โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนบ้านหาดคำบ้านสีกายด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แบบเสนอโครงการ
โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนบ้านหาดคำบ้านสีกายด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

1. ชื่อโครงการ

โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนบ้านหาดคำบ้านสีกายด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์และวิศวกรรมศาสตร์เทศบาลตำบลหาดคำ,องค์การบริหารส่วนตำบลสีกายบ้านหาดคำ,บ้านสีกายเหนือผศ.ดร.นงราม เหมือนฤทธิ์คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย อ.เมือง จ.หนองคาย 43000เบอร์โทร 0817173495ผศ.ดร.ณัฐจรีย์ จิรัคคกุล
ผศ.ดร.ชญาดา สุระวนิชกุล
ผศ.ดร.ณัฐพล ไตรเพิ่ม
ผศ.ดร.ฉัตรชัย ปรีชา
อ.อายุวัฒ ธนาเศรษฐอังกูล
ผศ.ปโยธร อุราธรรมกุล
ผศ.ดร.มัลลิกา จันทรังษี
นายสุพีระ วรแสน
นางสาวกรกนก ไชยเสน
นางสาวประภาภรณ์ เทตวงษ์
นางสาวสมประสงค์ ปริวัติ
นางสาว พิมพ์ใจ กอแก้ว
นางสาว วรรณนิสาศรีทองคง

2. พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
หนองคาย เมืองหนองคาย หาดคำ

3. รายละเอียดชุมชน

ตำบลหาดคำ มีเนื้อที่ 40,176 ไร่ ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของอำเภอเมืองหนองคาย มีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้
- ทิศเหนือ อาณาเขตติดต่อกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
- ทิศใต้ อาณาเขตติดต่อกับตำบลวัดธาตุ อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย
- ทิศตะวันออก อาณาเขตติดต่อกับตำบลหินโงม และตำบลเหล่าต่างคำ อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย
- ทิศตะวันตก อาณาเขตติดต่อกับตำบลในเมือง อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย
ตำบลหาดคำ อำเภอเมืองหนองคาย แบ่งการปกครองออกเป็น 16 หมู่บ้าน จำนวนหมู่บ้าน
- จำนวนหมู่บ้านในเขตเทศบาลตำบลหาดคำเต็มทั้งหมู่บ้าน8หมู่ได้แก่หมู่ที่2,3,4,6,7,8,14,16
- จำนวนหมู่บ้านในเขตเทศบาลตำบลหาดคำบางส่วน5หมู่ได้แก่หมู่ที่5,11,12,13,15
การเดินทาง
จากศาลากลางจังหวัดหนองคาย มุ่งหน้าไปตามถนนสายหนองคาย-โพนพิสัย ประมาณ 7 กิโลเมตร จะเข้าเขตตำบลหาดคำ
ข้อมูลอาชีพของตำบล
-อาชีพหลักคือการทำนาทำสาวรับจ้างข้าราชการและเลี้ยงสัตว์
-อาชีพรอง คือการปลูกพืชหมุนเวียนการทำประมงและการทำนาปรัง
-อาชีพเสริมคือการรวมกลุ่มของประชาชนในเขตพื้นที่ได้แก่
- กลุ่มปลากระชัง
- กลุ่มทำผ้าห่ม
- กลุ่มผลิตภัณฑ์น้ำยาสุมนไพร
- กลุ่มผลิตภัณฑ์น้ำจิ้มสุกี้,ประดิษฐ์ดอกไม้จันทร์
-กลุ่มจักสาน
-กลุ่มแปรรูปจากปลา
จำนวนประชากรใน ตำบลหาดคำ
จำนวนหลังคาเรือน : 1,638 หลังคาเรือน
จำนวนประชากร : 7,602 คนจำนวนผู้สูงอายุ : 635 คน
จำนวนเด็กแรกเกิด ถึง 6 ปี : 571 คนจำนวนผู้สูงอายุ ที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรัง : 173 คน
จำนวนสตรีตั้งครรภ์ : 57 คน จำนวนผู้สูงอายุ ที่ช่วยตนเองไม่ได้ : 6 คน
จำนวนสตรีอายุ 35 ปี ขึ้นไป : 1,714 คนจำนวนผู้พิการ : 64 คน

