การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการโรงสีข้าวชุมชนเชิงพาณิชย์ ตำบลสงเปลือย อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการโรงสีข้าวชุมชนเชิงพาณิชย์ ตำบลสงเปลือย อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการโรงสีข้าวชุมชนเชิงพาณิชย์ ตำบลสงเปลือย อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรมคณะบริหารศาสตร์สหกรณ์โรงสีข้าวชุมชน บ้านโชคชัยพัฒนา ตำบลสงเปลือย อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์นายพัฒนา พึ่งพันธุ์มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ (ในเมือง)62/1 ถนนเกษตรสมบูรณ์ ตำบลกาฬสินธุ์ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ 460001. นายวุฒิพงษ์ อาจวิชัย นักศึกษา สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร
เลขประจำตัวประชาชน 1490700047233 เบอร์โทรศัพท์ 08-7423-4215
2. นายดนัย น้อยคำตัน นักศึกษา สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร
เลขประจำตัวประชาชน 1469900358443 เบอร์โทรศัพท์ 06-2164-0901
3. นายกระวี ไสยวรรณ์ นักศึกษา สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร
เลขประจำตัวประชาชน1461000217757 เบอร์โทรศัพท์ 09-3426-9216
4. นายพงษ์เชษฐ์ อันชัยศรี นักศึกษา สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร
เลขประจำตัวประชาชน 1461000218281 เบอร์โทรศัพท์ 09-3343-1494
5. นายชัยนรินทร์ ไฝชอบ นักศึกษา สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร
เลขประจำตัวประชาชน 1461000199465 เบอร์โทรศัพท์ 09-3426-9261
6. นางสาววิภาภรณ์ สุวรรณศร นักศึกษา สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่
เลขประจำตัวประชาชน 1469900454299 เบอร์โทรศัพท์ 06-4610-2542
7. นายจิรศักดิ์ ปรีเลขา นักศึกษา สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่
เลขประจำตัวประชาชน 1469900416787 เบอร์โทรศัพท์ 06-3787-6574
8. นางสาวพรรณิดา อิ่มเสถียร นักศึกษา สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่
เลขประจำตัวประชาชน 1469900431060 เบอร์โทรศัพท์ 06-4212-9186
9. นางสาวดวงศิริ ไร่ประสงค์ นักศึกษา สาขาวิชาระบบสารสนเทศ​ทางคอมพิวเตอร์
เลขประจำตัวประชาชน 1469900451419 เบอร์โทรศัพท์ 06-3041-7756
10. นายธวัชชัย ภูนาเถร นักศึกษา สาขาวิชาระบบสารสนเทศ​ทางคอมพิวเตอร์
เลขประจำตัวประชาชน 1460700251141 เบอร์โทรศัพท์ 09-8195-8432
11. นายพัฒนา พึ่งพันธุ์ อาจารย์ที่ปรึกษา สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร
เลขประจำตัวประชาชน 3300900310997 เบอร์โทรศัพท์ 08-1871-2844
12. นายบัณฑิต สุริยวงศ์พงศา อาจารย์ที่ปรึกษา สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร
เลขประจำตัวประชาชน 3100800706939 เบอร์โทรศัพท์ 08-9229-2997
13. นายสิทธิศักดิ์ เริงฤทธิ์ อาจารย์ที่ปรึกษา สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร
เลขประจำตัวประชาชน 3369900154870 เบอร์โทรศัพท์ 06-3721-8998
14. นายภูมินทร์ สุวรรณธาดา อาจารย์ที่ปรึกษา สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร
เลขประจำตัวประชาชน 1450400104487 เบอร์โทรศัพท์ 08-3282-0082
15. นางอนันตพร พุทธัสสะ อาจารย์ที่ปรึกษา สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่
เลขประจำตัวประชาชน 3460700112899 เบอร์โทรศัพท์ 08-7420-5257
16. นางสาวณภัทรวรัญญ์ ศรีฮาตร อาจารย์ที่ปรึกษา สาขาวิชาระบบสารสนเทศ​ทางคอมพิวเตอร์​
เลขประจำตัวประชาชน 1469900042454 เบอร์โทรศัพท์ 09-5651-7464

