การเรียนรู้ยกระดับคุณภาพชีวิตจากสมุนไพร และเห็ดป่ากินได้ วัดอัมพวันม่วงน้อย ตำบลลำคลอง โดยผ่านการถ่ายทอดและเรียนรู้ร่วมกัน

แบบเสนอโครงการ
การเรียนรู้ยกระดับคุณภาพชีวิตจากสมุนไพร และเห็ดป่ากินได้ วัดอัมพวันม่วงน้อย ตำบลลำคลอง โดยผ่านการถ่ายทอดและเรียนรู้ร่วมกัน

1. ชื่อโครงการ

การเรียนรู้ยกระดับคุณภาพชีวิตจากสมุนไพร และเห็ดป่ากินได้ วัดอัมพวันม่วงน้อย ตำบลลำคลอง โดยผ่านการถ่ายทอดและเรียนรู้ร่วมกันกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามดป่าอัมพวันม่วงน้อย หมู่ 7,8 ตำบลลำคลอง อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ผศ.ดร.ยุวดี อินสำราญ80 ถนนนครสวรรค์ ตำบลตลาด อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม 440000933616422ผศ.ดร.พรณรงค์สิริปิยะสิงห์

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ เมืองกาฬสินธุ์ ลำปาว

3. รายละเอียดชุมชน

กษณะพื้นที่ ป่าไม้ใกล้เขื่อนลำปาวมีวัดป่าที่มีชื่อเสียง เป็นสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดกาฬสินธุ์ แห่งที่ 3 และแหล่งผลิตสมุนไพร มีกลุ่มรักษ์สมุนไพรวัดอัมพวันม่วงน้อยมีโรงเรียนประถมศึกษาขยายโอกาสในหมู่บ้านคือ โรงเรียนบ้านหนองม่วง ซึ่งตั้งอยู่ไม่ห่างจากวัดรายได้ในภาคเกษตร รายได้เฉลี่ย 100,000บาท / ครัวเรือน /ปี
รายได้นอกภาคเกษตร รายได้เฉลี่ย 100,145บาท /ครัวเรือน /ปี
รายจ่ายในภาคเกษตร รายได้เฉลี่ย 30,515บาท / ครัวเรือน / ปี
รายได้นอกภาคเกษตร รายได้เฉลี่ย 30,515บาท / ครัวเรือน / ปี
พื้นที่อยู่ใกล้ตลาดและอำเภอเมือง ประชาชนชอบความสะดวก ขาดความรู้ความเข้าใจในการปลูกและใช้พืชผักสมุนไพรในครัวเรือนในการดำรงชีวิต รุ่นพ่อแม่ ไปทำงานต่างแดน ปู่ย่าตายาย เลี้ยงหลานๆ ที่บ้านประชาชนในหมู่บ้านมีความต้องการรู้จักประโยชน์ในสิ่งที่ตนเองทำ ตนเองใช้ เช่น พืชสมุนไพร เห็ดป่า และนำวัตถุดิบต่างๆ เหล่านี้มาแปรรูปเพื่อเก็บไว้ใช้บริโภคนอกฤดูกาล หรือเพื่อำนวยความสะดวกในการใช้และลดการใช้สารเคมีในการปลูกพืช หรือปรุงอาหาร เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองและครอบครัวให้ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ และเป็นชุมชนแลกเปลี่ยน มีความสุข

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

- อนุกรมวิธานพืช
- อนุกรมวิธานเห็ด
- การทำปุ๋ยชีวภาพ
- การทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร เช่น ลูกประคบ ยาหม่อง น้ำมันสารพัดประโยชน์ ยาส้ม เป็นต้น
- การทำผงปรุงรสจากพืชสมุนไพร
- การทำข้าวเกรียบสาหร่าย, ข้าวเกรียบเห็ด, แหนมเห็ด, ซาลาเปาเห็ด, ข้าวฮาง, การทำน้ำดื่มสมุนไพร เป็นต้น
นวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงการ
ขับเคลื่อนกิจกรรมโดยการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้รู้ในท้องถิ่น ประชาชน อาจารย์ นักศึกษา ครู และนักเรียน

