การพัฒนาและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ OTOP ให้เข้าสู่ตลาดสากลของตำบลนาบอน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
การพัฒนาและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ OTOP ให้เข้าสู่ตลาดสากลของตำบลนาบอน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

การพัฒนาและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ OTOP ให้เข้าสู่ตลาดสากลของตำบลนาบอน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขนวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยศรีปทุม1. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม 2. สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 3. สมาคมผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมไทย 4. กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย 5. พัฒนาการชุมชนจังหวัดกาฬสินธุ์ 6. พัฒนาการชุมชนอำเภอคำม่วงตำบลนาบอน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์1.ดร.สรพล บูรณกูล วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน บางเขน 2.อาจารย์อมรรัตน์ หมื่นจิตน้อย คณะโลจิสติกส์และซัพพลายเชน วิทยาเขตชลบุรี 3.อาจารย์นพวรรณ สืบสายลา วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน วิทยาเขตขอนแก่น 4. ดร.พรทิวา แสงเขียว คณะบัญชี วิทยาเขตชลบุรี 5.อาจารย์วิกานดา แสงกล้า คณะศิลปศาสตร์วิทยาเขตชลบุรี 6.อาจารย์เดือนเด่น วิบูลย์พันธุ์ วิทยาลัยนานาชาติวิทยาเขตบางเขน 7.อาจารย์อภิสิทธิ์ ปุรสาชิต คณะดิจิทัลมีเดีย วิทยาเขตบางเขน2410/2 ถนนพหลโยธิน เขตจัตุจักร กรุงเทพฯ 10900081-936-07101. นายนัฐพร ทับละครรหัสนักศึกษา 60021410 ชั้นปีที่ 3 เลขบัตรประชาชน 1401500176162
สาขาวิชา การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน วิทยาเขตบางเขน
หน่วยกิตที่ลงทะเบียนภาค 2/2562 จำนวน 20 หน่วยกิต

2. นายภานุจันทร์หอมรหัสนักศึกษา 61703930 ชั้นปีที่ 2 เลขบัตรประชาชน 1660401133268
สาขาวิชา การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน วิทยาเขตชลบุรี
หน่วยกิตที่ลงทะเบียนภาค 2/2562 จำนวน 18 หน่วยกิต

3.นางสาวประภัสสร ภูนารีรหัสนักศึกษา 60401849 ชั้นปีที่ 3 เลขบัตรประชาชน 1460700256355
สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน วิทยาเขตขอนแก่น
หน่วยกิตที่ลงทะเบียนภาค 2/2562 จำนวน 22 หน่วยกิต

4.นางสาวสุนิตา มณีสุทธิ์รหัสนักศึกษา 60400933 ชั้นปีที่ 3 เลขบัตรประชาชน 1439900330671
สาขาวิชา การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน วิทยาเขตขอนแก่น
หน่วยกิตที่ลงทะเบียนภาค 2/2562 จำนวน 22 หน่วยกิต

5.นางสาวแจ่มนภา เงินจันทร์ รหัสนักศึกษา 60400471 ชั้นปีที่ 3 เลขบัตรประชาชน 1411101331423
สาขาวิชา การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน วิทยาเขตขอนแก่น
หน่วยกิตที่ลงทะเบียนภาค 2/2562 จำนวน 22 หน่วยกิต

6. นางสาวคัทลียา ภู่เงิน รหัสนักศึกษา 60030173 ชั้นปีที่ 3 เลขบัตรประชาชน 1100702742675
สาขาวิชา การออกแบบกราฟิก คณะดิจิทัลมีเดีย วิทยาเขตบางเขน
หน่วยกิตที่ลงทะเบียนภาค 2/2562 จำนวน 19 หน่วยกิต

