โครงการพัฒนาต้นแบบระบบปลูกผักสลัดไฮโดรโปนิกส์แบบอัตโนมัติ ตำบลนามน อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
โครงการพัฒนาต้นแบบระบบปลูกผักสลัดไฮโดรโปนิกส์แบบอัตโนมัติ ตำบลนามน อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

โครงการพัฒนาต้นแบบระบบปลูกผักสลัดไฮโดรโปนิกส์แบบอัตโนมัติ ตำบลนามน อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์-ตำบลนามน อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์นายไพฑูรย์ ทิพย์สันเทียะสาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ ตำบลสงเปลือย อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์0986018396รศ.ดร.กตัญญู แก้วหานาม สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ (อาจารย์ที่ปรึกษา)
ผศ.สัน นามตะคุ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (อาจารย์ที่ปรึกษา)
นางสาวกชพรรณ วงค์เจริญ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (อาจารย์ที่ปรึกษา)
นายณัฐวุฒิ ศรีวิบูลย์ สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (อาจารย์ที่ปรึกษา)
นางสาวกิตติยา พูลสุทธิ์ หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1460200098068
นายวิษณุ นามเขต หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1460200086949
นายพงศ์ธร สุวิชา หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1104200224701
นายมรรคพล โพธิ์วัง หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1469900507694
นายอริยะ มาตรา หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1129700203635
นายธนดล เกื้อปัญญา หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1461301216105
นายชนสรณ์ บุญศรี หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1460200097649
นางสาวเอื้องฟ้า ดวงบุปผา หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1469900519625
นางสาวปิยากร ดอนถวิล หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1461000200612
นายอนุภาพ กาสี หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1461301217659

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ นามน นามน

3. รายละเอียดชุมชน

ตำบลนามน อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์ ส่วนมากมีรายได้จากการประกอบอาชีพทางการเกษตร พืชเศรษฐกิจที่สําคัญ ได้แก่ ข้าว อ้อย มันสําาปะหลัง ยางพารา ฯลฯ มีการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคมทำให้ระบบการตลาดเข้ามาส่งผลให้การทำมาหากินเพิ่มมากขึ้นตามสภาวะเศรษฐกิจ ซึ่งชาวบ้านนามนได้มีการปรับตัวให้เข้ากับสภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบันโดยมีการพัฒนาทางด้านอาชีพเพื่อจำหน่ายเป็นอาชีพเสริมหลังจากการทำอาชีพหลักโดยแยกได้ดังนี้สภาพทางเศรษฐกิจ อาชีพการเกษตร อาชีพรับจ้าง อาชีพรับราชการ ด้านเกษตรกรรมประชากรปลูกข้าว , ปลูกอ้อย , ปลูกมันสำประหลัง , ปลูกข้าวโพดปลูกถั่วลิสง , พืชผักสวนครัว , ยูคาลิปตัสปลูกยางพาราเป็นต้น ด้านปศุสัตว์ประชากรมีการเลี้ยงโค , กระบือ , ไก่ , เป็ด , สุกร ด้านการพาณิชย์ ในเขตเทศบาลตําาบลนามนมีตลาดสดเทศบาล 1 แห่ง ตลาดสดเอกชน 1 แห่ง มีธนาคารสาขา 1 แห่ง มีธุรกิจบริการปั๊มนํา้ามัน ธุรกิจคาร์แคร์ ร้านขายจักรยานยนต์ ร้านขายอุปกรณ์การเกษตร ร้านเสริมสวย ร้านตัดเสื้อ ร้านขายของเบ็ดเตล็ด ฯลฯ อาชีพเสริม เช่น ประชากรประกอบอาชีพปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ รับจ้างทั่วไป ฯลฯมีกลุ่มวิสากิจชุมชนและมีพื้นฐานทางด้านการทำอาชีพเสริม เช่น การปลูกผักที่สร้างรายได้ให้กับชุมชนขาดการพัฒนากลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่เป็นรูปธรรม และยังขาดระบบการจัดการโรงเรือนปลูกผักสลัดไฮโดรโปนิกส์แบบอัตโนมัติ ซึ่งเป็นการช่วยปัญหาในเรื่องของความยากจน เพิ่มรายได้ เป็นอาชีพเสริมให้กับคนในชุมชนท้องถิ่นขจัดปัญหาความยากจน จากการพัฒนาการบริหารการผลิตกลุ่มวิสาหกิจชุมชนและระบบการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์แบบอัตโนมัติ

