การพัฒนาศักยภาพกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองบ้านจันทร์ส่องหล้า ตำบลห้วยแม็ก อำเภอห้วยแม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์

แบบเสนอโครงการ
การพัฒนาศักยภาพกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองบ้านจันทร์ส่องหล้า ตำบลห้วยแม็ก อำเภอห้วยแม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์

1. ชื่อโครงการ

การพัฒนาศักยภาพกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองบ้านจันทร์ส่องหล้า ตำบลห้วยแม็ก อำเภอห้วยแม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่นสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอห้วยเม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์ มีบทบาทในการอำนวยความสะดวก ประสานงานในชุมชน มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ มีบทบาทในการอำนวยความสะดวก สนับสนุนองค์ความรู้บ้านจันทร์ส่องหล้า ตำบลห้วยแม็ก อำเภอห้วยแม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์ดร.เครือวัลย์มาลาศรี150081-25772341.ผศ.ดร.อาดา รัยมธุรพงษ์รองอธิการบดีประจำวิทยาเขตขอนแก่น
2.นายประพันธ์ ยาวระ คณบดีคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
3.ดร.ฉัตรแก้วสุริยะภา อาจารย์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
4.ดร.ณภัทรอินนานนท์ อาจารย์คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
5.ดร.ประสิทธิ์วิชัยอาจารย์ สาขาสังคมศาสตร์
6.นายมานพดอนเหมื่นอาจารย์ สาขาช่างกลโรงงาน
7.นายเอกชัย คุปวาทินอาจารย์คณะบริหารธุรกิจฯ
8.นส.ฐิติพร จันทร์ดาอาจารย์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
9.ดร.ณรงค์ สีหาจ่อง อาจารย์คณะวิศวกรรมศาสตร์
10. ดร.สุบรรผลกะสิอาจารย์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
11. นางจีรวรรณ ยาวระคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
12.นส.ปัทมมเกสร์ ราชธานี แผนกงานวิจัยและพัฒนา สนง.วิทยาเขต
13.นายภคพงษ์เสมอจันทร์ นักศึกษา สาขาระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์
14.นส.สุชาดาเวียงหนองหว้า นักศึกษา สาขาระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์
16.นส.จิราวรรณทองยา นักศึกษาสาขาระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์
16.นายบุรินทร์วงษ์สกุล นักศึกษาวิศวกรรมโลหะการ
17นายคมสันต์ศรีเสสนาม นักศึกษา วิศวกรรมโลหะการ
18.นส.ทิราพรหลาวทอง นักศึกษา คอบ.โยธา
19นส.พิฤดีหลาวทอง นักศึกษา คอบ.โยธา
20.นายวีรุศักดิ์ศรีเชียงสา นักศึกษาวิศวกรรม
21.นายนรินทรสุขบำรุง นักศึกษาวิศวกรรม
22.นายจิรายุทธ แถวบุญตา นักศึกษาคอบ.เครื่องกล

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ ห้วยเม็ก ห้วยเม็ก ชนบท
กาฬสินธุ์ ห้วยเม็ก ห้วยเม็ก ชานเมือง

3. รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลทั่วไป บ้านจันทร์ส่องหล้าหมู่ที่10ตำบลห้วยเม็กอำเภอห้วยเม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์
1..ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน
บ้านจันทร์ส่องหล้าหมู่ที่ 10 ตำบลห้วยเม็ก เดิมขึ้นอยู่กับบ้านห้วยเม็ก หมู่ที่ 1 ตำบลห้วยเม็กอำเภอห้วยเม็กจังหวัดกาฬสินธุ์ต่อมาในปี พ.ศ.. 2525นายจันทร์ภูเยี่ยมจิตร ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่1ตำบลห้วยเม็กในขณะนี้ได้เป็นผู้ริเริ่มขอแยกและจัดตั้งหมู่บ้านใหม่เนื่องจากมีจำนวนประชากร และจำนวนครัวเรือนเพิ่มขึ้นทำให้การปกครองไม่ทั่งถึงและได้มีการประชุมประชาคมและเห็นพ้องให้ตั้งชื่อหมู่บ้านใหม่ตามชื่อของผู้ใหญ่บ้าน คือ
“นายจันทร์”โดยให้ชื่อว่า “บ้านจันทร์ส่องหล้า”
2. สภาพทั่วไป
2.1 ลักษณะทั่วไป
-บ้านจันทร์ส่องหล้า ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของที่ว่าการอำเภอห้วยเม็กจังหวัดกาฬสินธุ์อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอห้วยเม็กจังหวัดกาฬสินธุ์ 2กิโลเมตรห่างจากจังหวัดกาฬสินธุ์55กิโลเมตร
2.2 อาณาเขตติดต่อ
-ทิศเหนือ ติดกับเขตบ้านพานสุวรรณ หมู่ที่ 2 ตำบลห้วยเม็ก อำเภอห้วยเม็ก
-ทิศใต้ ติดกับเขตบ้านห้วยเม็ก หมู่ที่ 11ตำบลห้วยเม็ก อำเภอห้วยเม็ก
-ทิศตะวันออก ติดกับเขตบ้านรุ่งอรุณหมู่ที่ 14 ตำบลห้วยเม็ก อำเภอห้วยเม็ก
-ทิศตะวันตก ติดกับเขตบ้านหนองกุงใต้ อำเภอชื่นชม จังหวัดมหาสารคาม
การปกครอง และการบริหารการปกครอง
บ้านจันทร์ส่องหล้า หมู่ที่ 10 ตำบลห้วยเม็กอำเภอห้วยเม็กมีประชากรทั้งสิ้น จำนวน592คน แยก จำนวน ครัวเรือน 137 ครัวเรือน
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร ลักษณะภูมิประเทศ
-สภาพพื้นที่ทั่วไปเป็นพื้นที่ดอนสลับที่ราบเป็นบางแห่งพื้นที่มีความลาดเอียง ไม่มีภูเขาและแม่น้ำสายสำคัญไหลผ่านพื้นที่ สภาพดินเป็นกลุ่มดินร่วนปนทราย สีดินมีทั้งสีน้ำตาลเหลืองและแดง ไม่เก็บน้ำ ความอุดมสมบูรณ์ต่ำ ปฏิกิริยาดินเป็นดินที่มีความเป็นกรดถึงกรดแก่ มีค่าของความเป็นกรด (P.H.) 4.5-5.5 พื้นที่เพาะปลูกจึงมีโอกาสขาดแคลนน้ำได้ง่าย

พื้นที่และการทำประโยชน์
-บ้านจันทร์ส่องหล้ามีพื้นที่ทั้งหมด 85 ไร่
-การถือครองของบ้านจันทร์ส่องหล้าเป็นการออกเอกสารสิทธิ์ให้แก่ ราษฎรทั้งโฉนดที่ดิน,หนังสือรับรองการทำประโยชน์ (น.ส.3), ใบจอง (น.ส.2) และอนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน
(ส.ป.ก. 4-01)
การประกอบอาชีพประกอบด้วย
1..ทำนาข้าว
2. ทำไร่ อ้อยมันสำปะหลังยางพารา
3.เลี้ยงสัตว์
สินค้าหรือผลิตภัณฑ์ทางเศรษฐกิจที่สำคัญ
1.การทอเสื่อกก
2.การทอผ้าพื้นเมือง
ข้อมูลประเด็นปัญหา การทำลายทรัพยากรในพื้นที่ การขยายพื้นที่ปลูกพืชเชิงเดี่ยวทางการเกษตร ใช้สารเคมี สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรม ผลผลิตตกต่ำ ปัญหาหนี้สิน, รายได้น้อย
สุขภาพเสื่อมโทรม ปัญหาสังคม
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่ ต้องการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง และชุมชนให้ดีมีรายได้เพิ่มขึ้น ต้องการพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ในชุมชน มีการผลิตที่ดี เป็นระบบ การผลิตที่ปลอดภัย ตรงตามความต้องการของตลาด เกษตรปลอดภัย หรือกลุ่มวิสาหกิจที่สามารถสร้างรายได้หลายการเก็บเกี่ยว หรือให้กับกลุ่มอาชีพต่างๆ ในชุมชน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1.กระบวนการวิจัยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
2. การเพิ่มมูลค่าโดยการออกแบบ 4. สีย้อมธรรมชาติและการผลิตบนพื้นฐานภูมิปัญญา 5. อุปกรณ์ด้านวิศวกรรมที่ช่วยลดการสูญเสียทางการผลิตและทุ่นแรง 6. ระบบบัญชี การจัดจำหน่าย และการจัดการ

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อวิเคราะห์บริบท ของชุมชนบ้านจันทร์ ส่องหล้าในประเด็น ปัญหาและความ ต้องการเชิงพื้นที่