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ เขาวง สงเปลือย

3. รายละเอียดชุมชน

จังหวัดกาฬสินธุ์ มีพื้นที่ 1946,746 ตารางกิโลเมตร หรือ 4341,716 ไร่ มีพื้นที่การเกษตร ประมาณ 2325,095 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 53.55 ของพื้นที่ทั้งหมด และเกษตรกรที่ได้ขึ้นทะเบียนเกษตรกรทั้งสิ้น 161,861 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ ๕๓.๕๕ ของครัวเรือนทั้งจังหวัด โดยมี“ข้าว” เป็นพืชเศรษฐกิจหลักของ จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยเฉพาะ “ข้าวเหนียวเขาวง” ได้ขึ้นทะเบียนกับกรมทรัพย์สินทางปัญญากระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2552 ทะเบียนเลขที่ สช 52100026 มีสิ่งชี้บ่งทางภูมิศาสตร์มาตรฐานถิ่นกำเนิด (Geographical Indication : GI) ปลูกในพื้นที่ที่เป็นดินภูเขาไฟเก่า ใช้พันธุ์ข้าว เหนียวกอเดียว ซึ่งเป็นข้าวพันธุ์เบา (ข้าวดอ) และ ข้าวเหนียว กข.6 โดยข้าวเหนียวเขาวงมีความพิเศษคือ มีความเหนียวนุ่มมีกลิ่นหอมไม่ติดมือเก็บความนุ่มไว้ได้นาน พื้นที่การผลิตข้าวเหนียวเขาวง ได้แก่ 1) พื้นที่ 5 ตำบลของอำเภอเขาวง 2) พื้นที่ตำบลนาโก และตำบลหนองห้าง อำเภอกุฉินารายณ์ และ 3) ตำบลนาคู และ ตำบลบ่อแก้ว อำเภอนาคูรวมทั้งสิ้น 109,127 ไร่ จำนวนครัวเรือนเกษตรกรทั้งหมด 14,850 ครัวเรือน มูลค่าการจำหน่าย 246,46 ล้านบาท แต่ด้วยข้อจำกัดด้านพื้นที่การเพาะปลูกทำให้ไม่สามารถขยายพื้นที่เพาะปลูกเพิ่มได้ ทำได้เพียงเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่เท่านั้น ดังนั้น จังหวัดจึงส่งเสริมการปลูกข้าวเชิงอุตสาหกรรมในพื้นที่อื่น เนื่องจากในพื้นที่จังหวัดมีโรงสีขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก จำนวน 99 โรง และเป็นศูนย์กลางในการรวบรวมข้าวในจังหวัดใกล้เคียง จึงเหมาะสาหรับการเป็นผู้ให้บริการทางด้านโลจิสติกส์ (Logistics Provider) ในด้านการจัดเก็บสินค้า คลังสินค้า (Warehouse) เป็นหน่วยเชื่อมโยงระหว่างผู้ผลิต(Manufacturer) กับผู้ขาย (Retailers) การจัดการขนส่งสินค้า และการส่งออก ซึ่งจังหวัดกาฬสินธุ์ได้ส่งเสริมการปลูกข้าวหอมมะลิปลอดภัย (GAP) และข้าวหอมมะลิอินทรีย์ ซึ่งมีพื้นที่ปลูก 1423,046.20 ไร่ จำนวน 223,158 แปลง รวม 133,015 ครอบครัว (ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัด กาฬสินธุ์) อำเภอที่มีพื้นที่ปลูกข้าวมากที่สุด 5 อันดับ ได้แก่ อำเภอยางตลาด อำเภอกุฉินารายณ์อำเภอเมือง กาฬสินธุ์ อำเภอกมลาไสย และอำเภอเขาวง
เขาวงเป็นอำเภอหนึ่งจังหวัดกาฬสินธุ์ โดยถือว่าเป็นพื้นที่ที่มีจุดเด่นและมีชื้อเสียงในเรื่องการผลิตข้าวมาแต่ช้านาน โดยเฉพาะข้าวเหนียวเขาวง ซึ่งมีชื่อเสียง และมีคุณภาพเป็นที่ต้องการของผู้บริโภคมากเนื่องจากมีสภาพพื้นที่ปลูกที่เหมาะสม มีโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริหลายโครงการได้มีการเข้ามาดำเนินการในพื้นที่เช่น โครงการขยายผลเกษตรทฤษฎีใหม่ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ถือว่าเป็นโครงการหนึ่งที่ได้สร้างความกินดีอยู่ดีให้กับประชากรในท้องถิ่นโดยเฉพาะเรื่องของการผลิตข้าวครบวงจรซึ่งเกษตรกรได้ดำเนินการไปแล้ว ในส่วนภาคการผลิตข้าวที่มีการใช้ระบบชลประทาน และในปี ๒๕๕๐ ได้รับงบประมาณเพื่อสร้างโรงสีข้าวชุมชน อันเนื่องมากจากพระราชดำริ ขึ้นในพื้นที่ ปัจจุบันจดทะเบียนในนามสหกรณ์โรงสีข้าวชุมชน ตำบลสงเปลือย มีสมาชิกเข้าร่วมโครงการมากกว่า ๑๗๐ คน มีข้าวเปลือกที่สมาชิกสามารถผลิตได้ต่อปีไม่น้อยกว่า ๔๐๐ ตัน ปัจจุบันโรงสีข้าวดังกล่าวสามารถสีข้าวเปลือกได้ปริมาณไม่น้อยกว่า ๑๔๐ ตันต่อปี โดยคิดเป็นการสีข้าวเพื่อให้บริการประชาชนในพื้นที่ประมาณ ๑๐๐ ตันข้าวเปลือก และสีข้าวเพื่อการค้า ประมาณ ๔๐ ตันข้าวเปลือก ต่อมา จังหวัดกาฬสินธุ์ได้ดำเนินการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในปี 2558 ดำเนินการพื้นที่ปลูกข้าว จำนวน 4 แปลง รวมพื้นที่ 23,476 ไร่ เกษตรกร 1,430 ราย โดยที่ตำบลหนองผือ อำเขาวง มีพื้นที่ที่เขาร่วมโครงการ 3,076 ไร่ เกษตรกร 228 ราย ส่งผลให้ เกษตรกรรายย่อยมีความเข้มแข็งมีต้นทุนการผลิตลดลง คุณภาพผลผลิตที่ดีตรงกับความต้องการของตลาด
ผลการดำเนินการที่ผ่านมาประสบปัญหาราคาข้าวเปลือกแพง อันเป็นผลสืบเนื่องมีพ่อค้าคนกลางและโรงสีนอกพื้นที่เข้ามากว้านซื้อข้าวเปลือก โดยในปี 2562 ประสบปัญหาน้ำท่วมในภาคอีสานและการขาดแคลนข้าวเปลือกเหนียวในท้องตลาด ส่งผลให้ราคาข้าวเปลือกเหนียวแพงยิ่งขึ้นไปอีก แต่ก็ยังผลดีให้สมาชิกสหกรณ์และเกษตรกร คือทำให้สมาชิกสหกรณ์และเกษตรกรในพื้นที่ สามารถขายข้าวเปลือกได้ในราคาที่สูงกว่าท้องตลาดและสามารถรับเงินสดจากโรงสีได้ทันที ซึ่งขั้นตอนการรับซื้อข้าวจากเกษตรกรก็ดำเนินการเหมือนโรงสีใหญ่โดยทั่วไป คือดูจากคุณภาพข้าวเป็นหลัก ซึ่งในปี ๒๕๖๑ ทางมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ได้รับงบประมาณจากจังหวัดกาฬสินธุ์ ในโครงการปรับปรุงประสิทธิภาพการสีข้าวของโรงสีชุมชนเดิม เพื่อใช้ในการสีข้าวหอมมะลิ จำนวน ๑ โรง และได้จัดสร้างโรงสีใหม่เพื่อใช้ในการสีข้าวเหนียวเขาวง จำนวน ๑ โรง เพื่อแก้ปัญหาการปนกันระหว่างข้าวหอมมะลิและข้าวเหนียวเขาวง ทั้งนี้โรงสีข้าวเดิมที่ได้ทำการปรับปรุง และโรงสีข้าวที่ได้จัดสร้างขึ้นใหม่นี้ ได้วางระบบเครื่องจักรสีข้าวแบบสมัยใหม่ กล่าวคือระบบการสีข้าวจะเหมือนในโรงสีขนาดใหญ่ สามารถควบคุมและจัดการเครื่องจักรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลต่อคุณภาพการสีข้าวโดยตรง และจากนโยบายคุณภาพข้าวของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมการข้าว ได้ขับเคลื่อนแนวทาง โรงสีข้าว GMP มายังต่อเนื่อง และจังหวัดกาฬสินธุ์ได้กำหนดนโยบายให้จังหวัดกาฬสินธุ์เป็นจังหวัดที่ปลูกข้าวต้นแบบ (Kalasin Rice City) เป็นเขตส่งเสริมเศรษฐกิจที่ผลิตข้าวและอุตสาหกรรมต่อเนื่องครบวงจร โดยให้เป็นแหล่งต้นแบบในการปลูกข้าวเชิงอุตสาหกรรมหรือข้าวปลอดสารพิษ การขับเคลื่อนเมืองข้าวจะต้องเน้นเกี่ยวกับข้าวหอมมะลิหรือข้าวเหนียวที่เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน ทั้งเพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันของระบบข้าวไทยอย่างยั่งยืนและเป็นรูปธรรม เพื่อเสริมสร้างความเชื่อมมั่นในการกระบวนผลิตข้าวที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน รวมไปถึงพัฒนาเกษตรกรไทยให้มีความยั่งยืนต่อไป
จากที่มาของสหกรณ์โรงสีข้าวชุมชน ตำบลสงเปลือย อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งได้ดำเนินการสีข้าวตั้งแต่ปี ๒๕๕๐ จนถึงปี ๒๕๖๐ เป็นระยะเวลาประมาณสิบปี ซึ่งในช่วงระยะเวลาดังกล่าว ไม่ได้มีการปรับปรุงระบบการสีข้าว ต่อมาในปี ๒๕๖๑ ได้มีการปรับปรุงโรงสีข้าวชุมชนเดิมเพื่อใช้ในการสีข้าวหอมมะลิ และได้จัดสร้างโรงสีชุมชนเพิ่มอีก ๑ โรงเพื่อใช้ในการสีข้าวเหนียวเขาวงโดยเฉพาะ เพื่อแก้ไขปัญหาการปนกันระหว่างข้าวหอมมะลิและข้าวเหนียวเขาวง ทั้งนี้โรงสีข้าวเดิมที่ได้ทำการปรับปรุง และโรงสีข้าวที่ได้จัดสร้างขึ้นใหม่นี้ ได้วางระบบเครื่องจักรสีข้าวแบบสมัยใหม่ กล่าวคือระบบการสีข้าวจะเหมือนในโรงสีขนาดใหญ่ สามารถควบคุมและจัดการเครื่องจักรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลต่อคุณภาพการสีข้าวโดยตรง ดังนั้นโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้เครื่องจักรสีข้าว, การตลาดโรงสีข้าว และ การค้าออนไลน์ จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง เพื่อให้การสีข้าวเชิงพาณิชย์ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ และยั่งยืน