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การปลูกผักหรือพืชในเชิงการเกษตรหรือครัวเรือน บางครั้งอาจจะทำไม่ได้เนื่องจากมีข้อจำกัดทางภูมิศาสตร์ในหลายด้าน เช่น พื้นที่เป็นหิน หรือภูเขาสูงหรือแม้แต่ทะเลทาย หรือคอนโดห้องเช่าต่างๆที่มีพื้นที่จำกัด ดังนั้นการปลูกผักหรือพืชด้วยวิธีไฮโรโปนิกส์ จึงสามารถแก้ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นได้และยังใช้แรงงานน้อยกว่าการปลูกผักแบบธรรมดา ไม่ว่าจะเป็นการเพาะปลูก เก็บเกี่ยว การกำจัดวัชพืช ใช้เวลาน้อยกว่าการปลูกพืชแบบธรรมดาแต่ได้ผลผลิตที่มากกว่าและรวดเร็ว ด้วยเหตุนี้การปลูกผักหรือพืชด้วยวิธีไฮโดรโปนิกส์จึงเป็นที่นิมยมมากในปัจจุบันสำหรับเกษตรกรทั้งหลาย อีกทั้งยังเป็นที่นิมยมสำหรับผู้ที่อยู่ห้องเช่าหรือคอนโดที่มีพื้นที่ใช้สอยจำกัด แต่ต้องการที่จะปลูกผักไว้บริโภคเอง แต่เนื่องจากการปลูกในพื้นที่ห้องเช่าหรือคอนโดนั้น ผักหรือพืชที่ปลูกไม่สามารถเติบโตได้อย่างเต็มที่ เพราะห้องบางห้องอยู่จุดอับของตึกทำให้แสงแดดส่องเข้ามาในตัวห้องไม่มากพอ

ด้วยเหตุที่กล่าวมาข้างต้นทางกลุ่มผู้จัดทำจึงได้คิดค้นระบบปลูกผักไฮโดรโปนิกส์อัตโนมัติ ( Smart farm hydroponic ) นี้ขึ้นมา โดยสามารถปลูกผักหรือพืชในห้องเช่าหรือคอนโดได้ด้วยอุปกรณ์อาดุยโน่ควบคุมเรื่องของแสงได้ ใช้อุปกรณ์ในการสร้างจำนวนไม่มาก ต้นทุนไม่สูง โดยสร้างจากอุปกรณ์ที่มีอยู่ทั่วไปมาสร้างเป็นระบบปลูกผักไฮโดรโปนิกส์อัตโนมัตินี้ขึ้นมา

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

บอร์ดอาดุยโน่ (Arduino)


จากภาพจะอธิบายส่วนๆได้ ดังนี้ ส่วนที่ 1 USB Plug คือช่องใช้เชื่อมต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์ผ่านสายUSB และใช้เป็นช่องทางอัพโหลดโค๊ดจากคอมพิวเตอร์มายังบอร์ดอาดุยโน่ ส่วนที่ 2 Digital I/O Pins และ Analog In Pins คือช่องที่รับ และส่งค่าอนาลอกและดิจิตอลไปยังวงจรอิเล็กทรนิกส์หรือเซนเซอร์ที่ต่อเข้ากับ บอร์ดอาดุยโน่ ส่วนที่ 4 Reset Buttonคือปุ่มสั่งบอร์ดกลับไปเริ่มต้นท างานใหม่ เมื่อบอร์ดมีอาการผิดปกติ หรือค้าง ส่วนที่ 5 In-Circuit Serial Programmer เป็นที่ใช้กับโปรแกรม Boot loader ส่วนที่ 6 AT mega328 Microcontroller คือ MCU (Microcontroller) ที่ใช้บนบอร์ดอาดุยโน่ ส่วนที่ 7 3.3 Volt Power Pin และ 5 Volt Power Pin เป็นแหล่งจ่ายไฟไปยังวงจรอิเล็กทรอนิกส์ และเซนเซอร์ที่ต่อเข้ากับบอร์ด ส่วนที่ 8 Ground Pins เปรียบเสมือนช่องขั้วลบที่มีใว้ใช้ต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้าและเซนเซอร์ และส่วนที่ 9 External Power Supply เป็นช่องที่ไว้รับแหล่งจ่ายไฟจากภายนอก โดยบอร์ดนั้นก็จะมีหลายรุ่นให้เลือกใช้งานตามความเหมาะสม เช่น Arduino Uno บอร์ดรุ่นนี้ จะเป็นบอร์ดที่ราคาถูก เหมาะกับผู้เริ่มต้นใช้งาน Arduino Mega บอร์ดรุ่นนี้จะแตกต่างกับรุ่น Uno ก็คือ รุ่นนี้จะมีขา Digital I/O Pins ที่ไว้ต่อกับวงจรอิเล็กทรอนิกส์และเซนเซอร์มากกว่ารุ่น Uno และรุ่น Arduino Wi-Fi รุ่นนี้จะพิเศษตรงที่

