โครงการเกษตรอินทรีย์ วิถีชุมชนบ้านโคกเจริญ ต.นามะเขือ อ.สหัสขันธ์ จ.กาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
โครงการเกษตรอินทรีย์ วิถีชุมชนบ้านโคกเจริญ ต.นามะเขือ อ.สหัสขันธ์ จ.กาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

โครงการเกษตรอินทรีย์ วิถีชุมชนบ้านโคกเจริญ ต.นามะเขือ อ.สหัสขันธ์ จ.กาฬสินธุ์กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามศูนย์วิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามบ้านโคกเจริญหมูที่ 2ต.นามะเขืออ.สหัสขันธ์จ.กาฬสินธุ์ผศ.เชิดชัยสมบัติโยธา80 ถนนนครสวรรค์ต.ตลาดอ.เมืองจ.มหาสารคามการติดต่อ csombatyotha@gmail.com โทร 043-742620 เบอร์มือถือ 086-6352813ผศ.ดร.วุฒิกรสายแก้ว สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
ผศ.ดร.สมสงวนปัสสาโกสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
นางสาว สุกจิตต์ภูมิพระบุ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
อาจารย์อังสุมาก้านจักรสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
อาจารย์ชมภู่เหนือศรี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ
1.นางสาวพลอยไพลินนิลเนตร เลขประจำตัวประชาชน 1451122250098 สาขาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
2.นางสาวกุลธิดาอุ่นอินทร์ เลขประจำตัวประชาชน 1459900632219 สาขาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
3.นางสาวธัญญลักษณ์ คำหงษ์สา เลขประจำตัวประชาชน 1400900272478 สาขาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
ุ4. นางสาวศิรินดา ใจกล้าเลขประจำตัวประชาชน 1400900279791 สาขาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
5.นางสาวปรียานุชทบแก่น เลขประจำตัวประชาชน 1402901668799 สาขาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
6.นางสาวสรวีย์นันตะโภคเลขประจำตัวประชาชน 1110500074132 สาขาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
7.นายรัฐกรเปี้ยทา เลขประจำตัวประชาชน 1409800390809 สาขารัฐศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
8.นายธนภัทรยศดาเลขประจำตัวประชาชน 1449900522138 สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
9.นางสาวจิตราวรรณ ลินมาเลขประจำตัวประชาชน 1469900449261 สาขานิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
10.นายอติวิชญ์ อินตะนัย เลขประจำตัวประชาชน 1409901626891 สาขาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ สหัสขันธ์ นามะเขือ
กาฬสินธุ์ สหัสขันธ์ นามะเขือ ชนบท

