โครงการส่งเสริมกระบวนการผลิตและการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน บ้านป่าสักน้อย ตำบลเชิงดอย อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่

แบบเสนอโครงการ
โครงการส่งเสริมกระบวนการผลิตและการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน บ้านป่าสักน้อย ตำบลเชิงดอย อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่

1. ชื่อโครงการ

โครงการส่งเสริมกระบวนการผลิตและการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน บ้านป่าสักน้อย ตำบลเชิงดอย อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมวิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ มทร.ล้านนา เชียงใหม่-บ้านป่าสักน้อยนางสาวโบว์ ถิ่นโพธิ์วงศ์98 หมู่ 8 วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตำบลป่าป้อง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่bowvy_1@hotmail.com, bowtinpovong@rmutl.ac.thนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ และสาขาวิชาการผลิตและนวัตกรรมอาหาร และคณาจารย์วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
เชียงใหม่ ดอยสะเก็ด เชิงดอย ชนบท

3. รายละเอียดชุมชน

วิสาหกิจชุมชนกลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตรบ้านป่าสักน้อย ตำบลเชิงดอย อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ มีที่ตั้งรวมทั้งลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืชทางการเกษตรและวิถีการดำเนินชีวิตของประชากรในหมู่บ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางเกษตรกรรมวิสาหกิจชุมชนกลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตรบ้านป่าสักน้อย ได้เริ่มการเพาะปลูกและจัดทำผลิตภัณฑ์จากผักเชียงดา ตั้งแต่ปี 2559 โดยที่ปัจจุบันมีผลิตภัณฑ์ที่มาจากผักเชียงดา อยู่ 2 ชนิด ได้แก่ ชาผงและเค้กจากผักเชียงดาเพื่อเป็นการส่งเสริมการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากผักเชียงดาของของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตรบ้านป่าสักน้อย วิสาหกิจชุมชนฯ ควรจะต้องมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายมากขึ้น เพื่อกระจายความเสี่ยงและเพิ่มช่องทางการสร้างรายได้ให้กับประชากรในชุมชน1. ความยั่งยืนในอาชีพและรายได้
2. องค์ความรู้ในการแปรรูปผลิตภัณฑ์เพื่อต่อยอดเป็นสินค้าสำหรับกลุ่มวิสาหกิจ

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1. เทคโนโลยีกระบวนการผลิตที่ทันสมัย
2. การควบคุมคุณภาพและมาตรฐานการผลิต

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานจริง ผ่านการคิด วิเคราะห์ ประมวลผล อย่างเป็นระบบ

จำนวนนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่เข้าร่วมโครงการอย่างน้อย 10 คน

0.00
2 เพื่อปลูกฝังนักศึกษาให้มีความฉลาดในการปรับตัวให้เข้ากับสังคมที่หลากหลายและเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ มีสำนึกในความเป็นธรรม และมีจิตสาธารณะ รวมทั้งมีความใฝ่รู้อันจะก่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต

ร้อยละ 80 นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการผ่านการประเมินพฤติกรรมด้านจิตพิสัยจากตัวแทนชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ

0.00
3 เพื่อนำองค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่มีอยู่ในสถาบันอุดมศึกษา มาใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองและสร้างรายได้แบบยั่งยืน

มีองค์ความรู้/นวัตกรรมเกิดขึ้นในโครงการอย่างน้อย 2 ด้าน

0.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
นักศึกษาระดับปริญญาตรี 10
อาจารย์วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ 5

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การพัฒนากระบวนการผลิตผลผลิตทางการเกษตร