-แผนที่ชีวิตในการพัฒนา ตนเองของสมาชิกกลุ่ม ผ้าทอ
-แผนพัฒนากลุ่มผ้าทอ พื้นเมือง

2.00 30.00
2 เพื่อวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมในการ พัฒนาศักยภาพของ ชุมชนผ้าทอบ้านจันทร์ ส่องหล้า
  • แบบลายผ้าที่ได้รับการพัฒนาเป็นเอกลักษณ์ ของชุมชน -สีย้อมธรรมชาติ
    -อุปกรณ์ช่วยเหลือด้าน การทอ
1.00 3.00
3 เพื่อพัฒนาต่อยอดมูลค่าผลิตภัณฑ์
  • smart enterprise บนเว็ปไซด์ วิธีการสื่อสารสากล ระบบบัญชี การจัดจำหน่าย และการจัดการ
1.00 1.00
4 1. เพื่อวิเคราะห์บริบท ของชุมชนบ้านจันทร์ ส่องหล้าในประเด็น ปัญหาและความ ต้องการเชิงพื้นที่ 2. เพื่อวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมในการ พัฒนาศักยภาพของ ชุมชนผ้าทอบ้านจันทร์ ส่องหล้า 3.เพื่อพัฒนาต่อยอดมูลค่าผลิตภัณฑ์

-แผนที่ชีวิตในการพัฒนา ตนเองของสมาชิกกลุ่ม ผ้าทอ
-แผนพัฒนากลุ่มผ้าทอ พื้นเมือง
- แบบลายผ้าที่ได้รับการพัฒนาเป็นเอกลักษณ์ ของชุมชน -สีย้อมธรรมชาติ
-อุปกรณ์ช่วยเหลือด้าน การทอ - smart enterprise บนเว็ปไซด์ วิธีการสื่อสารสากล ระบบบัญชี การจัดจำหน่าย และการจัดการ

2.00 500.00
5 1. เพื่อวิเคราะห์บริบท ของชุมชนบ้านจันทร์ ส่องหล้าในประเด็น ปัญหาและความ ต้องการเชิงพื้นที่ 2. เพื่อวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมในการ พัฒนาศักยภาพของ ชุมชนผ้าทอบ้านจันทร์ ส่องหล้า3.เพื่อพัฒนาต่อยอดมูลค่าผลิตภัณฑ์

แผนที่ชีวิตในการพัฒนา ตนเองของสมาชิกกลุ่ม ผ้าทอ
-แผนพัฒนากลุ่มผ้าทอ พื้นเมือง
- แบบลายผ้าที่ได้รับการพัฒนาเป็นเอกลักษณ์ ของชุมชน
-สีย้อมธรรมชาติ
-อุปกรณ์ช่วยเหลือด้าน การทอ - smart enterprise บนเว็ปไซด์ วิธีการสื่อสารสากล ระบบบัญชี การจัดจำหน่าย และการจัดการ

2.00 500.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มทอผ้าพื้นเมืองบ้านจันทร์ส่องหล้า 30
ชุมชนใกล้เคียง หน่วยงานภาคีที่มีส่วนเกี่ยวข้อง 30

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 เตรียมความพร้อมกระบวนการวิจัยแบบมีส่วนร่วมในชุมชนให้กับอาจารย์ที่ปรึกษา และนักศึกษา

ชื่อกิจกรรม
เตรียมความพร้อมกระบวนการวิจัยแบบมีส่วนร่วมในชุมชนให้กับอาจารย์ที่ปรึกษา และนักศึกษา
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อวิเคราะห์บริบท ของชุมชนบ้านจันทร์ ส่องหล้าในประเด็น ปัญหาและความ ต้องการเชิงพื้นที่
รายละเอียดกิจกรรม
1.เตรียมความพร้อมกระบวนการวิจัยแบบมีส่วนร่วมในชุมชนให้กับอาจารย์ที่ปรึกษา และนักศึกษา -จัดประชุม ทีมอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ และนักศึกษา เพื่อแจ้งวัตถุประสงค์ และวิธีดำเนินงานโครงการ 1 ครั้ง - อบรมให้ความรู้แก่นักศึกษาใน ด้านการวิจัยชุมชน, การใช้ เครื่องมือในการวิจัย, การเก็บ รวบรวมข้อมูล, การปรับตัวให้ สอดคล้องกับบริบทของชุมชน -ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ โครงการให้กับกลุ่มเป้าหมายในชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2562 ถึง 30 พฤศจิกายน 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Output) ได้ความรู้ในการทำวิจัยแบบมีส่วนร่วมในชุมชน
-การทำแผนที่ชีวิต แนวทางในการพัฒนาตนเองและสังคม
-การเรียนรู้ในวิถีชุมชนและเศรษฐกิจพอเพียงในบริบทของพื้นที่และการนำนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
ผลลัพธ์ (Outcome)
-นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้
องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานได้จริง
-มีสำนึกในความเป็นธรรมและ
มีจิตสาธารณะ
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอห้วยแม็ก สนับสนุนความรู้
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ 50 คน 30 1 1,500
ค่าอาหาร 50 คน 100 1 5,000
ค่าถ่ายเอกสาร 50 ชุด 50 1 2,500
อื่น ๆ 50 คน 30 3 4,500
ค่าอาหาร 50 คน 100 3 15,000
ค่าถ่ายเอกสาร 50 ชุด 30 1 1,500
ค่าตอบแทนวิทยากร 5 คน 600 8 24,000
อื่น ๆ 3 คน 240 1 720
อื่น ๆ 3 คน 300 8 7,200
ค่าอาหาร 50 คน 100 1 5,000
อื่น ๆ 60 คน 50 1 3,000
อื่น ๆ 10 คน 160 1 1,600
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 4 ครั้ง 375 1 1,500
อื่น ๆ 1 ครั้ง 5,000 1 5,000
รวมค่าใช้จ่าย 78,020