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อพัฒนาชุมชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยการนำองค์ความรู้ที่หลากหลายใน สถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และจัดกิจกรรมโดยการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้รู้ในท้องถิ่น ประชาชน อาจารย์ นักศึกษา ครู นักเรียน มาบูรณาการในการแก้พัฒนาคุณภาพชีวิตให้ 2. เพื่อจัดทำแหล่งเรียนรู้ท้องถิ่น และจัดทำฐานข้อมูลออนล์ด้านพืชสมุนไพร และเห็ดป่ากินได้ วัดอัมพวันม่วงน้อย จังหวัดกาฬสินธุ์ เพื่อให้บริการแก่ชุมชนและสาธารณชนทั่วไป 3. เพื่อนำองค์ความรู้ เกี่ยวกับ อนุกรมวิธานพืช อนุกรมวิธานเห็ด และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร เช่น ลูกประคบ ยาหม่องสมุนไพร น้ำมันสารพัดประโยชน์ ยาส้ม เป็นต้น การทำผงปรุงรสจากพืชสมุนไพร การทำข้าวเกรียบสาหร่าย, ข้าวเกรียบเห็ด, แหนมเห็ด, ซาลาเปาเห็ด, ข้าวฮาง, การทำน้ำดื่มสมุนไพร เป็นต้น มาใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมให้ชุมชนร่วมกับนักเรียน นักศึกษา ผลิตเพื่อบริโภคเอง หรือจำหน่ายเพื่อสร้างรายได้ให้กับครัวเรือน 4. เพื่อให้นักเรียนและนักศึกษา ได้ร่วมกันทำงานการศึกษา วางแผนการสำรวจ ทดลอง จัดกระทำข้อมูล และนำเสนอผลการศึกษา โดยใช้เทคโนโลยีกับชุมชน ทำให้ได้กระบวนการได้มาซึ่งองค์ความรู้โดยวิธีการสำรวจ ค้นคว้า และกระบวนการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ ส่งผลให้พัฒนาทักษะกระบวนการคิด และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 5. เพื่อให้นักศึกษาได้ประยุกต์องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานจริง มีความสามารถในการค้นคว้า คิด วิเคราะห์ ประมวลผล มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถออกแบบระบบงาน จนสามารถทำการศึกษาและวิจัยทางวิทยาศาสตร์ได้ และสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคม และมีจิตสาธารณะ รวมทั้งมีความใฝ่รู้อันจะก่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต

 

0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
นักศึกษา 8
นักเรียนหรือเยาวชน 20
ประชาชน/ครู/ผู้รู้ท้องถิ่น 22

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 สร้างความตระหนัก สำรวจและการปลูกพืชสมุนไพร

ชื่อกิจกรรม
สร้างความตระหนัก สำรวจและการปลูกพืชสมุนไพร
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    1. ประชุมเพื่อสร้างความตระหนัก
    2. ขออาสาสมัครร่วมกิจกรรมการปลูกพืชสมุนไพร
    3. สำรวจสมุนไพรในป่าวัดอัมพวัน เพื่อจัดทำฐานข้อมูลพืชสมุนไพร
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    16 มีนาคม 2563 ถึง
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    1.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของพืชสมุนไพร
    2. ประชาชน/นักเรียน ในพื้นที่ จำนวน 20 หลังคาเรือน ปลูกพืชสมุนไพรไว้ใช้ประโยชน์
    3. นักเรียนและนักศึกษา ประชาชน ทำการสำรวจพืชสมุนไพรในบริเวณวัดอัมพวันม่วงน้อย มีอะไรบ้าง ใช้ประโยชน์อะไร และจำแนกพืช นำเสนอข้อมูลให้กับชุมชน
    4. จัดอนุกรมวิธานพืช ตรวจสอบความถูกต้อง จัดทำฐานข้อมูลออนไลน์ และติดป้ายพืช
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    วัดอัมพวันม่วงน้อย
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    รวมค่าใช้จ่าย 0

