แบตเตอรี่ เซนเซอร์ (Sensor) โครงสร้างถังสูง ต่างๆ เป็นต้น 3) ค่าวัสดุไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ อาทิเช่น สายไฟปลั๊กไฟ อุปกรณ์สำหรับบันทึกข้อมูล เป็นต้น

        1 ชุด 372,500 1 372,500
        ค่าเช่ารถ

        รับ ส่ง นิสิต อาจารย์ ติดตั้งระบบ วัดผล ระบบ ปรับปรุงระบบ การให้น้ำ ตามแบบที่สรุปไว้ 4 วัน

        3 เที่ยว 2,800 1 8,400
        รวมค่าใช้จ่าย 395,900

        กิจกรรมที่ 4 อบรมให้ความรู้ สรุปผลการดำเนินงาน วัดผลและนำเสนอผลงาน เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องนำไปใช้ประโยชน์

        ชื่อกิจกรรม
        อบรมให้ความรู้ สรุปผลการดำเนินงาน วัดผลและนำเสนอผลงาน เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องนำไปใช้ประโยชน์
        วัตถุประสงค์
          รายละเอียดกิจกรรม
          อบรมให้ความรู้ สรุปผลการดำเนินงาน วัดผลและนำเสนอผลงานการใช้งาน คู่มือการทำงาน เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องนำไปใช้ประโยชน์
          ระยะเวลาดำเนินงาน
          9 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
          ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
          คู่มือการใช้งาน การดำเนินงานให้ต่อเนื้อง
          ทรัพยากรอื่น ๆ
          ห้องอบรมสัมนา อาหาร เอกสารคู่มือต่างๆ ค่าตอบแทนวิทยากร
          ภาคีร่วมสนับสนุน
          ศูนย์บรรเทาถัยแล้ง มกฉกส ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรม
          รายละเอียดงบประมาณ
          ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
          ค่าตอบแทนวิทยากร

          ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน คนละ 3 ชั่วโมง

          2 คน 2,400 1 4,800
          ค่าอาหาร

          ค่าอาหาร อาหารว่าง 3 มื้อ 1 วัน

          20 คน 300 1 6,000
          ค่าถ่ายเอกสาร

          ค่าเอกสารคู่มือการใช้งานบำรุงรักษาอุปกรณ์ และสรุปผลการดำเนินโครงการ

          20 ชุด 100 1 2,000
          ค่าเช่ารถ 1 เที่ยว 2,800 1 2,800
          รวมค่าใช้จ่าย 15,600

          รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 496,300.00 บาท

          ค่าตอบแทนค่าใช้สอยอื่น ๆรวมเงิน
          ค่าใช้จ่าย (บาท) 28,800.00 95,000.00 372,500.00 496,300.00
          เปอร์เซ็นต์ (%) 5.80% 19.14% 75.06% 100.00%

          11. งบประมาณ

          496,300.00บาท

          12. การติดตามประเมินผล

          ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
          ผลผลิต (Output) ลดของเสีย ผลผลิตเพิ่มขึ้น ใช้ความรู่ทางวิชาการ การเรียนการสอนรายวิชาเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า
          ผลลัพธ์ (Outcome) ต้นทุนลดลงร้อยละ 3 ผ่านวิชาโครงงาน 1 , วิชาปฏิบัติการควบคุมและการวัด
          ผลกระทบ (Impact)
          นำเข้าสู่ระบบโดย tawatchaiay tawatchaiay เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 14:32 น.