7. นายสัมพล กรินรักษ์รหัสนักศึกษา 60012586 ชั้นปีที่ 3 เลขบัตรประชาชน 1103702681458
สาขาวิชา การออกแบบกราฟิก คณะดิจิทัลมีเดีย วิทยาเขตบางเขน
หน่วยกิตที่ลงทะเบียนภาค 2/2562 จำนวน 19 หน่วยกิต

8. นายภัทรนันท์เฟื่องพูนทรัพย์รหัสนักศึกษา 60709990 ชั้นปีที่ 3 เลขบัตรประชาชน 1200101789951
สาขาวิชา ภาษาอังกฤษสื่อสารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร์วิทยาเขตชลบุรี
หน่วยกิตที่ลงทะเบียนภาค 2/2562 จำนวน 22 หน่วยกิต

9. นายวิศรุต พันธุ์วิไลทรัพย์รหัสนักศึกษา 59711491 ชั้นปีที่ 4 เลขบัตรประชาชน 1209700721970
สาขาวิชา การบัญชี คณะบัญชีวิทยาเขตชลบุรี
หน่วยกิตที่ลงทะเบียนภาค 2/2562 จำนวน 9 หน่วยกิต

10. Mr.Chanboty Lay รหัสนักศึกษา 61051849 ชั้นปีที่ 2 Passport No.1117609
สาขาวิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ(หลักสูตรนานาชาติ)วิทยาลัยนานาชาติวิทยาเขตบางเขน
หน่วยกิตที่ลงทะเบียนภาค 2/2562 จำนวน 18 หน่วยกิต

จำนวนหน่วยกิตที่สามารถเทียบโอนได้ เทียบเท่า 1 ภาคการศึกษา
หลักสูตร การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน วิทยาเขตบางเขน จำนวน 20 หน่วยกิต
หลักสูตร การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน วิทยาเขตชลบุรี จำนวน 18 หน่วยกิต
หลักสูตร การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน วิทยาเขตขอนแก่น จำนวน 22 หน่วยกิต
หลักสูตร การออกแบบกราฟิก จำนวน 19 หน่วยกิต
หลักสูตร ภาษาอังกฤษสื่อสารธุรกิจ จำนวน 22 หน่วยกิต
หลักสูตร การบัญชี จำนวน 9 หน่วยกิต
หลักสูตร Bachelor of Business Administration (Business Management) จำนวน 18 หน่วยกิต

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์
กาฬสินธุ์ คำม่วง นาบอน ชนบท