รายละเอียดพื้นฐานของชุมชน
จากที่มาของสหกรณ์โรงสีข้าวชุมชน ตำบลสงเปลือย อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งได้ดำเนินการสีข้าวตั้งแต่ปี ๒๕๕๐ จนถึงปี ๒๕๖๐ เป็นระยะเวลาประมาณสิบปี ซึ่งในช่วงระยะเวลาดังกล่าว ไม่ได้มีการปรับปรุงระบบการสีข้าว ต่อมาในปี ๒๕๖๑ ได้มีการปรับปรุงโรงสีข้าวชุมชนเดิมเพื่อใช้ในการสีข้าวหอมมะลิ และได้จัดสร้างโรงสีชุมชนเพิ่มอีก ๑ โรงเพื่อใช้ในการสีข้าวเหนียวเขาวงโดยเฉพาะ เพื่อแก้ไขปัญหาการปนกันระหว่างข้าวหอมมะลิและข้าวเหนียวเขาวง ทั้งนี้โรงสีข้าวเดิมที่ได้ทำการปรับปรุง และโรงสีข้าวที่ได้จัดสร้างขึ้นใหม่นี้ ได้วางระบบเครื่องจักรสีข้าวแบบสมัยใหม่ กล่าวคือระบบการสีข้าวจะเหมือนในโรงสีขนาดใหญ่ สามารถควบคุมและจัดการเครื่องจักรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลต่อคุณภาพการสีข้าวโดยตรง ดังนั้นโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้เครื่องจักรสีข้าว, การตลาดโรงสีข้าว และ การค้าออนไลน์ จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง เพื่อให้การสีข้าวเชิงพาณิชย์ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ และยั่งยืน
สหกรณ์โรงสีข้าวชุมชนตำลสงเปลือก อำเภอเขาวงได้รับการจัดสรรงบประมาณจากจังหวัดกาฬสินธุ์ในปี ๒๕๖๑ ผ่านทางมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ ในโครงการปรับปรุงประสิทธิภาพการสีข้าวของโรงสีชุมชนเดิม เพื่อใช้ในการสีข้าวหอมมะลิ จำนวน ๑ โรง และได้จัดสร้างโรงสีใหม่เพื่อใช้ในการสีข้าวเหนียวเขาวงอีก จำนวน ๑ โรง ซึ่งคาดว่าจะสามารถติดตั้งแล้วเสร็จและสีข้าวเชิงพาณิชย์ได้ราวปลายเดือนธันวาคม 2562 ซึ่งเป็นโรงสีข้าวแบบใหม่มีกำลังการผลิตไม่น้อยกว่า 800 กิโลกรัมต่อชั่วโมง1. ผู้ควบคุมเครื่องจักรสีข้าวขาดความรู้และทักษะในการควบคุมเครื่องจักรโรงสีข้าวสมัยใหม่
2. สมาชิกสหกรณ์โรงสีข้าวขาดความรู้และทักษะด้านการบริหารการจัดการเกี่ยวกับการตลาดและการขาย
3. สมาชิกสหกรณ์โรงสีข้าวขาดความรู้และทักษะด้านการค้าสมัยใหม่ (การค้าออนไลน์)
1. แปรสภาพข้าวหรือสีข้าวได้ในรูปแบบต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ ลดการสูญเสียในกระบวนการสีข้าว และคู่มือการใช้งานเครื่องจักรโรงสี
2. ต้องการขายข้าวในราคาที่สูงขึ้น และต้องการเปิดตลาดข้าวในห้างชั้นนำ เช่น แม๊กโคร บิ๊กซี โลตัส เป็นต้น
3. ต้องการเปิดตลาดการค้ามสันใหม่ (การขายแบบออนไลน์)