สามรถเชื่อมกับไวไฟได้เลย โดยไม่ต้องเชื่อมต่อกับอุปกรณ์เสริม เป็นต้น ในการเขียนการสั่งงานผ่านโปรแกรม Arduino IDE จะต้องเริ่มจากการต่อบอร์ดอาดุยโน่เข้ากับคอมพิวเตอร์ผ่านสาย USBจากนั้นก็เขียนโปรแกรมใน Arduino IDE

การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
ความหมายของคำว่า ไฮโดรโปนิกส์มาจากภาษากรีกที่ 2 ค ามารวมกัน คือค าว่า Hydro ที่ แปลว่าน้ำ และ Ponos ที่แปลว่างาน จึงมีความหมายว่า การท างานของน้ำผ่านรากพืช เป็นการเลียนแบบการปลูกพืชบนดิน แต่ไม่ใช้ดิน ใช้ฟองน้ำ ขี้เลื้อย แกลบ แทน ใช้เป็นที่เกาะของราก และจะให้สารละลายธาตุอาหารพืชที่ผสมน้ำทางราก สำหรับในประเทศไทย การปลูกผักแบบไฮโดรโปนิกส์ได้มีการใช้การปลูก พืชไฮโดรโปนิกส์ในระบบ NFT (Nutrient Film Technique) เป็นระบบที่นิยมในปัจจุบัน โดยเป็น ระบบน้ำวน ที่ให้น้ำไหลผ่านรากหมุนเวียนไปเรื่อยๆ โดยเป็นการนำเทคโนโลยี NFT มาจากประเทศออสเตรเลียใช้โดยบริษัท แอกเซนต์ไฮโดรโปนิกส์ทำให้ประเทศไทยมีการตื่นตัวในการปลูกพืชไฮโดรโปนิกส์เป็นอย่างมาก โดยการปลูก ผักวิธีนี้ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก เพราะใช้พื้นที่น้อย เมื่อเทียบการปลูกลงดิน ทั้งยังสามารถ ควบคุมแมลงศัตรูพืชได้ และมี 2 วิธีในการปลูก คือ วิธีที่ 1. การปลูกผักสลัดไฮโดรโปนิกส์แบบระบบน้ำวน ในการปลูกแบบนี้มีอยู่หลายแบบเช่น แบบ NFT (Nutrient Film Technique) และแบบ DFT (Deep Flow Technique) ที่กล่าวไปข้างต้น หลักการของแต่ละแบบนั้นจะคล้ายกัน คือ ให้ สารละลายแร่ธาตุที่ผสมในน้ำไหลผ่านรากของผักอย่างต่อเนื่อง วิธี 2. การปลูกแบบระบบน้ำนิ่ง คือการเทน้ำให้ขังภาชนะที่จะปลูก เช่น กล่องโฟม ตู้ปลา เป็นต้น จากนั้นก็ใส่ สารละลายแร่ธาตุลงไปในภาชนะปลูก โดยอัตราส่วนสารละลายแร่ธาตุต่อน้ำ คือ สารละลายแร่ธาตุ 5 cc ต่อน้ า 1 ลิตร

วิธีที่ 1. การปลูกผักสลัดไฮโดรโปนิกส์แบบระบบน้ำวน



ทฤษฎีหลักการและเทคนิคหรือเทคโนโลยีที่ใช้

การนำเทคโนโลยีอาดุยโน่มาประยุกต์ใช้กับการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
ในการนำเทคโนโลยีอาดุยโน่มาประยุกต์ใช้กับการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์นั้นจะเรียกสั้นๆ ว่าสมาร์ทฟาร์ม (Smart Farm) โดยก่อนจะนำตัวสมาร์ทฟาร์มเข้ามาใช้ จะต้องคำนึงถึงผักที่นำมาใช้ปลูกก่อนว่า ผักต้องการสภาพแวดล้อมเป็นอย่างไร จากนั้นก็ต้องคำนึงเรื่องการปลูกว่า ต้องการปลูกเป็นฟาร์ม (พื้นที่ขนาดใหญ่) หรือปลูกไว้กินเองที่บ้าน (พื้นที่ขนาดเล็ก) โดยการปลูกเป็นฟาร์มจะต้องมีอุปกรณ์ที่ใช้ ดังต่อไปนี้ คือ บอร์ดอาดุยโน่ที่ใช้ควบคุมการทำงานต่างๆของระบบ โดยจะมีเซนเซอร์ต่างๆ ที่คอยส่งค่าไปยังบอร์ด โดยมีเซนเซอร์ที่ใช้ คือ เซนเซอร์วัดระดับน้ำ และมีโซลินอยด์วาล์วในการให้ปุ๋ยอัตโนมัติ เพื่อที่บอร์ดนั้นจะทำการวิเคราะห์ค่าต่างๆที่ส่งมา และสั่งการควบคุมรีเลย์ที่ทำาหน้าที่เหมือนสวิตซ์คอยเปิดปิดการทำงานต่างๆ