    กิจกรรมที่ 2 การทำและใช้ปุ๋ยชีวภาพ

    ชื่อกิจกรรม
    การทำและใช้ปุ๋ยชีวภาพ
    วัตถุประสงค์
      รายละเอียดกิจกรรม
      1. ให้ความรู้
      2. ขออาสาสมัครบ้านร่วมการทำปุ๋ยชีวภาพจำนวน 30 หลังคาเรือน
      ระยะเวลาดำเนินงาน
      31 มีนาคม 2563 ถึง
      ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
      1.ชาวบ้าน จำนวน 20 หลังคาเรือน และ 1ชุมชน ทำปุ๋ยชีวภาพสำหรับใช้บำรุงต้นไม้ โดยความร่วมมือของนักเรียนและนักศึกษา
      2. นักเรียน นักศึกษา ศึกษาประสิทธิภาพของการใช้ปุ๋ยชีวภาพในการปลูกพืชผักสมุนไพร
      ทรัพยากรอื่น ๆ
      ภาคีร่วมสนับสนุน
      คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
      วัดอัมพวันม่วงน้อย
      รายละเอียดงบประมาณ
      ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
      รวมค่าใช้จ่าย 0

      กิจกรรมที่ 3 รียนรู้และผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพร ได้แก่ ลูกประคบ ยาหม่องสมุนไพร น้ำมันสารพัดประโยชน์ ยาส้ม เป็นต้น

      ชื่อกิจกรรม
      รียนรู้และผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพร ได้แก่ ลูกประคบ ยาหม่องสมุนไพร น้ำมันสารพัดประโยชน์ ยาส้ม เป็นต้น
      วัตถุประสงค์
        รายละเอียดกิจกรรม
        1. ให้ความรู้ประโยชน์และวิธีการแปรรูปสมุนไพร
        2. รวบรวมพืชผักและผลิตผงปรุงรส ครั้งที่ 1
        3. ผลิตผงปรุงรส ครั้งที่ 2
        ระยะเวลาดำเนินงาน
        5 เมษายน 2563 ถึง
        ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
        1. ชาวบ้าน ครู นักเรียนและนักศึกษา มีความรู้เกี่ยวกับประโยชน์และวิธีการแปรรูปสมุนไพร
        2. ชาวบ้าน ครู นักเรียนและนักศึกษา ร่วมกันเตรียมสมุนไพรและทำการแปรรูปสมุนไพร
        ทรัพยากรอื่น ๆ
        ภาคีร่วมสนับสนุน
        โรงเรียนบ้านหนองม่วง, วัดอัมพวันม่วงน้อย
        รายละเอียดงบประมาณ
        ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
        รวมค่าใช้จ่าย 0

        กิจกรรมที่ 4 สำรวจเห็ดป่ากินได้

        ชื่อกิจกรรม
        สำรวจเห็ดป่ากินได้
        วัตถุประสงค์
          รายละเอียดกิจกรรม
          1. สำรวจเห็ดกินได้ในป่าวัดอัมพวัน เพื่อจัดทำฐานข้อมูลเห็ดกินได้วัดอัมพวันม่วงน้อย
          2. จัดอนุกรมวิธานเห็ดกินได้ ตรวจสอบความถูกต้อง จัดทำฐานข้อมูลออนไลน์
          ระยะเวลาดำเนินงาน
          29 เมษายน 2563 ถึง
          ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
          ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของเห็ดป่ากินได้
          2. ประชาชน นักเรียนและนักศึกษา ทำการสำรวจเห็ดป่ากินได้ในบริเวณวัดอัมพวันม่วงน้อย มีอะไรบ้าง ใช้ประโยชน์อะไร
          4. จัดทำอนุกรมวิธานเห็ดกินได้วัดอัมพวันม่วงน้อย ตรวจสอบความถูกต้อง จัดทำฐานข้อมูลออนไลน์
          ทรัพยากรอื่น ๆ
          ภาคีร่วมสนับสนุน
          วัดอัมพวันม่วงน้อย
          รายละเอียดงบประมาณ
          ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
          รวมค่าใช้จ่าย 0