ตำบลสีกาย เป็นตำบลสุดท้ายของอำเภอเมืองหนองคายที่อยู่ในเส้นทางเดียวกันกับตำบลหาดคำ มีเนื้อที่ 12,711 ไร่ ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอำเภอเมืองหนองคาย มีอาณาเขตติดต่อดังนี้
- ทิศเหนือ อาณาเขตติดต่อกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
- ทิศใต้ อาณาเขตติดต่อกับตำบลเหล่าต่างคำ อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย
- ทิศตะวันออก อาณาเขตติดต่อกับตำบลบ้านเดื่อ อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย
- ทิศตะวันตก อาณาเขตติดต่อกับตำบลหินโงม อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย
ตำบลสีกาย อำเภอเมืองหนองคาย แบ่งการปกครองออกเป็น 8 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านจอมแจ้ง หมู่ที่ 2 บ้านสีกายใต้ หมู่ที่ 3 บ้านฝายแตก หมู่ที่ 4 บ้านบง หมู่ที่ 5 บ้านดงเวร หมู่ที่ 6 บ้านสีกายเหนือ หมู่ที่ 7 บ้านสันติสุข หมู่ที่ 8 บ้านสังคมพัฒนา
การเดินทางเข้าสู่ตำบลสีกายได้ 2 เส้นทางคือ ตามเส้นทางสายโพนพิสัย-หนองคาย ระยะทาง 20 กิโลเมตร และเส้นทางเลียบริมฝั่งแม่น้ำโขงถึงบ้านจอมแจ้งบ้านแรกของตำบลระยะทาง 16 กิโลเมตร
คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์และวิศวกรรมศาสตร์มีภารกิจหลักในการผลิตบัณฑิตรวมถึงการทำวิจัยของนักศึกษาและบุคลากรการจัดการเรียนการสอนและการทำวิจัยต่างๆ ล้วนแล้วแต่ต้องอาศัยพื้นที่เพื่อใช้เป็นแหล่งในการศึกษา บ้านหาดคำ ต.หาดคำ อ.เมือง จ.หนองคาย เป็นพื้นที่ที่เหมาะสมที่คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ฯ เลือกมาใช้เป็นชุมชนต้นแบบ บ้านหาดคำพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มทิศเหนือติดกับแม่น้ำโขงทำให้ชาวบ้านมีการประกอบอาชีพดังนี้ อาชีพหลักคือ การทำนา ทำสวน เป็นส่วนใหญ่
อาชีพรอง คือการปลูกพืชหมุนเวียน เช่น ข้าวโพด มะเขือเทศ พริก ฯการทำประมงและการทำนาปรัง
อาชีพเสริมคือการรวมกลุ่มของประชาชนในเขตพื้นที่ได้แก่ กลุ่มแปรรูปปลา กลุ่มประดิษฐ์ดอกไม้จากดินไทย กลุ่มเย็บผ้า กลุ่มจักสาน และกลุ่มขนมไทย
ประชากรในบ้านสีกาย อาชีพหลัก ทำนา อาชีพเสริม รับจ้างทั่วไป
สาธารณูปโภค
จำนวนครัวเรือนที่มีไฟฟ้าใช้ในเขต อบต. 785 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 100.00
-การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในแหล่งน้ำธรรมชาติเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ ปลานิล รวมทั้งมีการพัฒนาการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อให้ได้ผลผลิตปริมาณมากในพื้นที่จำกัด เกษตรกรจำเป็นต้องเลี้ยงแบบหนาแน่น จึงประสบปัญหาระหว่างเลี้ยงอยู่บ่อยครั้งในด้านสุขภาพสัตว์น้ำ เกษตรกรมีแนวทางจัดการคือการใช้ยาปฏิชีวนะตลอดเวลาแม้ว่าปลาปลาจะไม่ป่วย นอกจากนี้เกษตรกรมักขาดการติดตามโรค เพราะความจำกัดในด้านเครื่องมือและบุคลากร
-พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นการทำการเกษตร ที่มีการนำปุ๋ยเคมีมาใช้ทำให้สภาพดินที่มีการปลูกพืชมีความเสื่อมโทรม