3. รายละเอียดชุมชน

สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ดอนและที่ราบลุ่ม ดินเป็นดินร่วนเกือบครึ่งหนึ่งของพื้นที่ทั้งหมด เหมาะสำหรับทำการเกษตรกรรม
ตำบลนามะเขือ จัดตั้งขึ้นเป็นตำบลเมื่อปี พ.ศ.2509 มีจำนวนหมู่บ้าน 11 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ 1 บ้านนามะเขือ หมู่ 2 บ้านโคกเจริญ หมู่ 3 บ้านโป่งเชือก หมู่ 4 บ้านโพนสวาง หมู่ 5 บ้านโพนคำพุทธคีรี หมู่ 6 บ้านคำน้ำแซบ หมู่ 7 บ้านคำดอกซ้อน หมู่ 8 บ้านโนนศรทอง หมู่ 9 บ้านดอนจันทร์ หมู่ 10 บ้านโนนอุดม หมู่ 11 บ้านไทรทอง
จำนวนประชากรใน ตำบลนามะเขือจำนวนหลังคาเรือน : 1,294 หลังคาเรือนจำนวนประชากร : 6,836 คน
ชุมชนในเขต ต.นามะเขือ ส่วนมากทำการเกษตรกรรม ประกอบด้วย การทำนาการปลูกอ้อยการปลูกมันสำปะหลัง
หมู่บ้านโคกเจริญ หมู่ที่ 2ประชาชนมีที่ดินเป็นของตนเอง มีอาชีพหลักคือการทำนา การทำไร่อ้อย การปลูกมันสำปะหลัง การเลี้ยงสัตว์ และการรับจ้างทั่วไป
ชุมชนบ้านโคกเจริญมีการทำการเกษตรกรรมเป็นอาชีพหลัก มีการใช้ปุ๋ยเคมีในการเษตรกรรมทุกชนิดและในขณะเดียวกันมีการใช้ยาปราบศัตรูพืชอย่างแพร่หลาย การส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ การทำปุ๋ยหมักบูกาฉิ การทำน้ำจุลินทรีย์สังเคาะห์แสง การทำเห็ดอินทรีย์ และการทำการปลูกกกกลมในพ้นที่ชุมชน จึงเป็นการส่งเสริมให้มีการใช้ปุ๋ยหมักอินทรีย์ลดารใช้ปุ๋ยเคมีในการเกษตรกรรม การส่งเสริมการทำน้ำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงเพื่อลดการใช้สารเคมีปราบศัตรูพืชทั้งเป็นการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรให้แก่เกษตรกร การส่งเสริมการเพาะเลี้ยงเห็ดเป็นการสร้างอาชีพในช่วงระยะเวลาการว่างงานในชุมชนทั้งเป็นอาชีพเสริม และสามารถสร้างรายได้ให้แก่กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ การปลูกกกกลมซึ่งเป็นพืชที่ปลูกง่าย โตเร็วและให้ผลผลิตต่อไร่สูงตัดต้นเก็บเกี่ยวได้ตลอดปี การดูแลรักษาง่าย สามารถทำเป็นอาชีพเสริมสำหรับประชาชนในชุมชนที่สนใจและสร้างรายได้ให้แก่ครอบครัวได้ตลอดปีประชาชนในหมู่บ้านบางส่วนต้องการวิถีเกษตรอินทรีย์ เพื่อนำมาทดแทนการใช้สารเคมี ยาปราบศัตรูพืชและปุ๋ยเคมีและการอบรมส่งเสริมด้านการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ในพื้นที่เพื่อเป็นการเพิ่มผลผลิตในแปลงเกษตรของตนเองตลอดจนต้องการอาชีพเสริมเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การทำปุ๋ยอินทรีย์จากแกลบหรือการทำปุ๋ยอินทรีย์บูกาชิ การทำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเห็ดสำหรับชุมชนการปลูกกกกลมเพิ่มรายได้ในครัวเรือน การทำบัญชีรายรับรายจ่ายในการซื้อขายเห็ดและการแปรรูปพัฒนาผลิตภัณฑ์สำหรับกกกลม
ขับเคลื่อนกิจกรรมโดยการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้รู้ในท้องถิ่น ประชาชน อาจารย์ นักศึกษา ครูและนักเรียน

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมการทำปุ๋ยอินทรีย์จากแกลบหรือการทำปุ๋ยอินทรีย์บูกาชิจากวัสดุทางการเกษตร

มีผู้เข้าร่วมโครงการ 80 คน
ผู้สนใจ จำนวน 38 คน

1.00
2 เพื่อส่งเสริมการทำน้ำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงไว้ใช้ในพื้นที่เกษตรกรรม

มีผู้เข้าร่วมโครงการ 80 คน และมีผู้สนใจ จำนวน 38 คน

1.00
3 เพื่อส่งเสริมการผลิตเห็ดอินทรีย์ในชุมชน

มีผู้เข้าร่วมโครงการ 40 คน และมีผู้สนใน จำนวน 30 คน ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำผลผลิตมารับประท่านในครอบครัวและสามารถขายได้

1.00
4 เพื่อส่งเสริมการปลูกกกกลมในพื้นที่ชุมชน

มึผู้เข้าร่วมโครงการ 40 คน และมีผู้สนใจจำนวน 30 คน และผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำผลผลิตมาใช้ภายในครอบครัว และสามารถแปรรูปผลิตภัณฑ์ทอเสื่อขายได้