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

6.1 สำหรับองค์ความรู้ทางด้านเทคโนโลยี ได้นำองค์ความรู้ทางด้านเทคโนโลยีโรงสีข้าวเข้าไปควบคุมความเร็วเชิงเส้นของลูกยางกะเทาะข้าวเปลือกให้คงที่ เพื่อควบคุมเปอร์เซ็นต์การกะเทาะให้คงที่ ซึ่งจะยังผลให้เพิ่มปริมาณต้นข้าว ลดการแตกหัก ลดต้นทุน และลดแรงงาน อีกทั้งการใช้เทคนิคการปรับแต่งเครื่องจักรแต่ละตัวให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 สำหรับองค์ความรู้ทางด้านการตลาด โดยใช้องค์ความรู้การบริหารจัดการช่องทางการตลาดข้าวเขาวงสู่การค้าสมัยใหม่
6.3 สำหรับองค์ความรู้ทางด้านการค้าออนไลน์ โดยใช้หลักการและองค์ความรู้เรื่องโปรแกรมเว็บแบบพลวัติ และการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ ในการสร้างและพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการโฆษณาและประชาสัมพันธ์กลุ่มและผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ควบคุมเครื่องจักรมีความรู้และทักษะในการควบคุมเครื่องจักรสีข้าวสมัยใหม่เพิ่มมากขึ้น
  1. ผู้ควบคุมเครื่องสามารถเดินเครื่องจักรโรงสีข้าวสมัยใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและยังผลให้สามารถเพิ่มปริมาณต้นข้าว ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 เมื่อเทียบกับการสีข้าวแบบเดิม
5.00 5.00
2 สามารถเปิดตลาดขายข้าวใหม่ๆได้ด้วยต้นเอง (การค้าออนไลน์)
  1. สามารถเพิ่มยอดขายทางออนไลน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของปริมาณการขายรวมทั้งหมด
5.00 5.00
3 ความพึงพอใจของผู้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้
  1. ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
80.00 80.00
4 เพิ่มโอกาสทางการตลาดกับห้างสรรพสินค้าชั้นนำ
  1. มีการเริ่มต้นติดต่อ/ประสานงานการขายกับห้างสรรพสินค้าชั้นนำ โดยมีการประชุมร่วม/พบปะพูดคุย กับตัวแทนของบริษัท/ห้างร้านชั้นนำ ไม่น้อยกว่า 2 ครั้ง
2.00 2.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
สมาชิกและผู้ดำเนินการในสหกรณ์โรงสีข้าวชุมชน ต.สงเป 30