3. รายละเอียดชุมชน

ตำบลนาบอน มีที่ตั้งอยู่ใกล้กับเทือกเขาภูพาน อย่างห่างจากอำเภอคำม่วงไปทางทิศตะวันออก ประมาณ 7 กิโลเมตรอยู่ห่างจากจังหวัดกาฬสินธุ์ ประมาณ 85 กิโลเมตรลักษณะภูมิประเทศ เป็นที่ราบสูงเชิงเขามีลำห้วยปอล้ำห้วยสมอทบ และลำห้วยแก้งไหลผ่าน มีเนื้อที่ทั้งหมด๙๗ตารางกิโลเมตร สภาพดินเป็นดินร่วนปนทรายมีพื้นที่เป็นป่าเขามีภูเขาอยู่รอบพื้นที่บริเวณทางทิศเหนือ และทิศตะวันออกของตำบล จำนวน7ลูกมีเนื้อที่ประมาณ15,000 ไร่ ประกอบด้วย ภูพรานยอด ภูปอ ภูผักหวาน ภูโป่ง ภูหินปูน ภูตุ่น และ ภูถ้ำพระซึ่งเป็นป่า
ที่ยังมีสภาพที่อุดมสมบูรณ์มีอาหารป่าให้ชาวบ้านสามารถนำมาเป็นอาหารเลี้ยงครอบครัว และสร้างรายได้ให้กับชุมชนหมุนเวียนตลอดปี เช่น หน่อไม้ผักหวาน ดอกกระเจียวเห็ด และหอยหอม เป็นต้น ด้านทิศตะวันออกของตำบลมีแนวเขตติดต่อกับอุทยานแห่งชาติภูพาน
ทิศเหนือ จดตำบลดินจี่
ทิศใต้ จดตำบลโพนตำบลเนินยาง
ทิศตะวันออก จดตำบลดินจี่อำเภอคำม่วง และตำบลแซงบาดาล อำเภอสมเด็จ
ทิศตะวันตก จดตำบลโพนตำบลทุ่งคลอง
มีหมู่บ้านในเขตปกครอง จำนวน11หมู่บ้านประกอบด้วย
หมู่ 1 บ้านนาบอน นายอ่อนสาภูแดนไกร ผู้ใหญ่บ้าน
หมู่ 2 บ้านนาบอน นายผาศักดิ์คำออน ผู้ใหญ่บ้าน
หมู่ 3 บ้านสะพานหินนายสมบัติ อรรถประจง ผู้ใหญ่บ้าน
หมู่ 4 บ้านคำสมบูรณ์ นายอมร จำปารา ผู้ใหญ่บ้าน
หมู่ 5 บ้านคำเมย นายชูวิทย์ สุรันนา ผู้ใหญ่บ้าน
หมู่ 6 บ้านหัวนาคำ นายวิชัย ภูล้ำผา ผู้ใหญ่บ้าน
หมู่ 7 บ้านโนนศรีสวัสดิ์ส.ต.สุปัน สุรัญณา ผู้ใหญ่บ้าน
หมู่ 8 บ้านทุ่งมน นายสมบูรณ์สุพรรณธนาผู้ใหญ่บ้าน
หมู่ 9บ้านบะเอียด นายสุระพล คาดีวี ผู้ใหญ่บ้าน
หมู่ 10บ้านนาอุดม นายจรัญ โคตรรักษา ผู้ใหญ่บ้าน
หมู่ 11บ้านนาเจริญ นายบุญจัน จันทวิสา กำนันตำบลนาบอน
กลุ่มอาชีพ
- กลุ่มวิสาหกิจชุมชนทอผ้าไหมมัดหมี่บ้านนาบอน หมู่ 2 ได้แก่ ผ้าไหมมัดหมี่ ผ้าไหมแพรวา ผ้าทอพื้นบ้านอื่นๆ
- กลุ่มแปรรูปสมุนไพรบ้านนาบอน หมู่ 2ได้แก่ ขิงผงกระชายผง มะตูมผงลูกยอผง
- กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรฟื้นฟูเศรษฐกิจบ้านนาเจริญหมู่ 11ได้แก่ เทียนหอมสมุนไพรแซมพู ครีมนวดพิมเสน
- กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรทอผ้าไหมแพรวาบ้านโนนศรีสวัสดิ์
- กลุ่มวิสาหกิจเพาะเห็ดบ้านคำเมยหมู่ 5
- กลุ่มสตรีทอผ้าไหมมัดหมี่บ้านนาบอน หมู่ 1
- กลุ่มเตาอั่งโล่บ้านนาบอน หมู่ 2 และบ้านคำสมบูรณ์ หมู่ 4
- กลุ่มผักปลอดสารบ้านสะพานหิน หมู่ 3
- กลุ่มจักสานบ้านสะพานหิน หมู่ 3
- กลุ่มทอผ้าพื้นเมืองบ้านสะพานหิน หมู่ 3
- กลุ่มแปรรูปกระเป๋าและเนตคลุมผมบ้านสะพานหิน หมู่ 3
ประเด็นปัญหาหลัก
1. ความยั่งยืนของกระบวนการพัฒนาชุมชนเพื่อเป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้
2. มีความแหลื่อมล้ำของคุณภาพชีวิตประชาชนทั้งในด้านอาชีพ ด้านรายได้ และการเข้าถึงการพัฒนาองค์ความรู้
3. ขาดองค์ความรู้และงบประมาณในการพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์ รวมถึงการแปรรูปผลิตภัณฑ์ และบรรจุภัณฑ์
ประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้อง
1. ไม่มีงบประมาณในการปรับปรุงและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี
2. การใช้สารเคมีในภาคการเกษตร การทำเกษตรเชิงเดี่ยว
3. ไม่มีนักท่องเที่ยวเข้าไปเที่ยวในพื้นที่
4. ไม่มีสื่อและงบประมาณในการประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยว
1.ความต้องการในการพัฒนาท้องถิ่น
2.ความต้องการในารพัฒนาทางด้านครัวเรือน
3.การพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1. หลักการจัดการธุรกิจแบบลีน คือหลักการที่คณะทำงานจะนำไปใช้เพื่อถ่ายทอดความรู้ให้วิสาหกิจชุมชนสามารถปรับปรุงกระบวนการผลิตสินค้า ให้สามารถลดความสูญเปล่าที่เกิดขึ้นในการะบวนการทำงาน ดังนั้น จะสามารถลดต้นทุน
2. การปรับผังกระบวนการผลิต
3. การลดความสูญเปล่าในกระบวนการผลิต
4. การออกแบบบรรจุภัณฑ์ ซึ่งจะทำให้เกิด การยกระดับคุณภาพของ Brand การสื่อสารข้อมูลของสินค้า ทั้งลูกค้าชาวไทย ต่างชาติ และลูกค้าชาวจีน รวมทั้งประสิทธิภาพในด้านการขนส่ง
5. การคิดบัญชีต้นทุนของผลิตภัณฑ์
6. การวัดผลการดำเนินงานของกิจการ (การคำนวณกำไรขาดทุนของผลิตภัณฑ์)
7. การวัดฐานะทางการเงินของกิจการ