1.1 ลักษณะการทำงาน

มีการทำงาน โดยจะแบ่งเป็นส่วนต่างๆ ดังนี้

1.การควบคุมการปล่อยน้ำ 1.ระบบเพาะปลูกแบบ Smart Farm (“การเพาะปลูกแบบ”, 2558) โดยมีการทำงานของระบบดังนี้นำเซนเซอร์วัดอุณหภูมิมาวัดอุณหภูมิ เพื่อปล่อยละอองน้ำเมื่ออุณหภูมิสูงกว่าที่กำหนดไว้ และนำเซนเซอร์วัดค่ากรดด่าง เพื่อปล่อยน้ำยาปรับค่า pH เมื่อค่า pH สูงเกินกว่าที่กำหนดไว้ แต่ในการสร้างนั้นต้องใช้ต้นทุนที่สูงอยู่ ทั้งยังสร้างเป็นแบบระบบน้ำวน คือ จะให้น้ำไหลไปตามท่อ PVC ที่เจาะรูไว้สำหรับปลูกผัก สลัด ซึ่งมีข้อจำกัด คือ อุปกรณ์ที่ใช้สร้าง ระบบเยอะ โดยมีอุปกรณ์ที่ใช้ เช่น ท่อพีวีซีหลายขนาด ท่อพีอีกาวทาท่อพีวิซี วาล์วควบคุมน้ำ 5 ตัว ขวด พลาสติก โซลินอยด์วาล์ว ปั๊มน้ำ ถังน้ำเปล่า สายยาง เป็นต้น ซึ่งการเคลื่อนย้ายนั้นใช้เวลามาก และต้องใช้พื้นที่เยอะ ในกรณีที่ปลูกไว้ในคอนโด ระบบไม่สามารถความคุมเรื่องค่าความเข้มข้นของแสงได้ และระดับน้ำในถังน้ำได้

ระบบที่ 2.ชุดปลูกผักไฮโดรฯออโต้(นายนัฐวุฒิ ดิษฐประสพ และนายอาทิตย์ มณีนพ ,2560)ซึ่งสร้างเป็น ระบบน้ำวนเช่นกัน มีหลักการทำงาน คือควบคุมการให้แสงไฟของหลอด LED (Light-Emitting Diode) แบบ Strip ที่ให้แสงสีแดงและสีน้ำเงินในอัตราส่วน 4:2 ที่สามารถทดแทนแสงธรรมชาติ โดยระบบสามารถเปิดปิด อัตโนมัติ เปิดใช้งานตั้งแต่ 06.00-18.00 น.ของทุกวัน โดยราคาต้นทุนในการสามารถอยู่ที่ 7,500 – 8,500 บาท แต่มีข้อจำกัด คือ ระบบการเปิดไฟ LED นั้นเป็นแบบตั้งเวลาเปิด-ปิด ไม่สามารถควบคุมการเปิด-ปิด ตามความเข้มของแสง (ลักซ์) ได้ ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำได้เช่นกัน เนื่องจากเป็นระบบน้ำวน อุปกรณ์ใน การสร้างจึงมีเยอะเช่นกัน ทั้งนี้ ราคาต้นทุนค่อยข้างสูง

ระบบที่ 3.โรงเรือนสมาร์ทฟาร์มอัจฉริยะของบริษัท smartfarmdiy คือโรงเรือนที่สามารถให้แสง ธาตุอาหาร และปรับอุณหภูมิได้แบบอัตโนมัติ ทั้งยังสามารถควบคุมได้ด้วยตัวเอง โดยมีการเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตเพื่อ ควบคุมผ่านแอปพลิเคชั่นในสมาร์ทโฟน โดยมีอุปกรณ์ที่ใช้ มีดังนี้

1.อุปกรณ์ที่ควบคุมค่า EC เพื่อให้ค่า EC ที่เหมาะสมแก่พืชที่ปลูก 2.อุปกรณ์การตรวจสภาพของดินเพื่อควบคุมค่า pH และดินให้เหมาะสมแก่พืช 3.อุปกรณ์การวัดอุณหภูมิ เพื่อควบคุมอุณหภูมิให้เหมาะสมแก่พืชที่ปลูก 4.กล้องวงจรปิด เพื่อดูพื้นที่ในการดู 5.หลอดไฟ เพื่อให้แสงแก่พืชได้อย่างเพียงพอ



ภาพประกอบ 1 โรงเรือนสมาร์ทฟาร์มอัจฉริยะ



โดยมีข้อจำกัดคือ ราคาต้นทุนที่แรงและมีจำนวนอุปกรณ์ที่ใช้เป็นจำนวนมาก และไม่เหมาะกับการปลูกไว้ทานเองที่บ้านหรือปลูกไว้ขายเป็นรายได้เสริม