0.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
มีผู้สนใจในหมู่บ้านและหมู่บ้านใกล้เคียง 136
มีผู้เข้าร่วมฝึกอบรมโครงการในหมู่บ้านโคกเจริญ 240

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การอบรมเชิงปฏิบัติการการผลิตปุ๋ยหมักบูกาชิ

ชื่อกิจกรรม
การอบรมเชิงปฏิบัติการการผลิตปุ๋ยหมักบูกาชิ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อส่งเสริมการทำปุ๋ยอินทรีย์จากแกลบหรือการทำปุ๋ยอินทรีย์บูกาชิจากวัสดุทางการเกษตร
รายละเอียดกิจกรรม
1.ประชุมเพื่อสมัครเข้าร่วมโครงการ เรื่องการอบรมเชิงปฏิบัติการการผลิตปุ๋ยหมักบูกาชิ
2.ผู้เข้าร่่วมโครงการ ประกอบด้วย ประชาชนในชุมชน 40 คน นักวิจัย6คนนักศึกษา 10 คน
3.ผู้นำชุมชน 4 คน
4. ผู้สนใจ 10 คนรวมทั้งสิ้น70 คน
ระยะเวลาดำเนินงาน
20 มีนาคม 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการทำเกษตรอินทรีย์และการทำปุ๋ยหมักบูกาชิ
2. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำปุ่ยจากการอบรมไปใช้ประโยชน์ได้
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
เทศบาลตำบลนามะเขือ และผู้ใหญ่บ้านโคกเจริญ หมู่ที่ 2 นายบุญใจ ผลรุ่ง เบอร์โทร 087-2356599
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คนx 600 บาทx 6 ชั่วโมง x 1 วัน

3 คน 3,600 1 10,800
ค่าอาหาร

ค่าอาหารผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด 70คน X 150 บาท x 1 วัน

70 คน 150 1 10,500
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชิ้น 500 1 500
ค่าวัสดุสำนักงาน

ค่าวัสดุสำนักงาน ประกอบด้วย กระเป๋า ปากกา ดินสอ ยางลบ กระดาษ สีเมจิก

70 ชุด 200 1 14,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าวัสดุในการฝึกอบรม ประกอบด้วย ค่าแกลบ ค่ารำข้าว ค่าข้าวละเอียด(ปลายข้าว) ค่าถังบรรจุน้ำ ค่าEM ค่ากากนำ้ตาล ค่าภาชนะบรรจุปุ๋ยบูกาชิ ค่าจอบ ค่าหัวเชื้อ รวมทั้งสิ้น 50 ชุด x 300 บาท

50 ชุด 300 1 15,000
ค่าถ่ายเอกสาร 70 ชุด 50 1 3,500
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า 1 ครั้ง 3,000 3 9,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 3 คน 2,000 1 6,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนผู้ช่วยวิทยากร 10 คน X 300 บาท x 1 วัน

10 คน 300 1 3,000
รวมค่าใช้จ่าย 72,300

กิจกรรมที่ 2 การอบรมเชิงปฏิบัติการการทำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง

ชื่อกิจกรรม
การอบรมเชิงปฏิบัติการการทำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อส่งเสริมการทำน้ำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงไว้ใช้ในพื้นที่เกษตรกรรม
รายละเอียดกิจกรรม
1.ประชุมชุมชนเพื่อให้ประชาชนที่สนใจสมัครเข้าร่วมโครงการ
2.การอบรมเชิงปฏิบัติการการทำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง
3.ผู้เข้าร่วมโครงการ 40คน วิทยากร 6 คน นักศึกษา 10 คน
กรรมการหมู่บ้าน 4 คน ผู้สนใจ 10 คน รวมทั้งสิ้น 70 คน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำการอบรมเชิงปฏิบัติการจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงไปใช้ในพื้นที่ตนเองได้
2. ผุ้เข้าร่วมโครงการจำนวน 40 คน สามารถทำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงไว้ใช้เองได้
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
เทศบาลตำบลนามะเขือ และกลุ่มผู้นำชุมชนบ้านโคกเจริญ นายสมศักดิ์ ทองจรัส เบอร์โทร 062-1042973
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน x 600 บาท x 6 ชั่วโมง x 1 วัน