ชื่อกิจกรรม
การพัฒนากระบวนการผลิตผลผลิตทางการเกษตร
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานจริง ผ่านการคิด วิเคราะห์ ประมวลผล อย่างเป็นระบบ
  2. เพื่อปลูกฝังนักศึกษาให้มีความฉลาดในการปรับตัวให้เข้ากับสังคมที่หลากหลายและเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ มีสำนึกในความเป็นธรรม และมีจิตสาธารณะ รวมทั้งมีความใฝ่รู้อันจะก่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
  3. เพื่อนำองค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่มีอยู่ในสถาบันอุดมศึกษา มาใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองและสร้างรายได้แบบยั่งยืน
รายละเอียดกิจกรรม
ค่าตอบแทนวิทยากร 5000 บาท
ค่าวัสดุ อุปกรณ์ 90,000 บาท
ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง 5,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พ.ค. 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต
1.ได้องค์ความรู้และนวัตกรรมเกี่ยวกับการจัดการกระบวนการผลิตผลผลิตทางการเกษตรให้แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชน
2. เกิดการทำงานร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัยกับชุมชนอย่างแท้จริง
ผลลัพธ์
1. กลุ่มวิสาหกิจชุมชน สามารถนำองค์ความรู้หรือนวัตกรรมไปปรับใช้สำหรับชุมชนเพื่อให้เกิดรายได้
2. สามารถเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตรให้กับชุมชน
ทรัพยากรอื่น ๆ
-
ภาคีร่วมสนับสนุน
-
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 2,500 1 5,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 1 ครั้ง 18,000 5 90,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 1 เที่ยว 250 20 5,000
รวมค่าใช้จ่าย 100,000

กิจกรรมที่ 2 การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากผลผลิตทางการเกษตร

ชื่อกิจกรรม
การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากผลผลิตทางการเกษตร
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานจริง ผ่านการคิด วิเคราะห์ ประมวลผล อย่างเป็นระบบ
  2. เพื่อปลูกฝังนักศึกษาให้มีความฉลาดในการปรับตัวให้เข้ากับสังคมที่หลากหลายและเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ มีสำนึกในความเป็นธรรม และมีจิตสาธารณะ รวมทั้งมีความใฝ่รู้อันจะก่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
  3. เพื่อนำองค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่มีอยู่ในสถาบันอุดมศึกษา มาใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองและสร้างรายได้แบบยั่งยืน
รายละเอียดกิจกรรม
ค่าตอบแทนวิทยากร 5000 บาท
ค่าวัสดุ อุปกรณ์ 90,000 บาท
ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง 5,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พ.ค. 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต
1.ได้องค์ความรู้และนวัตกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ผลผลิตทางการเกษตรให้แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชน
2. เกิดการทำงานร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัยกับชุมชนอย่างแท้จริง
ผลลัพธ์
1. กลุ่มวิสาหกิจชุมชน สามารถนำองค์ความรู้หรือนวัตกรรมไปปรับใช้สำหรับชุมชนเพื่อให้เกิดรายได้
2. สามารถเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตรให้กับชุมชน
ทรัพยากรอื่น ๆ
-
ภาคีร่วมสนับสนุน
-
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 2,500 1 5,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 1 ครั้ง 18,000 5 90,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 1 เที่ยว 250 20 5,000
รวมค่าใช้จ่าย 100,000

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 200,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 10,000.00 10,000.00 180,000.00 200,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 5.00% 5.00% 90.00% 100.00%

11. งบประมาณ

200.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) ได้องค์ความรู้และนวัตกรรมเกี่ยวกับการจัดการกระบวนการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากผลผลิตทางการเกษตรให้แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชน นักศึกษาเกิดการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานจริง ผ่านการคิด วิเคราะห์ ประมวลผล อย่างเป็นระบบ
ผลลัพธ์ (Outcome) กลุ่มวิสาหกิจชุมชน สามารถนำองค์ความรู้หรือนวัตกรรมไปปรับใช้สำหรับชุมชนเพื่อให้เกิดรายได้ นักศึกษารู้แนวทางในการปรับตัวให้เข้ากับชุมชน และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการทำงานร่วมกับชุมชนอื่นๆได้
ผลกระทบ (Impact) ชุมชนมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน นักศึกษาสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคมที่หลากหลายและเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ มีสำนึกในความเป็นธรรม และมีจิตสาธารณะ และเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
นำเข้าสู่ระบบโดย kwangtong kwangtong เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 14:24 น.