ดังนั้น ผู้วิจัยจึงต้องการสร้างระบบปลูกผักไฮโดรโปนิกส์แบบอัตโนมัติที่เหมาะแก่การปลูกในคอนโด โดยสามารถความคุมเรื่องของแสงและระบบน้ำได้ ใช้อุปกรณ์ในการสร้างจำนวนน้อย ต้นทุนไม่สูง โดยจะสร้างจากอุปกรณ์ที่มีอยู่ทั่วไปเป็นระบบน้ำวน เพื่อลดอุปกรณ์ในการสร้างให้มากที่สุด

ซอฟต์แวร์
โปรแกรม Arduino IDE ใช้เขียนคำสั่งควบคุมการทำงานของระบบสมาาร์ทฟาร์มที่จัดทำขึ้นมาทั้งหมด ภาษาที่ใช้เขียนทั้งหมดเป็นภาษา C



ภาพประกอบ 2 การต่อเซนเซอร์วัดระดับน้ำ



ภาพประกอบ 3 การต่อวงจรระบบปลูกผักไฮโดรโปนิกส์แบบอัตโนมัติ

ภาพประกอบ 4 แผนผังการทำงานของระบบ



ภาพประกอบ 5 ตัวอย่างของระบบปลูกผักไฮโดรโปนิกส์แบบอัตโนมัติ

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาความยากจนของคนในชุมชน ตำบลนามน อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์ ร้อยละ 7 เป้าหมายระยะเวลา 1 ปี

ลดปัญหาความยากจน และสร้างรายได้จากการส่งเสริมอาชีพทางด้านการเกษตรให้คนในชุมชนตำบลนามน อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์ ร้อยละ 7 เป้าหมาย ระยะเวลา 1 ปี

7.00 1.00
2 เพื่อพัฒนาการบริหารการผลิตกลุ่มวิสาหกิจชุมชนและระบบปลูกผักสลัดไฮโดรโปนิกส์แบบอัตโนมัติ

มีการพัฒนาการบริหารการผลิตกลุ่มวิสาหกิจชุมชนอย่างเป็นรูปธรรมและมีความเป็นระบบมากขึ้นร้อยละ 60 เป้าหมาย 1 ปี

6.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ประชาชนผู้มีรายได้ไม่เกิน 30,000 บาทต่อปี 18
สมาชิกวิสาหกิจชุมชนเทศบาลตำบลนามนและคนในชุมชน 150

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาการบริหารการผลิตกลุ่มวิสาหกิจชุมชนและระบบปลูกผักสลัดไฮโดรโปนิกส์แบบอัติโนมัติ (นักศึกษาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม และนักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต)

ชื่อกิจกรรม
การพัฒนาการบริหารการผลิตกลุ่มวิสาหกิจชุมชนและระบบปลูกผักสลัดไฮโดรโปนิกส์แบบอัติโนมัติ (นักศึกษาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม และนักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต)
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อแก้ปัญหาความยากจนของคนในชุมชน ตำบลนามน อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์ ร้อยละ 7 เป้าหมายระยะเวลา 1 ปี
  2. เพื่อพัฒนาการบริหารการผลิตกลุ่มวิสาหกิจชุมชนและระบบปลูกผักสลัดไฮโดรโปนิกส์แบบอัตโนมัติ
รายละเอียดกิจกรรม
1.ลงพื้นที่ สัมภาษณ์เชิงลึกโดยแบบสัมภาษณ์
2.จัดประชุมกลุ่มแลกเปลี่ยนความคิดเห็นจากการสัมภาษณ์เชิงลึก
3.จัดประชุมระดมสมองแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อวิเคราะห์ปัญหา ศักยภาพ และข้อจำกัดและแนวทางการจัดการวิสากิจชุมชน
4.ประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกระบวนการจัดการการผลิต
5.ลงพื้นที่การติดตาม ปัญหา ข้อจำกัด
6.ประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกระบวนการจัดการระบบปลูกผักไฮโดรโปนิกส์และแนวทางการในพัฒนาระบบปลูกผักไฮโดรโปนิกส์แบบอัตโนมัติเพื่อช่วยลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มประสิทธิภาพของผลผลิต
7.พัฒนาระบบปลูกผักไฮโดรโปนิกส์แบบอัตโนมัติ
8.จัดอบรมบริการให้ความรู้ให้แก่สมาชิกกลุ่มชุมชนวิสาหกิจ
9.ลงพื้นที่การติดตาม ปัญหา ข้อจำกัด
10.สรุปผล
ระยะเวลาดำเนินงาน
11 พฤศจิกายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต : มีการบริหารจัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่เป็นรูปอย่างยั่งยืน 1 กลุ่ม
ผลลัพธ์ :
1. วิสาหกิจชุมชนอย่างเป็นรูปธรรมและมีความเป็นระบบมากขึ้น 1 กลุ่ม
2. นักศึกษาสามารถเทียบโอนรายวิชาได้ดังนี้
2.1 รหัสวิชา SC-022-101 พื้นฐานอิเล็กทรอนิกส์และดิจิทัล 3 หน่วยกิต
1) นางสาวกิตติยา พูลสุทธิ์ หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1460200098068
2) นายวิษณุ นามเขต หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1460200086949
3) นายพงศ์ธร สุวิชา หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1104200224701
4) นายมรรคพล โพธิ์วัง หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1469900507694
5) นายอริยะ มาตรา หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1129700203635
6) นายธนดล เกื้อปัญญา หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1461301216105
7) นายชนสรณ์ บุญศรี หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1460200097649