-การมีโรงงานอุตสาหกรรม มีการปล่อยของเสีย และกากเหล้า
-สินค้าทางการเกษตรที่ตกต่ำ ไม่ว่าจะเป็นมะเขือเทศ ข้าวโพด ข้าว การเพิ่มมูลค่าของสินค้าของสินค้าการเกษตรและการรักษาคุณภาพเป็นสิ่งจำเป็นที่จะต้องให้ความรู้
- มีการสร้างโจทย์วิจัยร่วมกับชาวบ้านชุมชนพบว่าชุมชนต้องการผลิตภัณฑ์ที่มีความเป็นเอกลักษณ์ บ่งบอกความเป็นชุมชนและสามารถจำหน่าย แก่นักท่องเที่ยวได้ เนื่องด้วยมีชาวบ้านบางกลุ่มประกอบอาชีพโฮมสเตย์ซึ่งต้องใช้เคมีภัณฑ์หลายชนิดในการให้บริการแก่นักท่องเที่ยว อาทิ สบู่ แชมพู ครีมนวดผม แต่เนื่องด้วยผลิตภัณฑ์ที่มีจำหน่ายในท้องตลาดขาดความเป็นเอกลักษณ์ ไม่สามารถกำหนดคุณสมบัติเฉพาะต่างๆ ได้
จะเห็นได้ว่าบ้านหาดคำบ้านสีกาย พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม มีการทำนาปีละสองครั้ง สภาพดินมีความอุดมสมบูรณ์ มีแหล่งน้ำตามธรรมชาติไหลผ่านสองสาย ได้แก่แม่น้ำโขงและลำน้ำสวยเหมาะแก่การทำเกษตรกรรม มีการประกอบอาชีพโดยรวมที่ทางคณะฯ สามารถเข้าไปใช้เป็นแหล่งบริการวิชาการได้อย่างครบทุกศาสตร์ เช่น ชาวบ้านมีการเลี้ยงปลากระชัง คณะฯสามารถให้หลักสูตรวิทยาศาสตร์การประมงเข้าไปให้ความรู้แก่ชาวบ้านในการผลิตสัตว์น้ำปลอดภัยตามมาตรฐานชาวบ้านอีกกลุ่มมีการประกอบอาชีพทำสวน ทำนา ปลูกพืชหมุนเวียน คณะฯ สามารถให้หลักสูตรการจัดการทรัพยากรและวิ่งแวดล้อมเข้าไปบริการวิชาการให้ความรู้ในเรื่องของการผลิตปุ๋ยหมักโดยวิธีธรรมชาติ การปรับสภาวะดินที่เหมาะสม ฯ การจัดการขยะของชุมชน โดยเฉพาะบ้านหาดคำที่มีการทำธนาคารขยะขึ้น รวมไปถึงการเข้าไปมีส่วนร่วมกับทางโรงงานอุตสาหกรรม (โรงงานเทพอรุโณทัย) ที่ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ ตำบลหาดคำ ในการกำจัดของเสียได้อีกด้วย ในส่วนการแปรรูปหรือเพิ่มมูลค่าของสินค้าทางเกษตร หลักสูตรเทคโนโลยีและนวัตกรรมอาหารสามารถไปให้ความรู้ในเรื่องของการผลิต การแปรรูป การพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพื่อเป็นการต่อยอดผลิตภัณฑ์ในชุมชนให้กับชาวบ้านได้ ในพื้นที่ตำบลสีกาย มีพื้นที่ทำการเกษตรแบบ Smart farm ซึ่งหลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ สามารถเข้าไปช่วยพัฒนาในด้านของระบบ ICT และ การจัดการสารสนเทศได้ นอกจากนี้ ประเทศไทยจะกลายเป็นสังคมผู้สูงอายุหลักสูตรวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกายสามารถนำเอาหลักการออกกำลังกายและการจัดการเรื่องโภชนาการที่เหมาะสมในแต่ละช่วงวัยเข้าไปช่วยชะลอหรือป้องกันภาวะเสื่อมต่างๆ ป้องกันและลดความเสี่ยงของการเกิดโรคต่างๆตามมา ดังนั้น นักศึกษาของคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์และวิศวกรรมศาสตร์ จึงสามารถนำองค์ความรู้ในการเรียนการสอนในหลักสูตรที่เปิดสอนไปประยุกต์ใช้กับชุมชนเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตให้กับคนในชุมชน เพื่อส่งเสริมการสร้างความมั่นคงทางอาหาร เศรษฐกิจ และสุขภาพอย่างยั่งยืน