3 คน 3,600 1 10,800
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชิ้น 500 1 500
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนผู้ช่วยวิทยากร 10 คน X 240 บาท x 1 วัน

10 คน 240 1 2,400
ค่าอาหาร 70 คน 150 1 10,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ ประกอบด้วย ค่าจาน ค่าช้อน ค่ากะละมัง ค่านำ้ปลา ค่าไข่ไก่ ค่าหัวเชื้อนำ้จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง ค่าขวดพลาสติก ค่าผงชูรส ค่าสารเร่ง ค่าเครื่องดื่มชูกำลัง จำนวนทั้งสิ้น 50 ชุด x 250 บาท

50 ชุด 250 1 12,500
ค่าวัสดุสำนักงาน 70 คน 150 1 10,500
ค่าถ่ายเอกสาร 70 คน 50 1 3,500
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 3 คน 2,000 1 6,000
รวมค่าใช้จ่าย 56,700

กิจกรรมที่ 3 การอบรมเชิงปฏิบัติการการทำปุ๋ยหมักชีวภาพบูกาชิ ระยะที่ 2

ชื่อกิจกรรม
การอบรมเชิงปฏิบัติการการทำปุ๋ยหมักชีวภาพบูกาชิ ระยะที่ 2
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อส่งเสริมการทำปุ๋ยอินทรีย์จากแกลบหรือการทำปุ๋ยอินทรีย์บูกาชิจากวัสดุทางการเกษตร
รายละเอียดกิจกรรม
1. การประชุมโครงการสำหรับชุมชนหมู่บ้านที่สนใจ
2. การสมัครสมาชิกทั้งภายในและภายนอกชุมชน จำนวน 40 คน
3. นักวิจัย 6คนนักศึกษา 10 คน
4. กรรมการและผู้นำชุมชน 4 คน และผู้สนใจ 10 คนรวมทั้งสิ้น 70 คน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2563 ถึง 31 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. การส่งเสริมการทำปุ๋ยหมักมีผู้สนใจและเข้าร่วมโครงการ 40 คน
2. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำปุ๋ยหมักไปใช้ในพื้นที่ตนเองได้
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
เทศบาลตำบลนามะเขือและคณะกรรมการหมู่บ้านบ้านโคกเจริญ
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าวิทยากร 3 คน x 600 บาท X 6 ชั่วโมง X 1 วัน

3 คน 3,600 1 10,800
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชิ้น 500 1 500
ค่าอาหาร 70 คน 150 1 10,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าวัสดุในการฝึกอบรมประกอบด้วย ค่าแกลบ ค่ารำข้าว ค่าข้าวปลาย ค่าEM ค่ากากนำ้ตาล ค่าถุงใส่ปู่ย ค่าจอบ ค่าถังพลาสติก ค่าหัวเชื้อ 50 ชุด x 300 บาท

50 ชุด 300 1 15,000
ค่าวัสดุสำนักงาน 70 ชุด 200 1 14,000
ค่าถ่ายเอกสาร 70 คน 50 1 3,500
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 3 คน 2,000 1 6,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถตู้เช่า 1 เที่ยว 3,000 2 6,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนผู้ช่วยวิทยากร 10 คน X 300 บาท X 1 วัน

10 คน 300 1 3,000
รวมค่าใช้จ่าย 69,300

กิจกรรมที่ 4 การอบรมเชิงปฏิบัติการการทำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงระยะที่ 2