2.2 รหัสวิชา SC-022-206 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ 3 หน่วยกิต
1) นางสาวกิตติยา พูลสุทธิ์ หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1460200098068
2) นายวิษณุ นามเขต หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1460200086949
3) นายพงศ์ธร สุวิชา หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1104200224701
4) นายมรรคพล โพธิ์วัง หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1469900507694
5) นายอริยะ มาตรา หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1129700203635
6) นายธนดล เกื้อปัญญา หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1461301216105
7) นายชนสรณ์ บุญศรี หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1460200097649

2.3 รหัสวิชา SC-001-009 วิชาชีววิทยาทั่วไป 2 จำนวน 3 หน่วยกิต
1) นางสาวปิยากร ดอนถวิล หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1461000200612
2) นางสาวเอื้องฟ้า ดวงบุปผา หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1469900519625

2.4 รหัสวิชา 10201504 วิชาการเมืองการปกครองไทย จำนวน 3 หน่วยกิต
1) นายอนุภาพ กาสี หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1461301217659
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าตอบแทนวิทยากร 4 คน x 12 ชั่วโมง x 600 บาท

5 คน 600 12 36,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนนักศึกษา 10 คน x 40 วัน x 120 บาท

10 คน 120 40 48,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน

ค่าตอบแทนอาจารย์นิเทศ 4 คน x 10 วัน x 240 บาท

4 คน 240 10 9,600
ค่าอาหาร

ค่าอาหารกลางวัน 110 บาท x 150 คน x 2 วัน

150 คน 110 2 33,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 4 มื้อ x 35 บาท x 150 คน

150 คน 35 4 21,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

จ้างทำป้ายโครงการ จำนวน 1 ป้าย

1 ชิ้น 3,000 1 3,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

จ้างถ่ายเอกสารพร้อมเข้าเล่มสำหรับผู้เข้าร่วมการฝึกอบรม 150 ชุด x 200 บาท

150 ชุด 200 1 30,000
อื่น ๆ

ค่าจ้างเหมาทำโรงเรือนไฮโดรโปนิกส์ ขนาด 2 x 7 เมตร 5 โรงเรือน

5 ชุด 33,560 1 167,800
ค่าวัสดุสำนักงาน

กระดาษแข็งเทาขาว 10 แผ่น ๆ ละ 26 บาท

10 ชิ้น 26 1 260
ค่าวัสดุสำนักงาน

กระดาษ A4 จำนวน 4 รีม x 110 บาท

4 ชุด 110 1 440
ค่าวัสดุสำนักงาน

ปากกาไวท์บอร์ด หัวกลม ดำ 1 แพ็ค 12 ด้าม ชุด x 270 บาท

1 ชุด 270 1 270
ค่าตอบแทนวิทยากร

ปากกาไวท์บอร์ด หัวกลม น้ำเงิน 1 แพ็ค 12 ด้าม ชุด x 270 บาท

1 ชุด 270 1 270
ค่าตอบแทนวิทยากร

ปากกาไวท์บอร์ด หัวกลม แดง 1 แพ็ค 12 ด้าม ชุด x 270 บาท

1 ชุด 270 1 270
ค่าตอบแทนวิทยากร

หมึกพิมพ์ HP laserjet 85A black 2 หลอด x 2680 บาท

2 ชิ้น 2,680 1 5,360
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

D1 WiFi Arduino UNO board ESP8266 Arduino IDE (250 บาท x 10 ชุด)

10 ชุด 250 1 2,500
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

Arduino Adapter 12V 2A อะแดปเตอร์ 12V กระแส 2A หัว Jack ขนาด 5.5x2.5 / 5.5x2.1mm (180 บาท x 10 ชุด)

10 ชุด 180 1 1,800
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เซนเซอร์ตรวจสอบอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ DHT22 (170 บาท x 10 ชุด)

10 คน 170 1 1,700
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เซนเซอร์วัดความเป็นกรดเป็นเบสของน้ำ (PH Sensor arduino Analog pH Meter) (1500 บาท x 10 ชุด)