4. ประเด็นปัญหาหลัก

5. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

6. องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1.ระบบสารสนเทศและICT
2.การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและการประมง
3.การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
4.เทคโนโลยีอาหารและการแปรรูป
5.วิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกาย

7. วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี และการจัดการให้กับชาวบ้านในชุมชน และพัฒนาให้มีผลผลิตเพิ่มขึ้นอย่างมีคุณภาพ

ร้อยละของผลผลิตที่เพิ่มขึ้น

60.00 80.00
2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถลงพื้นและทำงานร่วมกับชุมชน จากการใช้องค์ความรู้ที่ได้รับจากห้องเรียนไปปฏิบัติงานในชุมชนได้จริง

ร้อยละของการปฏิบัติงานร่วมกับชุมชน

60.00 80.00
3 เพื่อให้เกิดภาคีเครือข่าย ระหว่างมหาวิทยาลัยกับชุมชนและองค์กรที่เข้ามาร่วมพัฒนาชุมขน

จำนวนเครือข่ายร่วม

2.00 2.00
4 เพื่อให้อาจารย์และนักศึกษาได้โจทย์วิจัยในชุมชน

จำนวนโจทย์วิจัยเพื่อพัฒนา

5.00 5.00

8. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
นักศึกษาระดับปริญญาตรีในคณะฯ 10
ประชาชนในพื้นที่ตำบลหาดคำและตำบลสีกาย 200
องค์กรความร่วมมือ 2

9. ระยะเวลา

10. วิธีดำเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 ติดด่อประสานงานกับเทศบาลตำบลและอบต.ในพื้นที่เพื่อสำรวจชาวบ้านที่ต้องการร่วมโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ติดด่อประสานงานกับเทศบาลตำบลและอบต.ในพื้นที่เพื่อสำรวจชาวบ้านที่ต้องการร่วมโครงการ
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้เกิดภาคีเครือข่าย ระหว่างมหาวิทยาลัยกับชุมชนและองค์กรที่เข้ามาร่วมพัฒนาชุมขน
รายละเอียดกิจกรรม
ติดด่อประสานงานกับเทศบาลตำบลหาดคำ
ติดด่อประสานงานกับอบต.สีกาย
รวบรวมข้อมูลประชาชนที่ต้องการร่วมโครงการ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2562 ถึง 31 ธันวาคม 2562
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการและโจทย์ปัญหา
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
เทศบาลตำบลหาดคำ
อบต.สีกาย
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนการประสานงาน 2 คน 1,000 1 2,000
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 2 เที่ยว 1,500 1 3,000
ค่าจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์

1. ค่าปริ๊นไวนิล ขนาด 1.5x3 เมตร จำนวน 3 ป้าย x 450 บาท 2. ค่าปริ๊นไวนิล ขนาด 2x4 เมตร จำนวน 1 ป้าย x 800 บาท 3. ค่าปริ๊นไวนิล ขนาด 0.8x1.8 เมตร พร้อมขาตั้ง จำนวน 5 ป้าย x 800 บาท 4. ค่าถ่ายเอกสาร จำนวน 400 แผ่น x 0.5 บาท

1 ชุด 6,500 1 6,500
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์และเจ้าหน้าที่

13 คน 180 2 4,680
ค่าอาหาร

ค่าอาหารและเครื่องดื่มของนักศึกษา อาจารย์และเจ้าหน้าที่ ภาคีชุมชนความร่วมมือ 2 พื้นที่