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและข้อมูลพื้นฐานของผลิตภัณฑ์ OTOP ของตำบลนาบอน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์

ทราบถึงผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพในการทำการพัฒนาและทำการตลาดได้

0.00 1.00
2 เพื่อพัฒนาและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ OTOP ให้เข้าสู่ตลาดสากลของตำบลนาบอน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์

ผลิตภัณฑ์สามารถเข้าถึงลูกค้าและตลาดต่างประเทศได้ โดยเฉพาะลูกค้าชาวจีน

0.00 1.00
3 เพื่อลดต้นทุนผลิตภัณฑ์ และจัดทำระบบการบันทึกบัญชีเบื้องต้น

1.ต้นทุนลดลง ไม่น้อยกว่า 5% ซึ่งจะทำให้มีผลกำไรต่อหน่วยเพิ่มขึ้น 2.มีการจัดทำระบบบัญชีที่ได้มาตรฐานเบื้องต้น

0.00 1.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
สมาชิกชุมชน ที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ OTOP 30

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 สำรวจความต้องการจำเป็นของชุมชน ในการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์

ชื่อกิจกรรม
สำรวจความต้องการจำเป็นของชุมชน ในการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและข้อมูลพื้นฐานของผลิตภัณฑ์ OTOP ของตำบลนาบอน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดกิจกรรม
นักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษามหาวิทยาลัยร่วมกับชุมชนในการสำรวจพื้นที่ เพื่อเป็นโจทย์ในนักศึกษาได้ทดลองและจัดทำโครงงาน ลงพื้นที่พร้อมกับกรมการพัฒนาชุมชน โดยนำโมเดลที่มีอยู่เดิมมาเป็นแนวทางในการพัฒนาให้เหมาะสมกับพื้นที่ โดยการสำรวจมีรายละเอียดดังนี้ การสำรวจในส่วนของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพในการแข่งขัน เพื่อนำมาเพิ่มมูลค่าในด้านบรรจุภัณฑ์ การลดต้นทุนการผลิต การจัดทำระบบบัญชีเบื้องต้น
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 31 มกราคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1.เพื่อค้นหาผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพสามารถแข่งขันได้
2.เมื่อทราบถึงสภาพการผลิตในปัจจุบัน สามารถนำมาวิเคราะห์หาความสูญเปล่า(waste) ต่างๆ ในกระบวนการผลิต ซึ่งจะนำมาปรับปรุงวิธีการทำงานที่มีประสิทธิภาพ
3.ทราบความต้องการจำเป็นในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของชุมชน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
1. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
2. สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
3. สมาคมผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมไทย
4. กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
5. พัฒนาการชุมชนจังหวัดกาฬสินธุ์
6. พัฒนาการชุมชนอำเภอคำม่วง
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าเช่ารถ