          กิจกรรมที่ 5 การแปรรูปเห็ด/อาหารสุขภาพ

          ชื่อกิจกรรม
          การแปรรูปเห็ด/อาหารสุขภาพ
          วัตถุประสงค์
            รายละเอียดกิจกรรม
            วันที่ 1 การทำข้าวเกรียบสาหร่าย, การทำข้าวเกรียบเห็ด
            วันที่ 2 การทำข้าวฮาง/การทำผงปรุงรสสมุนไพร
            วันที่ 3 การทำซาลาเปาเห็ด/การทำสังขยาจากเห็ด/ฟักทอง
            1. ให้ความรู้
            2. สำรวจความต้องการของชุนและความพร้อมของวัตถุดิบในชุมชนในการทำอาหารแปรรูปเห็ด/อาหารสุขภาพ
            3.ฝึกปฏิบัติการแปรรูปอาหาร
            ระยะเวลาดำเนินงาน
            16 พ.ค. 2563 ถึง
            ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
            1.สูงวัย ผู้ใหญ่ เยาวชน นักเรียนและนักศึกษาร่วมกันฝึกปฏิบัติการแปรรูปอาหาร ประเภทอาหาร ของขบเคี้ยว และเครื่องดื่มสมุนไพร
            2. ร้อยละ 20 ของชาวบ้าน สามารถแปรรูปอาหาร ไม่น้อยกว่า 5 รายการ เชิงการค้าได้
            ทรัพยากรอื่น ๆ
            ภาคีร่วมสนับสนุน
            คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
            รายละเอียดงบประมาณ
            ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
            รวมค่าใช้จ่าย 0

            กิจกรรมที่ 6 การวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์

            ชื่อกิจกรรม
            การวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์
            วัตถุประสงค์
              รายละเอียดกิจกรรม
              1. นักศึกษาแบ่งกลุ่ม จัดทำและเสนอเค้าโครงการวิจัย (วางแผนการทดลอง)
              2. นักศึกษาแต่ละกลุ่มเก็บตัวอย่าง เช่น อาหารแปรรูป ดิน เห็ด ตามที่กำหนด
              3. นำตัวอย่างไปวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ที่ห้องปฏิบัติการ ตามพารามิเตอร์ที่กำหนด เช่น อนุกรมวิธานพืชสมุนไพรและเห็ดป่ากินได้ คุณค่าทางโภชนาการของอาหารแปรรูป สมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน เป็นต้น
              ระยะเวลาดำเนินงาน
              22 พ.ค. 2563 ถึง
              ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
              1. ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ เช่น อนุกรมวิธานพืชสมุนไพรและเห็ดป่ากินได้ คุณค่าทางโภชนาการของอาหารแปรรูป สมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน เป็นต้น
              2. รายงานวิจัย จำนวน 4 เรื่อง
              ทความวิจัย จำนวน 4 เรื่อง เพื่อเผยแพร่ในการนำเสนอในที่ประชุมวิชาการระดับชาติ หรือตีพิมพ์เผยแพร่
              ทรัพยากรอื่น ๆ
              เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์
              ภาคีร่วมสนับสนุน
              คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
              รายละเอียดงบประมาณ
              ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
              รวมค่าใช้จ่าย 0

              กิจกรรมที่ 7 ติดตามและนำเสนอผลการวิจัย

              ชื่อกิจกรรม
              ติดตามและนำเสนอผลการวิจัย
              วัตถุประสงค์
                รายละเอียดกิจกรรม
                ระยะเวลาดำเนินงาน
                16 กรกฎาคม 2563 ถึง
                ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
                รายงานสรุปผลการดำเนินงาน
                บทความวิจัย จำนวน 1 เรื่อง เพื่อเผยแพร่ในการนำเสนอในที่ประชุมวิชาการระดับชาติ หรือตีพิมพ์เผยแพร่
                ทรัพยากรอื่น ๆ
                ภาคีร่วมสนับสนุน
                วัดอัมพวันม่วงน้อย, องค์การบริหารส่วนตำบลลำคลอง
                รายละเอียดงบประมาณ
                ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
                ค่าตอบแทนวิทยากร

                1.วิทยากร (2 คน x 600 บาท x 6ซม.xวัน)

                1 คน 7,200 11 79,200
                ค่าตอบแทนวิทยากร

                -ผู้ช่วยวิทยากร 2 คน*300xวัน

                1 คน 3,600 12 43,200
                ค่าอาหาร

                ค่าอาหาร 100 บาท* 55 คน

                1 คน 2,750 11 30,250
                ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

                ค่าเดินทางวิทยากร+ผู้ช่วยวิทยากร (4 คน x 480 บาท)