150 คน 150 2 45,000
รวมค่าใช้จ่าย 61,180

กิจกรรมที่ 2 นักศึกษาและอาจารย์ลงพื้นที่เพื่อวิเคราะห์ความต้องการและโจทย์ปัญหา

ชื่อกิจกรรม
นักศึกษาและอาจารย์ลงพื้นที่เพื่อวิเคราะห์ความต้องการและโจทย์ปัญหา
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้อาจารย์และนักศึกษาได้โจทย์วิจัยในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม
โดยนักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษา และเจ้าหน้าที่ลงพื้นที่ครั้งที่ 1 เพื่อศึกษาวิเคราะห์ความต้องการและโจทย์ปัญหา
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 31 มกราคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
จำนวนนักศึกษา อาจารย์ และเจ้าหน้าที่ประสานงานและผู้เข้าร่วมโครงการ/ผลวิเคราะห์ความต้องการและโจทย์ปัญหา
ทรัพยากรอื่น ๆ
ค่าวัสดุการเกษตร
ฟาร์มสาธิตการผลิตสัตว์น้ำ
ภาคีร่วมสนับสนุน
เทศบาลตำบลหาดคำ
อบต.สีกาย
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนการประสานงาน 2 คน 1,000 1 2,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์และเจ้าหน้าที่

8 คน 180 2 2,880
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

10 คน 120 2 2,400
ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 1 เที่ยว 1,500 2 3,000
ค่าวัสดุสำนักงาน 1 ชุด 3,000 2 6,000
อื่น ๆ

ค่าวัสดุทางวิทยาศาสตร์เพื่อใช้สำรวจและวิเคราะห์

1 ชุด 5,000 2 10,000
รวมค่าใช้จ่าย 26,280

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 3 แต่ละหลักสูตรดำเนินการแก้ปัญหาเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตตามบริบท

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 3 แต่ละหลักสูตรดำเนินการแก้ปัญหาเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตตามบริบท
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถลงพื้นและทำงานร่วมกับชุมชน จากการใช้องค์ความรู้ที่ได้รับจากห้องเรียนไปปฏิบัติงานในชุมชนได้จริง
รายละเอียดกิจกรรม
นักศึกษาทุกหลักสูตร ร่วมกันทำกิจกรรมพัฒนาผลผลิตและคุณภาพชีวิต
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลผลิตและแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิต/คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์และวิศวกรรมศาสตร์ ได้เป็นส่วนหนึ่งของชุมชน จากการนำความรู้ และการวิจัยไปบริการสู่ชุมชนเป้าหมาย ก่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ในห้องปฏิบัติการ
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าอาหาร

ค่าอาหารและเครื่องดื่มของนักศึกษา อาจารย์และเจ้าหน้าที่ ในการลงพื้นที่ดำเนินการ

23 คน 150 12 41,400
ค่าพาหนะเดินทาง - รถยนต์ส่วนบุคคล

ค่าเดินทางของนักศึกษาและอาจารย์ในการดำเนินการ

2 เที่ยว 2,000 6 24,000
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์และเจ้าหน้าที่

13 คน 180 12 28,080
อื่น ๆ

ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

10 คน 120 12 14,400
ค่าวัสดุในการฝึกอบรมอาชีพ/รายได้

ค่าวัสดุทางวิทยาศาสตร์ เพื่อใช้ในการตรวจวิเคราะห์ พัฒนาผลผลิต ผลิตภัณฑ์ เช่นค่าสารเคมี ค่าวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์

1 ชุด 150,000 1 150,000
รวมค่าใช้จ่าย 257,880

กิจกรรมที่ 4 ถ่ายทอดเทคโนโลยีและการวางแผนการเพิ่มผลผลิตและเพิ่มมูลค่าของสินค้าและการตลาด

ชื่อกิจกรรม
ถ่ายทอดเทคโนโลยีและการวางแผนการเพิ่มผลผลิตและเพิ่มมูลค่าของสินค้าและการตลาด
วัตถุประสงค์
  1. เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี และการจัดการให้กับชาวบ้านในชุมชน และพัฒนาให้มีผลผลิตเพิ่มขึ้นอย่างมีคุณภาพ
รายละเอียดกิจกรรม
นักศึกษาและกลุ่มชาวบ้านร่วมกันระดมความคิด หาแนวทางการคำนวณต้นทุน การผลิต ระดมความคิดเพื่อสร้างมูลค่าสินค้าร่วมกัน จัดทำแผนธุรกิจ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พ.ค. 2563 ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผลิตภัณฑ์และมูลค่าของสินค้า/ช่องทางการตลาด
ทรัพยากรอื่น ๆ
ภาคีร่วมสนับสนุน
รายละเอียดงบประมาณ
ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
ค่าตอบแทนวิทยากร