รถตู้พร้อมน้ำมันเหมาจ่าย 7 วัน

7 ครั้ง 3,000 2 42,000
ค่าอาหาร

ค่าอาหารในวันประชุม จำนวน 2 ครั้ง คณะ

44 คน 150 2 13,200
ค่าวัสดุสำนักงาน 1 คน 10,000 1 10,000
ค่าตอบแทนวิทยากร

คนละ 3,000 บาท จำนวน 2 ครั้ง

6 คน 3,000 2 36,000
ค่าตอบแทนการประสานงาน 1 คน 4,000 1 4,000
ค่าที่พักตามจริง

คณะทำงาน 14 คน จำนวน 7 วัน

14 คน 700 7 68,600
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

คณะทำงาน 14 คน สมาชิกชุมชน 30 คน

44 คน 300 2 26,400
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ครั้ง 1,000 1 1,000
ค่าเช่าสถานที่ 2 ครั้ง 3,000 2 12,000
รวมค่าใช้จ่าย 213,200

กิจกรรมที่ 2 โครงการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ OTOP ให้เข้าสู่มาตรฐานสากล

ชื่อกิจกรรม
โครงการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ OTOP ให้เข้าสู่มาตรฐานสากล
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ OTOP ให้เข้าสู่ตลาดสากลของตำบลนาบอน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์
รายละเอียดกิจกรรม
1.นำผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการวิเคราะห์ว่ามีศักยภาพในการแข่งขันมาออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่า และเข้าถึงตลาดต่างประเทศ โดยเฉพาะลูกค้าชาวจีน
2.ร่วมประชุมคณะทำงาน ทีมออกแบบ ผู้เชี่ยวชาญด้านการตลาด การผลิต การขนส่ง ภาษา เจ้าของผลิตภัณฑ์
3.ได้ผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่พัฒนา
4. ทำการทดสอบตลาด
5. ปรับปรุงผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้าย
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ได้บรรจุภัณฑ์ที่มีมาตรฐานสามารถสื่อสารบ่งชี้คุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ ได้ทั้งภาษาไทย อังกฤษ จีน ส่งผลให้เกิดมูลค่าเพิ่มกับผลิตภัณฑ์ของชุมชน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าใช้จ่ายในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ของผู้เชี่ยวชาญ

2 คน 20,000 1 40,000
ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 5,000 1 5,000
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

คณะทำงาน เจ้าของผลิตภัณฑ์

44 คน 300 2 26,400
ค่าเช่ารถ 2 ครั้ง 3,000 3 18,000
อื่น ๆ

ค่าเหมาจ่ายพิมพ์ต้นแบบบรรจุภัณฑ์ (พิมพ์สี)

1 ชุด 20,200 1 20,200
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 คน 1,000 1 1,000
ค่าเช่าสถานที่ 1 ครั้ง 3,000 1 3,000
รวมค่าใช้จ่าย 113,600