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ Transect walk, calendar, SWOT Focus group, In-dept. interview

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ Transect walk, calendar, SWOT Focus group, In-dept. interview
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อวิเคราะห์บริบท ของชุมชนบ้านจันทร์ ส่องหล้าในประเด็น ปัญหาและความ ต้องการเชิงพื้นที่
รายละเอียดกิจกรรม
-กระบวนการกลุ่ม และวิเคราะห์สภาพ จัดทำแผนที่ชีวิตในการพัฒนา ตนเองของสมาชิกกลุ่ม ผ้าทอ 1 ครั้ง
-กระบวนการมีส่วนร่วมในการ จัดทำแผนพัฒนากลุ่มผ้าทอ พื้นเมือง 1 ครั้ง
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2562 ถึง 31 ธันวาคม 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Output)
-สมาชิกของกลุ่มผ้าทอพื้นเมืองมีแผนที่ชีวิตของตนเอง
-มีจำนวนสมาชิกของกลุ่มทอผ้าเพิ่มขึ้น
-กลุ่มทอผ้าพื้นเมืองมีแผนการดำเนินงาน
ผลลัพธ์ (Outcome)
1.องค์ความรู้ของมหาวิทยาลัยและหน่วยงาน มีการบูรณาการในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอห้วยแม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์ สนับสนุนความรู้
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร 5 คน 600 16 48,000
อื่น ๆ 3 คน 240 2 1,440
อื่น ๆ 3 คน 300 16 14,400
ค่าอาหาร 60 คน 100 2 12,000
อื่น ๆ 60 คน 50 2 6,000
อื่น ๆ 10 คน 160 2 3,200
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล 4 เที่ยว 1,000 1 4,000
อื่น ๆ 1 ครั้ง 15,000 1 15,000
รวมค่าใช้จ่าย 104,040

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมพัฒนา นวัตกรรมในการ พัฒนาศักยภาพของ ชุมชนผ้าทอบ้านจันทร์ ส่องหล้า

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมพัฒนา นวัตกรรมในการ พัฒนาศักยภาพของ ชุมชนผ้าทอบ้านจันทร์ ส่องหล้า
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมในการ พัฒนาศักยภาพของ ชุมชนผ้าทอบ้านจันทร์ ส่องหล้า
รายละเอียดกิจกรรม
- การออกแบบลายผ้าที่เป็น เอกลักษณ์ ของชุมชน
- การได้มาของสี และการย้อมสี ธรรมชาติ
-นวัตกรรมการปรับปรุงอุปกรณ์ ช่วยเหลือด้าน การทอ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 31 มกราคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Output)
-มีองค์ความรู้ด้านการออกแบบการสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์จากการทอ การทำสีย้อมจากธรรมชาติ รูปแบบของผ้าที่ผลิตตามความต้องการของตลาด 80 เปอร์เซนต์ของสมาชิกปฏิบัติได้
-ได้เครื่องมือการทอ(การปรับปรุงกี่) 3ชุด
ผลลัพธ์ (Outcome)
-เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ และการนำใช้ประโยชน์จากทรัพยากรท้องถิ่นที่มีอยู่ในชุมชน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอห้วยแม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์ สนับสนุนองค์ความรู้
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ 10 คน 160 90 144,000
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 ครั้ง 600 8 9,600
อื่น ๆ 2 คน 300 8 4,800
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 3 ชุด 5,000 1 15,000
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 600 8 9,600
อื่น ๆ 2 คน 300 8 4,800
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 3 ชุด 5,000 1 15,000
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน 600 8 9,600
อื่น ๆ 2 คน 300 8 4,800
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้ 3 ชุด 10,000 1 30,000
อื่น ๆ 50 คน 50 6 15,000
ค่าอาหาร 50 คน 100 3 15,000
รวมค่าใช้จ่าย 277,200