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 วางแผนดำเนินงาน นักศึกษาลงพื้นที่เก็บข้อมูลเบื้องต้น

ชื่อกิจกรรม
วางแผนดำเนินงาน นักศึกษาลงพื้นที่เก็บข้อมูลเบื้องต้น
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้ผู้ควบคุมเครื่องจักรมีความรู้และทักษะในการควบคุมเครื่องจักรสีข้าวสมัยใหม่เพิ่มมากขึ้น
  2. สามารถเปิดตลาดขายข้าวใหม่ๆได้ด้วยต้นเอง (การค้าออนไลน์)
  3. ความพึงพอใจของผู้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้
  4. เพิ่มโอกาสทางการตลาดกับห้างสรรพสินค้าชั้นนำ
รายละเอียดกิจกรรม
วางแผนดำเนินงาน นักศึกษาลงพื้นที่เก็บข้อมูลเบื้อต้น ด้านการบริการจัดการโรงสีข้าวเชิงพาณิชย์ทั้งระบบ (เก็บข้อมูลเกี่ยวกับการรับซื้อข้าวเปลือก, การตีราคาข้าวเปลือก, ความสามารถของเครื่องจักรในการสีข้าว, การเก็บรักษาข้าวเปลือก, ข้าวสาร, การขายข้าวสาร] ตลอดจนการบันทึกข้อมูลต่างๆ ของโรงสีที่ผ่านมา)
ระยะเวลาดำเนินงาน
2 January 2020 ถึง 31 January 2020
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต ได้ข้อมูลที่นักศึกษาเก็บข้อมูลจากพื้นที่
ผลลัพธ์ วิเคราะห์ข้อมูล ประมวลผล หาแนวทางการแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น(นักศึกษาระดมความคิด)
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ

ค่าเบี้ยงเลี้ยงไปราชการ (240 บาท × 8 วัน × 6 คน)

6 คน 240 8 11,520
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนนักศึกษาในการประสานงาน (8 คน × 120 บาท × 9 วัน)

10 คน 120 9 10,800
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยรถยนต์ส่วนบุคคล (184 กม × 3 คัน × 3 เที่ยว × 4 บาท)

3 เที่ยว 736 3 6,624
ค่าเช่ารถ

จ้างเหมารถตู้พานักศึกษาเข้าพื้นที่ (เที่ยวละ 4,500 บาท × 3 เที่ยว)

1 เที่ยว 4,500 3 13,500
ค่าวัสดุสำนักงาน

กระดาษ A4 (จำนวน 4 กล่อง x 550 บาท)

5 ชุด 550 1 2,750
ค่าวัสดุสำนักงาน

หมึกพิมพ์เลเซอร์ HP LaserJet P1102 (จำนวน 1 กล่อง x 2,350 บาท)

1 ชิ้น 2,350 1 2,350
ค่าวัสดุสำนักงาน

หมึกสำหรับเครื่องพิมพ์ สีดำ 2 ขวด, แดง 1 ขวด, เหลือง 1 ขวด, น้ำเงิน 1 ขวด

1 ชุด 1,400 1 1,400
ค่าวัสดุสำนักงาน

MICRO SD CARD คลาส 10 ความจุ 128 GB (2 ชิ้น x 890 บาท)

2 ชิ้น 890 1 1,780
ค่าวัสดุสำนักงาน

ฉากถ่ายภาพ (1 ชุด x 13,000 บาท)

1 ชุด 13,000 1 13,000
ค่าวัสดุสำนักงาน

ไม้กันสั่น Gimbal มือือสำหรับ Smartphone สำหรับกล้องรอง (1 ชิ้น x 4,900 บาท)

1 ชิ้น 4,900 1 4,900
ค่าวัสดุสำนักงาน

ปลั๊กสามตามาตรฐานสำหรับเงินไฟสตูดิโอ (2 อัน x 499 บาท)

2 ชิ้น 499 1 998
ค่าวัสดุสำนักงาน

กระดาษฟูบ (100 แผ่น x 3 บาท)