ค่าวิทยากรที่มาให้ความรู้และประเมินผลผลิต

5 คน 3,600 1 18,000
รวมค่าใช้จ่าย 18,000

กิจกรรมที่ 5 ติดตามและประเมินผลการลงพื้นที่ของนักศึกษาในการแก้ปัญหา

ชื่อกิจกรรม
ติดตามและประเมินผลการลงพื้นที่ของนักศึกษาในการแก้ปัญหา
วัตถุประสงค์
    รายละเอียดกิจกรรม
    - นักศึกษานำเสนอผลการดำเนินกิจกรรมโครงงาน
    - มหาวิทยาลัยร่วมกับคณะกรรมการหน่วยงานภายนอกลงพื้นที่เพื่อประเมินผลตามตัวชี้วัดปริมาณและคุณภาพ
    ระยะเวลาดำเนินงาน
    15 พ.ค. 2563 ถึง 15 มิถุนายน 2563
    ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
    รายงานผลการดำเนินโครงงาน/ผลการประเมินความสำเร็จของโครงงาน
    ทรัพยากรอื่น ๆ
    ภาคีร่วมสนับสนุน
    เทศบาลตำบลหาดคำและอบต.สีกาย และผู้เชี่ยวชาญภายนอกมหาวิทยาลัย
    รายละเอียดงบประมาณ
    ประเภทจำนวนบาทครั้งรวมเงิน
    ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน 800 1 4,000
    ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประชุม

    ค่าตอบแทนผู้เข้าร่วมประเมินผลงานนักศึกษา

    10 คน 500 1 5,000
    ค่าพาหนะเดินทาง - ค่าเดินทางในพื้นที่ 1 เที่ยว 1,500 1 1,500
    ค่าอาหาร 30 คน 150 1 4,500
    อื่น ๆ

    ค่าเบี้ยเลี้ยงอาจารย์และเจ้าหน้าที่

    13 คน 180 1 2,340
    อื่น ๆ

    ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา

    10 คน 150 1 1,500
    ค่าวัสดุสำนักงาน 1 คน 4,000 1 4,000
    รวมค่าใช้จ่าย 22,840

    รวมงบประมาณทุกกิจกรรมของแผนการดำเนินงาน จำนวน 386,180.00 บาท

    ค่าตอบแทนค่าจ้างค่าใช้สอยค่าวัสดุอื่น ๆรวมเงิน
    ค่าใช้จ่าย (บาท) 31,000.00 6,500.00 122,400.00 160,000.00 66,280.00 386,180.00
    เปอร์เซ็นต์ (%) 8.03% 1.68% 31.70% 41.43% 17.16% 100.00%

    11. งบประมาณ

    386.00บาท

    12. การติดตามประเมินผล

    ต่อชุมชนต่อนักศึกษา
    ผลผลิต (Output) 1.ผลผลิตและช่องการการจำหน่ายสินค้า
    2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้
    3.จำนวนแนวทางการจัดการในการยกดระดับคุณภาพชีวิต
    4.สุขภาพของคนในชุมชน
    1.จำนวนโครงการวิจัยและวิชาที่นำมาบูรณาการเพื่อบริการวิชาการ
    2.นักศึกษาเรียนรู้กระบวนการผลิต ควบคุมคุณภาพ และพัฒนาผลผลิต
    ผลลัพธ์ (Outcome) 1.เกิดความรู้และประสบการณ์ในการผลิตและแก้ปัญหา
    2.ชุมชนเกิดความเข้มแข็งจากความรู้
    นักศึกษาสามารถทำงานและเรียนรู้จกประสบกาณ์ตรงและเรียนรู้การใช้ชีวิตและการปรับตัวในชุมชน
    ผลกระทบ (Impact) 1.ชุมชนเกิดรายได้เพิ่มขึ้น
    2.ชุมชนเรียนรู้ และมีองค์ความรู้
    นักศึกษามีความรู้จากห้องเรียนที่เป็นการใดำเนินชีวิตจริง ไม่ใช่เรียนรู้เฉพาะในห้องเรียน
    นำเข้าสู่ระบบโดย nongram_nkc123 nongram_nkc123 เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 12:02 น.