                1 คน 1,920 6 11,520
                ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

                ค่าเดินทางนักศึกษา (8 คน x 240 บาท)

                1 คน 3,840 6 23,040
                ค่าถ่ายเอกสาร

                ค่าถ่ายเอกสาร และสิ่งพิมพ์ (50 ชุด)

                1 คน 3,000 6 18,000
                ค่าตอบแทนวิทยากร

                ค่าเช่าห้องประชุม ( 1000 บาท/วัน)

                1 คน 2,200 5 11,000
                ค่าวัสดุสำนักงาน

                ค่าวัสดุสำนักงาน

                1 คน 600 5 3,000
                ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

                ค่าวัสดุโครงการ

                1 คน 10,000 6 60,000
                อื่น ๆ

                ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์

                1 คน 62,290 1 62,290
                อื่น ๆ

                ค่าทำฐานข้อมูลออนไลน์

                1 คน 5,000 3 15,000
                อื่น ๆ

                ค่าพิมพ์/จัดทำเอกสาร

                1 คน 3,000 1 3,000
                ค่าพาหนะเดินทาง - อื่น ๆ

                ค่าทำเล่มรายงานวิจัยนักศึกษา

                1 คน 20,000 1 20,000
                อื่น ๆ

                ค่าทำรายงานสรุป

                1 คน 10,000 1 10,000
                อื่น ๆ

                มหาวิทยาลัย ร้อยละ 10

                1 คน 50,000 1 50,000
                อื่น ๆ

                ค่าใช้สอย

                1 คน 5,500 11 60,500
                รวมค่าใช้จ่าย 500,000

                รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

                ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
                ค่าใช้จ่าย (บาท) 133,400.00 102,810.00 63,000.00 200,790.00 500,000.00
                เปอร์เซ็นต์ (%) 26.68% 20.56% 12.60% 40.16% 100.00%

                11. งบประมาณ

                500,000.00บาท

                12. การติดตามประเมินผล

                ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
                ผลผลิต (Output) ระบุผลผลิตต่อชุมชน 1. 603120020107นางสาวจุฑามาศ เลิศศรีดา สาขาวิชา วท.บ.ชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
                2. 603120020112นางสาวนนธิญา อรรคศรี สาขาวิชา วท.บ.ชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
                3. 623120020109 นางสาวอารียา ทองศรี สาขาวิชา วท.บ.ชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
                4. 613120020133นางสาวพรวิภา พันเพ็ชร สาขาวิชา วท.บ.ชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
                5. 6034160125นางสาวอิศราพร ไชยศรีสุทธิ์ สาขาวิชา ค.บ.ชีววิทยา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
                6. ์ 603410060111นางสาวพิมนพา เวฒุวนารักษ์ สาขาวิชา ค.บ.ชีววิทยา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
                7. 613410050119นายธนพล พรหมคนซื่อสาขาวิชาเคมี คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
                8. 613410050127 นายภาณุวิชญ์ โนบรรเทา สาขาวิชาเคมี คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
                ผลลัพธ์ (Outcome) ระบุผลผลิตต่อชุมชน 1. 603120020107นางสาวจุฑามาศ เลิศศรีดา สาขาวิชา วท.บ.ชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
                2. 603120020112นางสาวนนธิญา อรรคศรี สาขาวิชา วท.บ.ชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
                3. 623120020109 นางสาวอารียา ทองศรี สาขาวิชา วท.บ.ชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
                4. 613120020133นางสาวพรวิภา พันเพ็ชร สาขาวิชา วท.บ.ชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
                5. 6034160125นางสาวอิศราพร ไชยศรีสุทธิ์ สาขาวิชา ค.บ.ชีววิทยา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
                6. ์ 603410060111นางสาวพิมนพา เวฒุวนารักษ์ สาขาวิชา ค.บ.ชีววิทยา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
                7. 613410050119นายธนพล พรหมคนซื่อสาขาวิชาเคมี คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
                8. 613410050127 นายภาณุวิชญ์ โนบรรเทา สาขาวิชาเคมี คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
                ผลกระทบ (Impact) ระบุผลผลิตต่อชุมชน
                นำเข้าสู่ระบบโดย yuwadee yuwadee เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 14:27 น.