10 ชุด 1,500 1 15,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เซนเซอร์วัดระดับน้ำ Rain Raindrop Water Level Sensor Module Height Depth of Detection For Arduino (40 บาท x 10 ชุด)

10 ชุด 40 1 400
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

เซนเซอร์วัดแสง GY-30 BH1750FVI (60 บาท x 10 ชุด)

10 ชุด 60 1 600
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ชุด DIY ปั๊มน้ำอัตโนมัติ (Pump + Soil Moisture Module + Relay + กล่องใส่ถ่าน) (185 บาท x 10 ชุด)

10 ชุด 185 1 1,850
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

อุปกรณ์สร้างฐานเวลาจริง (DS3231 module RTC DS3231 AT24C32 IIC Module Precision Clock) (70 บาท x 10 ชุด)

10 ชุด 70 1 700
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

รีเลย์ Relay 5V 8 Channel (230 บาท x 10 ชุด)

10 ชุด 230 1 2,300
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

บอร์ดทดลอง (Breadboard 400 holes) (45 x 10 ชุด)

10 ชุด 45 1 450
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

สายไฟจัมเปอร์ 20cm สาย jumper 20 cm จำนวน 10 เส้น เมีย-เมีย สีแดง (25 บาท x 10 ชุด)

10 ชุด 25 1 250
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

สายไฟจัมเปอร์ jumper ผู้-เมีย ยาว 20cm จำนวน 10 เส้น (25 บาท x10 ชุด)

10 ชุด 25 1 250
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

สายไฟจัมเปอร์ 20cm แบบเดียว ผู้-ผู้ จำนวน 10 เส้น (25 บาท x 10 ชุด)

10 ชุด 25 1 250
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ปากกาหมึกเจล 0.7มม. หมึกน้ำเงิน ด้ามคละสี ตราม้า H-44 (50 ด้าม/กล่อง) 4 กล่อง

4 ชุด 500 1 2,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ปากกาหมึกเจล 0.7มม. หมึกแดง ตราม้า H-44 (50 ด้าม/กล่อง) 4 กล่อง

4 ชุด 500 1 2,000
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

กระดานไวท์บอร์ด 2 อัน x 4690 บาท

2 ชิ้น 4,690 1 9,380
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ซองพลาสติกใส่เอกสาร 150 ซอง

150 ชิ้น 22 1 3,300
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าเมล็ดพันธุ์ผักไฮโดรโปนิกส์ 2000 ซอง

2,000 ชิ้น 50 1 100,000
รวมค่าใช้จ่าย 500,000

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 99,500.00 3,000.00 54,000.00 175,700.00 167,800.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 19.90% 0.60% 10.80% 35.14% 33.56% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) - มีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 7 ต่อปี
- มีการบริหารจัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่เป็นรูปอย่างยั่งยืน 1 กลุ่ม
- มีระบบการบริหารจัดการ ที่มีคุณภาพและมาตรฐาน มากขึ้น 1 ระบบ
- นำเสนอขายได้จริง ร้อยละ 10
- เครื่องมือลดต้นทุนการผลิต ร้อยละ 5
1. การเรียนในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี ทักษะชีวิตและอาชีพ

2. สามารถเทียบโอนรายวิชา
2.1 รหัสวิชา SC-022-101 พื้นฐานอิเล็กทรอนิกส์และดิจิทัล 3 หน่วยกิต
1) นางสาวกิตติยา พูลสุทธิ์ หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1460200098068
2) นายวิษณุ นามเขต หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1460200086949
3) นายพงศ์ธร สุวิชา หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1104200224701
4) นายมรรคพล โพธิ์วัง หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1469900507694
5) นายอริยะ มาตรา หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1129700203635
6) นายธนดล เกื้อปัญญา หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1461301216105
7) นายชนสรณ์ บุญศรี หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1460200097649

2.2 รหัสวิชา SC-022-206 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ 3 หน่วยกิต
1) นางสาวกิตติยา พูลสุทธิ์ หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1460200098068
2) นายวิษณุ นามเขต หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1460200086949
3) นายพงศ์ธร สุวิชา หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1104200224701
4) นายมรรคพล โพธิ์วัง หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1469900507694
5) นายอริยะ มาตรา หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1129700203635
6) นายธนดล เกื้อปัญญา หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1461301216105
7) นายชนสรณ์ บุญศรี หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1460200097649

2.3 รหัสวิชา SC-001-009 วิชาชีววิทยาทั่วไป 2 จำนวน 3 หน่วยกิต
1) นางสาวปิยากร ดอนถวิล หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1461000200612
2) นางสาวเอื้องฟ้า ดวงบุปผา หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1469900519625