100 ชุด 3 1 300
ค่าวัสดุสำนักงาน

ปากกา (150 ด้าม x 5 บาท)

150 ชิ้น 5 1 750
ค่าวัสดุสำนักงาน

ปากกาสีเมจิก (4 กล่อง x 100 บาท)

4 ชุด 100 1 400
ค่าวัสดุสำนักงาน

สมุดจดบันทึก (3 เล่ม x 120 บาท)

3 ชิ้น 120 1 360
ค่าวัสดุสำนักงาน

ลวดเย็บกระดาษ เบอร์ 27/4.8 (5 กล่อง x 10 บาท)

5 ชิ้น 10 1 50
ค่าวัสดุสำนักงาน

แฟ้มใส่เอกสาร 2 ห่วง (4 แฟ้ม x 85 บาท)

4 ชิ้น 85 1 340
ค่าวัสดุสำนักงาน

ดินสอดำ ขนาด 2B พร้อมยางลบ (30 แท่ง x 10 บาท)

30 ชิ้น 10 1 300
ค่าอาหาร

ค่าอาหาร (30 คน × 80 บาท/คน × 1 มื้อ/วัน × 1 วัน)

30 คน 80 1 2,400
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่าง (30 คน × 30 บาท/คน × 2 มื้อ/วัน × 1 วัน)

30 คน 30 2 1,800
รวมค่าใช้จ่าย 76,322

กิจกรรมที่ 2 เตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
เตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้ผู้ควบคุมเครื่องจักรมีความรู้และทักษะในการควบคุมเครื่องจักรสีข้าวสมัยใหม่เพิ่มมากขึ้น
  2. สามารถเปิดตลาดขายข้าวใหม่ๆได้ด้วยต้นเอง (การค้าออนไลน์)
  3. ความพึงพอใจของผู้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้
  4. เพิ่มโอกาสทางการตลาดกับห้างสรรพสินค้าชั้นนำ
รายละเอียดกิจกรรม
เตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงาน เพื่อความพร้อมในการดำเินงาน
ระยะเวลาดำเนินงาน
16 January 2020 ถึง 31 January 2020
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต วัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงาน
ผลลัพธ์ ความพร้อมในการดำเนินงาน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนนักศึกษาในการประสานงาน (8 คน × 120 บาท × 9 วัน)

10 คน 120 9 10,800
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยรถยนต์ส่วนบุคคล (184 กม × 3 คัน × 3 เที่ยว × 4 บาท)

3 เที่ยว 736 3 6,624
ค่าเช่ารถ

จ้างเหมารถตู้พานักศึกษาเข้าพื้นที่ (เที่ยวละ 4,500 บาท × 3 เที่ยว)

1 เที่ยว 4,500 3 13,500
อื่น ๆ

จ้างเหมาตรวจสอบความปลอดภัยของข้าวทางห้องปฏิบัติการ (ตัวอย่างละ 15000 × 2 ตัวอย่าง)

2 ชิ้น 15,000 1 30,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ผ้าปิดจมูกอนามัย (100 อัน x 10 บาท )

100 ชิ้น 10 1 1,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าอาหาร (30 คน × 80 บาท/คน × 1 มื้อ/วัน × 1 วัน)

30 คน 80 1 2,400
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่าง (30 คน × 30 บาท/คน × 2 มื้อ/วัน × 1 วัน)

30 คน 30 2 1,800
ค่าถ่ายเอกสาร

ค่าจัดทำเอกสาร (30 เล่ม × 1 โครงการ × 30 บาท = 900 บาท)

30 ชุด 30 1 900
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

ค่าทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ (4 เมตร x 2 เมตร x 150 บาท/ตารางเมตร)

1 ชิ้น 1,200 1 1,200
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ข้าวเปลือกสำหรับทดสอบเครื่องจักรสีข้าว (ข้าวเปลือก 5,000 กิโลกรัม × 23 บาท/กิโลกรัม)

6,000 ชิ้น 18 1 108,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ลูกยางกะเทาะข้าวเปลือก ขนาด 6 × 9 นิ้ว (จำนวน 12 ลูก × ราคาลูกละ 1,605 บาท)

12 ชิ้น 1,605 1 19,260
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

แท่งยางขัดขาว (จำนวน 15 เท่ง × ราคาแท่งละ 535 บาท)

15 คน 535 1 8,025
รวมค่าใช้จ่าย 203,509

กิจกรรมที่ 3 การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้เครื่องจักรสีข้าวสมัยใหม่

ชื่อกิจกรรม
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้เครื่องจักรสีข้าวสมัยใหม่
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้ผู้ควบคุมเครื่องจักรมีความรู้และทักษะในการควบคุมเครื่องจักรสีข้าวสมัยใหม่เพิ่มมากขึ้น
  2. ความพึงพอใจของผู้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้เครื่องจักรสีข้าวสมัยใหม่ ให้กับผู้ควบคุมเครื่องจักรสีข้าว เพื่อให้มีทักษะ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 February 2020 ถึง 29 February 2020
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต นักศึกษาอบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้เครื่องจักรสีข้าวสมัยใหม่แก่สมาชิกของโรงสี
ผลลัพธ์ ผู้ควบคุมเครื่องจักรสีข้าวสามารถควบคุมให้เครื่องจักรทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดการแตกหักของข้าว/ได้คู่มือการใช้งานเครื่องจักร
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ

ค่าเบี้ยงเลี้ยงไปราชการ (240 บาท × 8 วัน × 6 คน)

6 คน 240 8 11,520
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนนักศึกษาในการประสานงาน (8 คน × 120 บาท × 9 วัน)

10 คน 120 9 10,800
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร (1 คน × 8 ชม. × 300 บาท)

1 ครั้ง 2,400 1 2,400
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยรถยนต์ส่วนบุคคล (184 กม × 3 คัน × 2 เที่ยว × 4 บาท)

3 เที่ยว 736 2 4,416
ค่าตอบแทนวิทยากร

จ้างเหมารถตู้พานักศึกษาเข้าพื้นที่ (เที่ยวละ 4,500 บาท × 3 เที่ยว)

3 คน 4,500 1 13,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหาร (30 คน × 80 บาท/คน × 1 มื้อ/วัน × 1 วัน)

30 คน 80 1 2,400
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่าง (30 คน × 30 บาท/คน × 2 มื้อ/วัน × 1 วัน)

30 คน 30 2 1,800
รวมค่าใช้จ่าย 46,836

กิจกรรมที่ 4 การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การตลาดโรงสีข้าว

ชื่อกิจกรรม
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การตลาดโรงสีข้าว
วัตถุประสงค์
  1. สามารถเปิดตลาดขายข้าวใหม่ๆได้ด้วยต้นเอง (การค้าออนไลน์)
  2. ความพึงพอใจของผู้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้
  3. เพิ่มโอกาสทางการตลาดกับห้างสรรพสินค้าชั้นนำ
รายละเอียดกิจกรรม
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การตลาดโรงสีข้าว เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานโรงสีข้าวมีความรู้และทักษะด้านการบริหารการจัดการเกี่ยวกับการตลาดและการขายข้าว
ระยะเวลาดำเนินงาน
16 February 2020 ถึง 15 March 2020
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต ผู้ผ่านการอบรมหลักการตลาด
ผลลัพธ์ สมาชิกสหกรณ์โรงสีข้าวมีความรู้และทักษะด้านการบริหารการจัดการเกี่ยวกับการตลาดและการขายข้าว
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ

ค่าเบี้ยงเลี้ยงไปราชการ (240 บาท × 8 วัน × 6 คน)

6 คน 240 8 11,520
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนนักศึกษาในการประสานงาน (8 คน × 120 บาท × 9 วัน)

10 คน 120 9 10,800
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร (1 คน × 8 ชม. × 300 บาท)

1 ครั้ง 2,400 1 2,400
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยรถยนต์ส่วนบุคคล (184 กม × 3 คัน × 2 เที่ยว × 4 บาท)

3 เที่ยว 736 2 4,416
ค่าเช่ารถ

จ้างเหมารถตู้พานักศึกษาเข้าพื้นที่ (เที่ยวละ 4,500 บาท × 3 เที่ยว)

3 เที่ยว 4,500 1 13,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหาร (30 คน × 80 บาท/คน × 1 มื้อ/วัน × 1 วัน)

30 คน 80 1 2,400
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่าง (30 คน × 30 บาท/คน × 2 มื้อ/วัน × 1 วัน)

30 คน 30 2 1,800
รวมค่าใช้จ่าย 46,836

กิจกรรมที่ 5 การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การค้าออนไลน์

ชื่อกิจกรรม
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การค้าออนไลน์
วัตถุประสงค์
  1. สามารถเปิดตลาดขายข้าวใหม่ๆได้ด้วยต้นเอง (การค้าออนไลน์)
  2. ความพึงพอใจของผู้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้
  3. เพิ่มโอกาสทางการตลาดกับห้างสรรพสินค้าชั้นนำ
รายละเอียดกิจกรรม
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การค้าออนไลน์ เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานโรงสีข้าวมีความรู้การบริหารจัดการช่องทางการตลาดข้าวเขาวงสู่การค้าสมัยใหม่ (การค้าออนไลน์)
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 March 2020 ถึง 31 March 2020
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต นักศึกษาฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การค้าออนไลน์
ผลลัพธ์ สมาชิกสหกรณ์มโรงสีข้าวความรู้การบริหารจัดการช่องทางการตลาดข้าวเขาวงสู่การค้าสมัยใหม่ (การค้าออนไลน์)/ได้คู่มือการค้าออนไลด์
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ

ค่าเบี้ยงเลี้ยงไปราชการ (240 บาท × 8 วัน × 6 คน)

6 คน 240 8 11,520
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนนักศึกษาในการประสานงาน (8 คน × 120 บาท × 9 วัน)

10 คน 120 9 10,800
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร (1 คน × 8 ชม. × 300 บาท)

1 ครั้ง 2,400 1 2,400
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยรถยนต์ส่วนบุคคล (184 กม × 3 คัน × 3 เที่ยว × 4 บาท)