ชื่อกิจกรรม
การอบรมเชิงปฏิบัติการการทำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงระยะที่ 2
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อส่งเสริมการทำน้ำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงไว้ใช้ในพื้นที่เกษตรกรรม
รายละเอียดกิจกรรม
1. การประชุมปชุมชนทั้งในหมู่บ้านและหมู่บ้านใกล้เคียงที่สนใจเข้าร้วมโครงการ
2. ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 40 คน
3. นักวิจัย 6 คน นักศึกษา 10 คน คณะกรรมการหมู่บ้าน 4 คน และผู้สนใจ10 คน รวมทั้งสิ้น 70 คน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2563 ถึง 31 พ.ค. 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1. ผู้สนใจและตระหนักในการอบรมจำนวน 40 คน
2. ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถนำผลการอบรมไปใช้ในพื้นที่ตนเองได้
3. ผู้อบรมสามารถผลิตจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงเพื่อใช้เองได้
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
เทศบาลตำบลนามะเขือและคณะกรรมการหมู่บ้าน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน X 600 บาท X 6 ชั่วโมง X 1 วัน

3 คน 3,600 1 10,800
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชิ้น 500 1 500
ค่าอาหาร 70 คน 150 1 10,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 50 คน 250 1 12,500
ค่าวัสดุสำนักงาน 70 คน 150 1 10,500
ค่าถ่ายเอกสาร 70 คน 50 1 3,500
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนผู้ช่วยวิทยากร 10 คน x 300 บาท x 1 วัน

10 คน 300 1 3,000
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 3 คน 2,000 1 6,000
รวมค่าใช้จ่าย 57,300

กิจกรรมที่ 5 การประเมินผลโครงการและการทำรายงานฉบับสมบูรณ์

ชื่อกิจกรรม
การประเมินผลโครงการและการทำรายงานฉบับสมบูรณ์
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    1.การประเมินโครงการในแต่ละครัง รวมทั้งสิ้น 4 ครั้ง
    2. การสรุปผลโครงการ
    3. การทำรายงานฉบับสมบูรณ์
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 พ.ค. 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    1. มีการประเมินผลโครงการทั้ง 6 ครั้ง
    2. ได้รายงานโครงการฉบับบสมบูรณ์
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    แบบประเมินผลโครงการ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    ศูนย์วิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม สนับสนุนสถานที่ประชุมทำรายงาน
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าถ่ายเอกสาร 400 ชุด 50 1 20,000
    ค่าวัสดุสำนักงาน 4 ชุด 3,000 1 12,000
    ค่าตอบแทนวิทยากร 6 คน 600 2 7,200
    ค่าตอบแทนการประสานงาน 10 คน 300 3 9,000
    รวมค่าใช้จ่าย 48,200

    กิจกรรมที่ 6 การผลิตเห็ดอินทรีย์ วิถีปลอดภัยใส่ใจสิ่งแวดล้อม

    ชื่อกิจกรรม
    การผลิตเห็ดอินทรีย์ วิถีปลอดภัยใส่ใจสิ่งแวดล้อม
    วัตถุประสงค์
    1. เพื่อส่งเสริมการผลิตเห็ดอินทรีย์ในชุมชน
    รายละเอียดกิจกรรม
    วัตถุประสงค์
    1.เพื่อพัฒนาชุมชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยการนำองค์ความรู้ส่งเสริมให้มีการผลิตเห็ดอินทรีย์ในชุมชน เพิ่มรายได้ให้แก่ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ
    รายละเอียดกิจกรรม
    1. ประชุมเพื่อรับรู้และรับทราบโครงการ
    2.การขออาสาสมัครประชาชนในชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ
    3.การเตรียมสถานที่ในการจัดกิจกรรม ประกอบด้วย
    3.1 การเลือกพื้นที่ในชุมชนเพื่อใช้เป็นพื้นที่ปลูกเห็ดอินทรีย์ภายในชุมชน
    3.2 การปรับพื้นที่ให้เหมาะสมในการปลูกเห็ดอินทรีย์ในชุมชน
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 มีนาคม 2563 ถึง 31 พ.ค. 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ผลผลิต
    1. ประชาชนเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 40 คน ได้มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญในการผลิตเห็ดอินทรีย์
    2. ประชาชน ในพื้นที่ จำนวน 40 คน สามารถปลูกเห็ดอินทรีย์ เช่น เห็ดฟาง เห็ดนางฟ้า ไว้รับประทานในครอบครัวได้
    3. ประชาชนในพื้นที่ จำนวน 40 คน สามารถขายผลผลิตสามารถเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือนได้
    4. ประชาชนมีพื้นที่ในการปลูกเห็ดอย่างเป็นรูปธรรม
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    เทศบาลตำบลนามะเขือโดยชุมชนบ้านโคกเจริญสนับสนุนพื้นที่ปลูกเห็ด 2 ไร่
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าตอบแทนวิทยากร 6 คน x 600 บาท X 3 ชั่วโมง