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมพัฒนาต่อยอดมูลค่าผลิตภัณฑ์

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมพัฒนาต่อยอดมูลค่าผลิตภัณฑ์
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อพัฒนาต่อยอดมูลค่าผลิตภัณฑ์
รายละเอียดกิจกรรม
- ให้ความรู้และฝึกปฏิบัติด้าน E-commerce การสื่อสารสากลและการเป็น smart enterprise บนเว็ปไซด์ ระบบบัญชี การจัดจำหน่าย และการจัดการ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิต (Output)
-มีความรู้ในด้านการจัดทำบัญชีต้นทุน ระบบการจัดจำหน่ายทั้งในตลาดทั่วไป และออนไลน์ 80 ของสมาชิกปฏิบัติได้
-มีหน้าร้านออนไลน์เป็นของตนเอง 1 ร้านค้า
ผลลัพธ์ (Outcome)
-เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ และการนำใช้ประโยชน์จากทรัพยากรท้องถิ่นที่มีอยู่ในชุมชน
-ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นและสามารถพึ่งพาตนเองและรู้การใช้ประโยชน์จากความรู้และทรัพยากรท้องถิ่นของตนเอง
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอห้วยแม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์ สนับสนุนองค์ความรู้
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
อื่น ๆ 50 คน 50 4 10,000
ค่าอาหาร 50 คน 100 2 10,000
ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน 600 8 4,800
ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน 600 8 14,400
อื่น ๆ 1 ครั้ง 1,540 1 1,540
รวมค่าใช้จ่าย 40,740

รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 500,000.00 บาท

ค่าตอบแทนค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
ค่าใช้จ่าย (บาท) 120,000.00 71,500.00 60,000.00 248,500.00 500,000.00
เปอร์เซ็นต์ (%) 24.00% 14.30% 12.00% 49.70% 100.00%

11. งบประมาณ

500,000.00บาท

12. การติดตามประเมินผล

ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
ผลผลิต (Output) -สมาชิกของกลุ่มผ้าทอพื้นเมืองมีแผนที่ชีวิตของตนเอง
-มีจำนวนสมาชิกของกลุ่มทอผ้าเพิ่มขึ้น
-กลุ่มทอผ้าพื้นเมืองมีแผนการดำเนินงาน
-มีองค์ความรู้ด้านการออกแบบการสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์จากการทอ การทำสีย้อมจากธรรมชาติ รูปแบบของผ้าที่ผลิตตามความต้องการของตลาด 80 เปอร์เซนต์ของสมาชิกปฏิบัติได้
-มีความรู้ในด้านการจัดทำบัญชีต้นทุน ระบบการจัดจำหน่ายทั้งในตลาดทั่วไป และออนไลน์ 80 ของสมาชิกปฏิบัติได้
-ได้เครื่องมือการทอ(การปรับปรุงกี่) 3ชุด
-มีหน้าร้านออนไลน์เป็นของตนเอง 1 ร้านค้า
-ได้ความรู้ในการทำวิจัยแบบมีส่วนร่วมในชุมชน
-การทำแผนที่ชีวิต แนวทางในการพัฒนาตนเองและสังคม
-การเรียนรู้ในวิถีชุมชนและเศรษฐกิจพอเพียงในบริบทของพื้นที่และการนำนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
ผลลัพธ์ (Outcome) 1.องค์ความรู้ของมหาวิทยาลัยและหน่วยงาน มีการบูรณาการในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชน
2.เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ และการนำใช้ประโยชน์จากทรัพยากรท้องถิ่นที่มีอยู่ในชุมชน
3.ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นและสามารถพึ่งพาตนเองและรู้การใช้ประโยชน์จากความรู้และทรัพยากรท้องถิ่นของตนเอง
-นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้
องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานได้จริง
-มีสำนึกในความเป็นธรรมและ
มีจิตสาธารณะ
ผลกระทบ (Impact) องค์ความรู้ใหม่จากการวิจัยในชุมชนและ นวัตกรรมสังคมที่เกิดขึ้นมีคุณค่า และส่งผลต่อรูปแบบการพัฒนาชุมชนในอนาคต -สามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคมที่หลากหลายวัฒนธรรมและมีความเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
นำเข้าสู่ระบบโดย pattamakes pattamakes เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 12:58 น.