3 เที่ยว 736 3 6,624
ค่าตอบแทนวิทยากร

จ้างเหมารถตู้พานักศึกษาเข้าพื้นที่ (เที่ยวละ 4,500 บาท × 3 เที่ยว)

3 เที่ยว 4,500 1 13,500
ค่าอาหาร

ค่าอาหาร (30 คน × 80 บาท/คน × 1 มื้อ/วัน × 1 วัน)

30 คน 80 1 2,400
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าอาหารว่าง (30 คน × 30 บาท/คน × 2 มื้อ/วัน × 1 วัน)

30 คน 30 2 1,800
รวมค่าใช้จ่าย 49,044

กิจกรรมที่ 6 สรุปผลการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
สรุปผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้ผู้ควบคุมเครื่องจักรมีความรู้และทักษะในการควบคุมเครื่องจักรสีข้าวสมัยใหม่เพิ่มมากขึ้น
  2. สามารถเปิดตลาดขายข้าวใหม่ๆได้ด้วยต้นเอง (การค้าออนไลน์)
  3. ความพึงพอใจของผู้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้
  4. เพิ่มโอกาสทางการตลาดกับห้างสรรพสินค้าชั้นนำ
รายละเอียดกิจกรรม
สรุปผลการดำเนินงาน
ผลผลิต ข้อมูลที่นักศึกษาเก็บข้อมูลจากพื้นที่/ผลการฝึกอบรมแต่ละกิจกรรม
ผลลัพธ์ ผลข้อมูลวิเคราะห์ข้อมูล ประมวลผล หาแนวทางการแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นและผลการดำเนินการ/เล่มรายงานฉบับร่างผลการดำเนินการในโครงการ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 April 2020 ถึง 30 April 2020
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต รายงานฉบับสมบูรณ์ของโครงการ, ผู้ผ่านการอบรม
ผลลัพธ์ ผู้ปฏิบัติงานในโรงสีข้าวมีความรู้และทักษะการบริหารการจัดการโรงสีข้าวได้ สามารถควบคุมเครื่องจักรสีข้าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพิ่มเปอร์เซ็นต์ต้นข้าว ลดการแตกหัก ลดต้นทุนการผลิต รวมไปถึงด้านการตลาดสามารถบริหารจัดการช่องทางการตลาดข้าวเขาวงสู่การค้าสมัยใหม่ (การค้าออนไลน์) ได้อย่างมีประสิทธิผล
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนนักศึกษาในการประสานงาน (8 คน × 120 บาท × 3 วัน)

10 คน 120 3 3,600
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าชดเชยรถยนต์ส่วนบุคคล (184 กม × 3 คัน × 2 เที่ยว × 4 บาท)

3 เที่ยว 736 2 4,416
ค่าเช่ารถ

จ้างเหมารถตู้พานักศึกษาเข้าพื้นที่ (เที่ยวละ 4,500 บาท × 3 เที่ยว)

1 เที่ยว 4,500 1 4,500
อื่น ๆ

ค่าทำเนียมอุดหนุนสถาบัน ร้อยละ 10

1 คน 48,456 1 48,456
รวมค่าใช้จ่าย 60,972

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 483,519.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 142,080.00 1,200.00 95,820.00 165,963.00 78,456.00 483,519.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 29.38% 0.25% 19.82% 34.32% 16.23% 100.00%

11. งบประมาณ

483,519.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) 1. ผู้ปฏิบัติงานโรงสีผ่านการถ่ายทอดองค์ความรู้ มีความรู้และทักษะในการบริหารจัดการโรงสีข้าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. มีความรู้ในเรื่องของการตลาด การค้าสมัยใหม่ในระบบออนไลน์
1. นักศึกษา มีความรู้ มีทักษะ ในการรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ สังเคราะห์ ปัญหา และหาแนวทางการแก้ไขปัญหาอย่างถูกต้อง รวดเร็ว
ผลลัพธ์ (Outcome) 1. ประชากรในชุมชนสามารถขายข้าวได้ในราคาที่สูงขึ้น และมีความยั่งยืน
2. เป็นการประชาสัมพันธ์ข้าวเหนียวเขาวงเป็นที่รู้จักของผู้บริโภคมากขึ้น
1. นักศึกษามีความเป็นผู้นำและกล้าแสดงออกตลอดจนขนขวายหาความรู้ใส่ตนเองมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้นักศึกษามาภาวะความเป็นผู้นำ และความรักถิ่นฐานบ้านเกิดมากยิ่งขึ้น
ผลกระทบ (Impact) 1. เกษตรกรในชุมชนมีความรู้และทักษะในเรื่องการผลิตข้าวเหนียวเขาวง(ข้าวGI)ให้มีคุณภาพดี/มีรายได้เพิ่มมากขึ้นจากการขายข้าว
2. ทำให้มีความรักและหวงแหนในทรัพยากรธรรมชาติและท้องถิ่น
1. นักศึกษาเกิดความภาคภูมิใจในความสำเร็จของผลงานที่ได้ดำเนินการและเพิ่มช่องทางและมีโอกาสในการดำเนินธุรกิจเป็นของตนเองมากขึ้น
นำเข้าสู่ระบบโดย p.poungpun p.poungpun เมื่อวันที่ 31 October 2019 13:56 น.