    6 คน 1,800 1 10,800
    ค่าอาหาร 70 คน 100 2 14,000
    ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ชิ้น 1,000 1 1,000
    ค่าวัสดุสำนักงาน 70 ชุด 200 1 14,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 40 คน 1,000 1 40,000
    ค่าถ่ายเอกสาร 70 คน 50 1 3,500
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 3 คน 2,000 1 6,000
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าตอบแทนผู้ช่วยวิทยากร 10 คน X 300 บาท X 1 วัน

    10 คน 300 2 6,000
    รวมค่าใช้จ่าย 95,300

    กิจกรรมที่ 7 การปลูกกกกลมส่งเสริมรายได้ ขยายการสร้างงาน

    ชื่อกิจกรรม
    การปลูกกกกลมส่งเสริมรายได้ ขยายการสร้างงาน
    วัตถุประสงค์
    1. เพื่อส่งเสริมการปลูกกกกลมในพื้นที่ชุมชน
    รายละเอียดกิจกรรม
    1.การประชุมโครงการเพื่อให้ประชาชนภายในชุมชนรับทราบโครงการ
    2. การคัดเลือกอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการ
    3. การคัดเลือกพื้นที่ในการจัดกิจกรรม ประกอบด้วย
    3.1 การเลือกพื้นที่ภายในชุมชน เพื่อหาพื้นที่ในการปลูกกกกลมสำหรับชุมชน
    3.2 การปรับพื้นที่เพื่อให้สามารถปลูกกกกลมได้
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    1 มีนาคม 2563 ถึง 31 พ.ค. 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    ผลผลิต
    1. ประชาชนในพื้นที่เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 40 คน
    2. ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และตระหนักและยินดีเข้าร่วมโครงการ มีการปลูกกกกลมในพื้นที่ที่จัดเตรียมไว้ และสามารถนำกกกลมมาใช้ประโยชน์ในครัวเรือนได้
    3. ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการสามารถขายผลผลิตกกกลม เพิ่มรายได้ในครัวเรือน
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    เทศบาลตำบลนามะเขือ ชุมชนบ้านโคกเจริญสนับสนุนพื้นที่ในการปลูกกกกลม 3 ไร่
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าตอบแทนวิทยากร 5 คนX 600 บาทx 6ชั่วโมงx 1 วัน