กิจกรรมที่ 3 ลดต้นทุนผลิตภัณฑ์ พร้อมทำระบบบันทึกบัญชี

ชื่อกิจกรรม
ลดต้นทุนผลิตภัณฑ์ พร้อมทำระบบบันทึกบัญชี
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อลดต้นทุนผลิตภัณฑ์ และจัดทำระบบการบันทึกบัญชีเบื้องต้น
รายละเอียดกิจกรรม
1.วิเคราะห์กระบวนการผลิตเพื่อกิจกรรมที่เป็นความสูญเปล่า
2.วางผังกระบวนการทำงานในผลิตภัณฑ์ที่ต้องการลดต้นทุน
3.วิเคราะห์เปรียบเทียบผล ก่อน-หลังการปรับปรุง
4.จัดทำระบบบันทึกบัญชีเบื้องต้น
5.สอนและถ่ายทอดองค์ความรู้ใหม่ให้วิสาหกิจชุมชน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
1.ลดต้นทุนได้ไม่ต่ำกว่า 5 %
2. ได้ระบบบันทึกบัญชีเบื้องต้นที่ทำให้สามารถวางแผนดำเนินธุรกิจได้
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ

ค่าตอบแทนผู้เชี่ยวชาญ คณะทำงานในการวิเคราะห์ระบบงานใหม่ พร้อมระบบบัญชีพื้นฐาน

5 คน 6,000 1 30,000
ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 10,000 1 10,000
ค่าพาหนะเดินทาง - เครื่องบิน 3 คน 5,000 2 30,000
ค่าเช่ารถ 2 ครั้ง 3,000 3 18,000
อื่น ๆ

ค่าวัสดุ อุปกรณ์เพื่อใช้ในการทดลองการผลิตจากกระบวนการที่ได้รับการปรับปรุงใหม่

1 ชุด 25,000 1 25,000
ค่าที่พักตามจริง

คืนละ 700 บาท จำนวน 2 คืน

14 คน 700 2 19,600
ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

คณะทำงาน 14 คน สมาชิกชุมชน 30 คน

44 คน 300 1 13,200
ค่าอาหาร 44 คน 150 2 13,200
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์ 1 คน 1,000 1 1,000
ค่าเช่าสถานที่ 2 ครั้ง 3,000 2 12,000
ค่าวัสดุสำนักงาน 2 ครั้ง 600 1 1,200
รวมค่าใช้จ่าย 173,200

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 106,000.00 3,000.00 249,600.00 26,200.00 115,200.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 21.20% 0.60% 49.92% 5.24% 23.04% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) 1.ผลิตภัณฑ์ OTOP ที่มีมูลค่าเพิ่ม มีบรรจุภัณฑ์ที่สามารถขายนักท่องเที่ยวต่างชาติและจีนได้
2.ระบบการบันทึกบัญชีเบื้องต้น
การเรียนรู้สภาพจริง ฝึกประสบการณ์จริง จากพื้นที่จริง สภาพปัญหาจริง โดยประเมินจากผลการลงพื้นที่
ผลลัพธ์ (Outcome) รายได้วิสาหกิจชุมชนที่เพิ่มขึ้นจากเดิม(เฉลี่ย 65,968 บาทต่อคนต่อปี) 7%เป็น 70,585 บาทต่อคนต่อปี โดยวัดจากผลิตภัณฑ์ที่นำมาพัฒนาเนื่องจากลดกระบวนการที่เป็นความสูญเปล่าลงได้ การเรียนรู้สภาพจริง ฝึกประสบการณ์จริงจากพื้นที่จริง สภาพปัญหาจริง โดยประเมินจากผลการลงพื้นที่
ผลกระทบ (Impact) การสร้างความยั่งยืนให้เกิดขึ้นในชุมชน การวัดและประเมินผลภาคปฏิบัติ (Practical assessment) ประเมินจากโครงงาน และการนำเสนอ รวมทั้งสังเกตพฤติกรรมระหว่างร่วมโครงการและทำโครงงานที่ได้รับมอบหมาย
นำเข้าสู่ระบบโดย kriangkrai.sa01 kriangkrai.sa01 เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 13:26 น.