2.4 รหัสวิชา 10201504 วิชาการเมืองการปกครองไทย จำนวน 3 หน่วยกิต
1) นายอนุภาพ กาสี หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1461301217659
ผลลัพธ์ (Outcome) - กลุ่มวิสาหกิจชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 7
- วิสาหกิจชุมชนอย่างเป็นรูปธรรมและมีความเป็นระบบมากขึ้น 1 กลุ่ม
- มีระบบการบริหารจัดการ ที่มีคุณภาพและมาตรฐาน
- เป็นทียอมรับของตลาด ร้อยละ 10
- ลดต้นทุนการผลิต ร้อยละ 5
1. การเรียนในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี ทักษะชีวิตและอาชีพ

2. สามารถเทียบโอนรายวิชา
2.1 รหัสวิชา SC-022-101 พื้นฐานอิเล็กทรอนิกส์และดิจิทัล 3 หน่วยกิต
1) นางสาวกิตติยา พูลสุทธิ์ หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1460200098068
2) นายวิษณุ นามเขต หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1460200086949
3) นายพงศ์ธร สุวิชา หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1104200224701
4) นายมรรคพล โพธิ์วัง หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1469900507694
5) นายอริยะ มาตรา หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1129700203635
6) นายธนดล เกื้อปัญญา หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1461301216105
7) นายชนสรณ์ บุญศรี หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1460200097649

2.2 รหัสวิชา SC-022-206 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ 3 หน่วยกิต
1) นางสาวกิตติยา พูลสุทธิ์ หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1460200098068
2) นายวิษณุ นามเขต หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1460200086949
3) นายพงศ์ธร สุวิชา หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1104200224701
4) นายมรรคพล โพธิ์วัง หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1469900507694
5) นายอริยะ มาตรา หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1129700203635
6) นายธนดล เกื้อปัญญา หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1461301216105
7) นายชนสรณ์ บุญศรี หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1460200097649

2.3 รหัสวิชา SC-001-009 วิชาชีววิทยาทั่วไป 2 จำนวน 3 หน่วยกิต
1) นางสาวปิยากร ดอนถวิล หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1461000200612
2) นางสาวเอื้องฟ้า ดวงบุปผา หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1469900519625

2.4 รหัสวิชา 10201504 วิชาการเมืองการปกครองไทย จำนวน 3 หน่วยกิต
1) นายอนุภาพ กาสี หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1461301217659
ผลกระทบ (Impact) - มีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 7 ต่อปีจากการประกอบอาชีพปลูกผักสลัดไฮโดรโปนิกส์แบบอัตโนมัติ
- มีกลุ่มวิสาหกิจ 1 กลุ่ม
- คุณภาพและมาตรฐาน 1 ระบบ
- สร้างรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 7
1. การเรียนในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี ทักษะชีวิตและอาชีพ

2. สามารถเทียบโอนรายวิชา
2.1 รหัสวิชา SC-022-101 พื้นฐานอิเล็กทรอนิกส์และดิจิทัล 3 หน่วยกิต
1) นางสาวกิตติยา พูลสุทธิ์ หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1460200098068
2) นายวิษณุ นามเขต หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1460200086949
3) นายพงศ์ธร สุวิชา หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1104200224701
4) นายมรรคพล โพธิ์วัง หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1469900507694
5) นายอริยะ มาตรา หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1129700203635
6) นายธนดล เกื้อปัญญา หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1461301216105
7) นายชนสรณ์ บุญศรี หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1460200097649

2.2 รหัสวิชา SC-022-206 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ 3 หน่วยกิต
1) นางสาวกิตติยา พูลสุทธิ์ หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1460200098068
2) นายวิษณุ นามเขต หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1460200086949
3) นายพงศ์ธร สุวิชา หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1104200224701
4) นายมรรคพล โพธิ์วัง หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1469900507694
5) นายอริยะ มาตรา หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1129700203635
6) นายธนดล เกื้อปัญญา หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1461301216105
7) นายชนสรณ์ บุญศรี หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล สาขาวิชาวิทยาการสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1460200097649

2.3 รหัสวิชา SC-001-009 วิชาชีววิทยาทั่วไป 2 จำนวน 3 หน่วยกิต
1) นางสาวปิยากร ดอนถวิล หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1461000200612
2) นางสาวเอื้องฟ้า ดวงบุปผา หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1469900519625

2.4 รหัสวิชา 10201504 วิชาการเมืองการปกครองไทย จำนวน 3 หน่วยกิต
1) นายอนุภาพ กาสี หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ (นักศึกษา) เลขบัตรประชาชน 1461301217659
นำเข้าสู่ระบบโดย นายไพฑูรย์  ทิพย์สันเทียะ นายไพฑูรย์ ทิพย์สันเทียะ เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 13:41 น.