    5 คน 600 6 18,000
    ค่าอาหาร

    ค่าอาหารผู้เข้าร่วมโครงการ 70 คนx150 บาท

    70 คน 150 1 10,500
    ค่าเช่ารถ

    ค่าเช่ารถไถปรับพื้นที่เพาะปลูกกกกลม

    1 ครั้ง 5,000 1 5,000
    ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

    ค่าวัสดุ ประกอบด้วย ต้นกล้ากกกลม 4,000 ต้น ราคาต้นละ 10 บาท ให้คนละ100 ต้น

    4,000 ชิ้น 10 1 40,000
    ค่าถ่ายเอกสาร

    ค่าถ่ายเอกสารโครงการ การปลูกกกกลมส่งเสริมรายได้ ขยายการสร้างงาน

    70 ชุด 25 2 3,500
    ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

    ค่าเดินทางรถยนต์ส่วนตัวเหมาจ่าย กม. ละ 4 บาท ไปและกลับ

    3 คน 1,000 1 3,000
    ค่าตอบแทนวิทยากร

    ค่าตอบแทนผู้ช่วยวิทยากร 10 คน x 300 บาท x 6 ชั่วโมง x 1 วัน

    10 คน 300 6 18,000
    อื่น ๆ

    อื่นๆ ค่าเช่าเครื่องสูบนำ้พร่อมนำ้มัน 1450 บาท X 2 วัน

    1 ครั้ง 1,450 2 2,900
    รวมค่าใช้จ่าย 100,900

    รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

    ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
    ค่าใช้จ่าย (บาท) 123,600.00 3,000.00 160,500.00 210,000.00 2,900.00 500,000.00
    เปอร์เซ็นต์ (%) 24.72% 0.60% 32.10% 42.00% 0.58% 100.00%

    11. งบประมาณ

    500,000.00บาท

    12. การติดตามประเมินผล

    ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
    ผลผลิต (Output) ชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ 40x2= 80 คน ได้ปุุ๋ยอินทรีย์ไปใช้ 8,000 กิโลกรัม หรือ 8 ตัน
    ผู้เข้าร่วมอบรมจำนวน 40 คนได้นำ้จุลินทรีย์สังเคราะห์แสงไปใช้คนละ 20 ลิตร หรือ รวมแล้ว 1,600 ลิตร
    ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 40 คน มีรายได้จากอาชีพเสริมโดยการขายเห็ดที่ผลิตได้ วันละ 100 - 300 บาทต่อวัน
    ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 40 คน มีอาชีพเสริมจากการปลูกกกกลมในพื้นที่ 3 ไร่
    นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการอบรมเชิงปฏิบัติการและสามารถ ทำการผลิตปุ๋ยหมักบูกาชิได้
    นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการอบรมเชิงปฏิบัติการและสามารถ ทำการผลิตนำ้จุลินทรีย์สังเคราะห์แสงได้
    นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการอบรมเชิงปฏิบัติการและสามารถทำปุ๋ยหมักบูกาฉิได้
    นักศึกษาสามารถต่อยอดโครงการวิจัยสำหรับชุมชนต่อไปได้
    ผลลัพธ์ (Outcome) ชุมชนมีองค์ความรู้ในการผลิตปุ๋ยหมักบูกาชิ ชุมชนสามารถผลิตปุ๋ยหมักบูกาชิเองได้
    ชุมชนมีองค์ความรู้ในการผลิตจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง ชุมชนสามารถจุลินทรียืสังเคราะห์แสงเองได้
    ชุมชนมีอาชีพเสริมในการทำเห็ดในชุมชน และอาชีพปลูกกกกลมนำมาทอเสื่อกกเพื่อใช้ในครัวเรือนและขายเพิ่มรายได้ให้ตนเองได้
    นักศึกษามีทักษะและกระบวนการในการอบรมเชิงปฏิบัติการในด้านการผลิตปุ๋ยหมักบูกาชิ
    นักศึกษามีทักษะและกระบวนการในการอบรมเชิงปฏิบัติการในด้านการทำนำ้จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง
    นักศึกษาสามารถทำวิจัยในการ ทำปุ๋ยหมักบุกาฉิสำหรับชุมชน จุลินทรีย์สังเคราะห์แสงสำหรับชุมชนได้
    นักศึกษาสามารถนำมาเทียบการเรียนในรายวิชาใดวิชาหนึ่ง ดังนี้ (1). รายวิชา1409903 วิชามลพิษและมหันตภัยโลกร้อน 3 หน่วยกิต (2).รายวิชา 2019417 วิชา พลังงานกับสิ่งแวดล้อม 3 หน่วยกิต
    ผลกระทบ (Impact) ชุมชนบ้านโคกเจริญได้เรียนรู้และตระหนักในการทำเกษตรอินทรีย์ มีอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ในครัวเรือน นักศึกษาสามารถถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ในด้านนี้ต่อไปได้
    นำเข้าสู่ระบบโดย cherdchai cherdchai เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 13:56 น.